• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1e12fcdff566a6fb0b559b6864dbec52' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: xx-large\"><span style=\"font-size: xx-large\"><span style=\"font-size: xx-large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><strong><u><span style=\"font-size: large; color: #ff0000; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: xx-large\"><span style=\"font-size: xx-large\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">ยุ<span style=\"color: #ff00ff\">ค</span>ฟื้<span style=\"color: #ff00ff\">น</span>ฟู<span style=\"color: #ff00ff\">ศิ</span>ล<span style=\"color: #ff00ff\">ป</span>วิ<span style=\"color: #ff00ff\">ท</span>ย<span style=\"color: #ff00ff\">า</span>ก<span style=\"color: #ff00ff\">า</span>ร</span> <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">(</span></span> R<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">e</span></span>n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">a</span></span>i<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">s</span></span>s<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">a</span></span>n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">c</span></span>e </span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">)</span></span></span></span></span></u></strong><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: andale mono,times\"><strong><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large; color: #0000ff\">ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) คริสต์ศวรรษที่ 14 -กลางคริสต์ศวรรษที่ 17</span></span></strong></span> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: small; color: #999999; font-family: Times\"><strong> <span style=\"font-family: andale mono,times\"> <span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #c0c0c0\"> </span><span style=\"color: #808080\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span></span></span></span></span></strong><span style=\"color: #808080; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; color: #999999\"><span style=\"color: #000000\">การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) หมายถึง การฟื้นฟูศิลปวิทยาการของกรีกโรมัน โบราณ เป็นการฟื้นฟูแนวคิดมนุษยนิยมและธรรมชาตินิยม ยุคการฟื้นฟูนี้ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างสมัยกลางและสมัยใหม่</span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large; color: #999999\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: andale mono,times\"><strong><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large; color: #0000ff\">สาเหตุของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ</span></span></span></strong></span> </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\">1. การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ เกิดการค้าระหว่างดินแดนต่างๆมากขึ้น</span></span></span></span></span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\">2. ความเสื่อมศรัทธาต่อศาสนาคริสต์</span></span></span></span></span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\">3. การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ทำให้ยุโรปที่อพยพไปอยู่ไบแซนไทน์เดินทางกลับยุโรป และนำวิทยาการกรีก-โรมันมาด้วย</span></span></span></span></span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #000000\">4. การประดิษฐ์แท่นพิมพ์เคลื่อนที่ได้ของจอร์น กูเดนเบิร์กชาวเยอรมัน ทำให้หนังสือราคาถูกลง ประชาชนหาซื้อได้ง่าย</span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: Times\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: x-large; color: #0000ff\"><strong>แนวคิดใหม่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ</strong></span></span></span></span></span></span> </span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: andale mono,times\">       </span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"> </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large; color: #999999; font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #000000\">คือ แนวคิดของลัทธิมนุษยนิยม ที่กล่าวว่าแท้จริงแล้วมนุษย์สามารถพัฒนาตนเองให้ดีและมีคุณค่าขึ้นได้ ซึ่งต่างกับแนวคิดเดิมที่เชื่อว่ามนุษย์มีลักษณะติดตัวมาแต่กำเนิดไม่สามารถพัฒนาได้ <br />\n        บิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก เปตร์ก หรือ เปตร์กาชาวอิตาลี  <br />\n        เมื่อปี 1454 โยฮัน ยูเตนเบริ์ก ชาวเยอรมนี สามารถประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ ทำให้หนังสือมีราคาถูกลงเป็นอย่างมาก สามารถเผยแพร่ความรู้ต่างๆไปสู่ท้องถิ่นอื่นอย่างง่าย <br />\n        ศิลปะในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ นับเป็นการปฏิวัติอีกอย่างหนึ่ง คือหันกลับไปนิยมความงามแบบกรีก ที่เน้นความงานตามธรรมชาติ อีกทั้งยังคิดค้นเทคนิคใหม่ ในการวาดภาพ มีศิลปินที่สำคัญคือ ไมเคิลแองเจโล  เลโอนาโด ดาวินซี และราฟาเอล <br />\n        ไมเคิลแองเจโล เป็นผู้สร้างประติมากรรมที่สวยงามเห็นส่วนของมนุษย์ชัดเจนสมส่วน โดยเชื่อว่ามนุษย์เกิดจากมือของพระเจ้าที่ปั้นมาอย่างสวยงาม ผลงานที่สร้างชื่อ   รูปสลักของเดวิด ชายเปลือยกายและปิเอตา พระแม่มารีอุ้มพระเยซูที่ตัก <br />\n        เลโอนาโด ดาวินซี  เป็นศิลปินและนักปราชญ์ที่มีความรู้ เป็นจิตรกรรมที่วาดภาพแฝงด้วยแนวคิดมนุษยนิยมที่ให้ความรู้สึก ภาพที่มีชื่อเสียงคือ อาหารมื้อสุดท้าย และ ภาพโมนาลิซา หญิงสาวที่มีรอยยิ้มพิศวง <br />\n        ราฟาเอล ภาพมีความนิ่มนวลในรายละเอียด ภาพที่มีชื่อคือภาพพระแม่พระบุตร และจอห์น แบบติสต์<br />\n        งานประพันธ์ในยุคนี้มักมีร้อยแก้วและร้อยกรองที่เนื้อหาขัดแย้งกับความคิดในกรอบของศาสนา เช่น ซอนนิต บทเพลงรัก ของเปตราก  ดิแคเมอรอนของบอกคาซิโอ  ยูโทเปีย ของทอมัส มอร์ <br />\n        งานด้านละคร มีนักประพันธ์คนสำคัญคือวิลเลียมเชคสเปียร์ ได้แก่เรื่องโรมิจูเลียด เวนิสวาณิช  คิงเลียร์ แมคเบท ฝันคืนกลางฤดูร้อน </span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large; color: #999999; font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large; font-family: andale mono,times\"><span style=\"font-size: large; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large; color: #999999; font-family: andale mono,times\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1719971452, expire = 1720057852, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1e12fcdff566a6fb0b559b6864dbec52' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ( Renaissance )

ยุฟื้ฟูศิวิ ( Renaissance )

ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) คริสต์ศวรรษที่ 14 -กลางคริสต์ศวรรษที่ 17

    การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) หมายถึง การฟื้นฟูศิลปวิทยาการของกรีกโรมัน โบราณ เป็นการฟื้นฟูแนวคิดมนุษยนิยมและธรรมชาตินิยม ยุคการฟื้นฟูนี้ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างสมัยกลางและสมัยใหม่

สาเหตุของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

1. การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ เกิดการค้าระหว่างดินแดนต่างๆมากขึ้น

2. ความเสื่อมศรัทธาต่อศาสนาคริสต์

3. การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ทำให้ยุโรปที่อพยพไปอยู่ไบแซนไทน์เดินทางกลับยุโรป และนำวิทยาการกรีก-โรมันมาด้วย

4. การประดิษฐ์แท่นพิมพ์เคลื่อนที่ได้ของจอร์น กูเดนเบิร์กชาวเยอรมัน ทำให้หนังสือราคาถูกลง ประชาชนหาซื้อได้ง่าย

แนวคิดใหม่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

        คือ แนวคิดของลัทธิมนุษยนิยม ที่กล่าวว่าแท้จริงแล้วมนุษย์สามารถพัฒนาตนเองให้ดีและมีคุณค่าขึ้นได้ ซึ่งต่างกับแนวคิดเดิมที่เชื่อว่ามนุษย์มีลักษณะติดตัวมาแต่กำเนิดไม่สามารถพัฒนาได้ 
        บิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก เปตร์ก หรือ เปตร์กาชาวอิตาลี  
        เมื่อปี 1454 โยฮัน ยูเตนเบริ์ก ชาวเยอรมนี สามารถประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ ทำให้หนังสือมีราคาถูกลงเป็นอย่างมาก สามารถเผยแพร่ความรู้ต่างๆไปสู่ท้องถิ่นอื่นอย่างง่าย 
        ศิลปะในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ นับเป็นการปฏิวัติอีกอย่างหนึ่ง คือหันกลับไปนิยมความงามแบบกรีก ที่เน้นความงานตามธรรมชาติ อีกทั้งยังคิดค้นเทคนิคใหม่ ในการวาดภาพ มีศิลปินที่สำคัญคือ ไมเคิลแองเจโล  เลโอนาโด ดาวินซี และราฟาเอล 
        ไมเคิลแองเจโล เป็นผู้สร้างประติมากรรมที่สวยงามเห็นส่วนของมนุษย์ชัดเจนสมส่วน โดยเชื่อว่ามนุษย์เกิดจากมือของพระเจ้าที่ปั้นมาอย่างสวยงาม ผลงานที่สร้างชื่อ   รูปสลักของเดวิด ชายเปลือยกายและปิเอตา พระแม่มารีอุ้มพระเยซูที่ตัก 
        เลโอนาโด ดาวินซี  เป็นศิลปินและนักปราชญ์ที่มีความรู้ เป็นจิตรกรรมที่วาดภาพแฝงด้วยแนวคิดมนุษยนิยมที่ให้ความรู้สึก ภาพที่มีชื่อเสียงคือ อาหารมื้อสุดท้าย และ ภาพโมนาลิซา หญิงสาวที่มีรอยยิ้มพิศวง 
        ราฟาเอล ภาพมีความนิ่มนวลในรายละเอียด ภาพที่มีชื่อคือภาพพระแม่พระบุตร และจอห์น แบบติสต์
        งานประพันธ์ในยุคนี้มักมีร้อยแก้วและร้อยกรองที่เนื้อหาขัดแย้งกับความคิดในกรอบของศาสนา เช่น ซอนนิต บทเพลงรัก ของเปตราก  ดิแคเมอรอนของบอกคาซิโอ  ยูโทเปีย ของทอมัส มอร์ 
        งานด้านละคร มีนักประพันธ์คนสำคัญคือวิลเลียมเชคสเปียร์ ได้แก่เรื่องโรมิจูเลียด เวนิสวาณิช  คิงเลียร์ แมคเบท ฝันคืนกลางฤดูร้อน

สร้างโดย: 
นางสาวมณีรัตน์ จวิเสน ชั้น ม.6/1 เลขที่ 9 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 418 คน กำลังออนไลน์