• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9f2b7bb412331b772b7e9d7d49a0b49d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000080\"><strong><u> <img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /> </u></strong></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000080\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u2669/sankemee_0.jpg\" height=\"80\" style=\"width: 277px; height: 63px\" /> </span>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000080\"><strong><u>1. ผงชูรสและสารบอแรกซ์</u></strong><br />\n     ผงชูรสแท้มีชื่อทางเคมีว่า &quot;โมโนโซเดียมกลูตาเมต&quot; ถ้ารับประทานมากไปอาจเกิดพิษได้ โดยเฉพาะทารกและสตรีมีครรภ์ ไม่ควรรับประทานผงชูรส เพราะเป็นอันตรายต่อสมองของเด็ก อาจทำให้เด็กปัญญาอ่อน โดยปกติยกเว้นเด็กทารก ไม่ควรบริโภคผงชูรสเกินวันละ 120 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม เช่น ไม่เกิน 6 กรัมหรือประมาณ 1 ช้อนชาพูน ต่อน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม  สำหรับผงชูรสปลอมที่มีสารบอแรกซ์ปลอมปนอยู่ เมื่อรับประทานเข้าไปจะทำให้เกิดอาการผิดปกติขึ้น เช่น วิงเวียนศรีษะ อาเจียน ถ้ารับประทานมากอาจหมดสติได้     <br />\n        <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" title=\"Tongue out\" /><u>วิธีทดสอบผงชูรสปลอม</u><br />\n     วิธีทดสอบว่าเป็นผงชูรสแท้ หรือผงชูรสปลอม ทำได้ง่ายๆโดยนำผงชูรสที่สงสัยใส่ลงในช้อนโลหะสักเล็กน้อยแล้วเผาด้วยเปลวไฟให้ไหม้ ถ้าเป็นผงชูรสแท้จะไหม้เป็นถ่านสีดำติดช้อนนั้น แต่ถ้าไหม้ไม่หมดแสดงว่าเป็นผงชูรสปลอมอ มีสารอื่นเจือปนอยู่หรือทดสอบโดยใช้กระดาษขมิ้น ซึ่งมีสีเหลือง จุ่มลงในผงชูรสที่ละลายน้ำอยู่ ถ้าเป็นผงชูรสแท้กระดาษจะไม่เปลี่ยนสี แต่ถ้าเป็นผงชูรสปลอมที่มีสารบอแรกซ์เจือปนอยู่กระดาษขมิ้นจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือสีแดงคล้ำ<br />\n<strong><u>2.อาหารแห้งอันตราย</u></strong><br />\n   อาหารแห้งพวก พริกแห้ง หอม เครื่องเทศ ปลาแห้ง ปลาเค็ม ถั่ว หรืออาหารเมล็ดแห้งต่างๆโดยเฉพาะถั่วลิสงที่เก็บในที่มีความชื้นสูง มักพบสารพิษที่มีชื่อว่า &quot;อะฟลาทอกซิน&quot; ซึ่งเกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง สารพิษดังกลาวไม่สามารถทำลายด้วยความร้อนจากการหุงต้มธรรามดาได้ การบริโภคอาหารที่มีสารพิษนี้จะก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งเป็นสาเหตุของ&quot;โรคมะเร็งในตับ&quot;<br />\n     <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" /> <u>ข้อแนะนำในการเลือกซื้ออาหารแห้ง</u><br />\n    2.1) เลือกซื้ออาหารแห้งที่มีลักษณะใหม่ไม่ขึ้นรา เป็นขุยหรือจุดด่างดำ<br />\n    2.2) อาหารพวกถั่วลิสงทุกชนิด มักตรวจพบสารพิษของเชื้อราได้มากที่สุดจึงไม่ควรซื้อมารับประทาน</span></span> <br />\n</span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\"><strong><u>3. อาหารกระป๋อง</u><br />\n     </strong>อาหารกระป๋องที่เก็บไว้นานๆจนกระปแองบวม หรือกระป๋องมีรอยถลอกภายใน หรือเปลี่ยนเป็นสีดำ อาจทำให้เกิดพิษได้ ควรทิ้งเสีย ไม่ควรนำมาบริโภค เพราะอาจเกิดโทษจากจุลินทรีย์ หรือโลหะที่ละลายออกมาจากกระป๋อง<br />\n    สำหรับอาหารกระป๋องที่ปกติ ก่อนใช้ไม่ควรต้มทั้งกระป๋อง เพราะโลหะที่เคลือบกระป๋องอาจละลายออกมาปนกับอาหารได้ และเมื่อรับประทานยังไม่หมดไม่ควรเก็บไว้ทั้งกระป๋อง ควรถ่ายใส่ภาชนะอื่นเก็บไว้ให้มิดชิด หรือเก็บไว้ในตู้เย็น<br />\n</span><strong><u>4. น้ำปลา</u></strong><br />\n    น้ำปลาเป็นสารปรุงแต่งรสอาหาร ได้จากการหมักปลากับเกลือ ซึ่งมีอยู่ 3 ชนิด<br />\n    1) น้ำปลาแท้ที่ได้จากการหมักปลา หรือส่วนของปลากับเกลือ<br />\n    2) น้ำปลาวิทยาศาสตร์ ได้จากการหมักปลาหรือส่วนของปลาโดยวิธีการไฮโดรไลซิสด้วยกรดเกลือ หรือด้วยเอ็นไซม์<br />\n    3) น้ำปลาผสมได้จากการนำน้ำปลาแท้ หรือน้ำปลาวิทยาศาสตร์มาเจือปน หรือเจือจางด้วยสิ่งที่ไม่เป็นอันตราย<br />\n        ยังมีน้ำปลาอีกชนิดหนึ่งที่ไม่มีส่วนผสมที่ได้จากการหมักปลา แต่ได้จากน้ำเหลือเจือสี และแต่งกลิ่น แท้จริงแล้วควรเรียกว่า&quot;น้ำเกลือปรุงรส&quot; ซึ่งไม่มีประโยชน์ และยังอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้<br />\n      <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" /><u>การเลือกซื้อน้ำปลาอย่างไร</u><br />\n              น้ำปลาแท้จะต้องมีน้ำตาลแดงใส มีกลิ่นคาวปลาบรรจุในขวดและมีฉลากแจ้งตรา และสถานที่ผลิตไว้ชัดเจน มีเลขทะเบียนอาหารของกระทรวงสาธารณสุข<br />\n              ไม่ควรซื้อน้ำปลาที่ราคาถูกเกินไป หรือมีสีดำคล้ำ ขุ่น มีตะกอน เพราะมักไม่ใช่น้ำปลาแท้ และถึงจะเป็นน้ำปลาแท้ก็เป็นน้ำปลาที่เก็บไว้นานและเสื่อมคุณภาพบางประการไปแล้ว<br />\n<strong><u>5. กะปิ</u></strong><br />\n    กะปิดีจะเหนียวเนื้อละเอียด มีสีแดง ไม่คล้ำ สังเกตดูจะมีกากของกุ้งปนอยู่ รสจะไม่เค็มมาก ส่วนกะปิปลอมเนื้อจะหยาบ ปนกากปลา มีรสเค็ม และสีของกะปิจะแดงผิดธรรมชาติ ซึ่งผู้ผลิตจะผสมสีย้อมผ้า เพื่อกลบเกลื่อนให้ผู้บริโภคเข้าใจว่าเป็นกะปิแท้<br />\n<u><strong>6. สารตะกั่วในไข่เยี่ยวม้า</strong><br />\n</u>    ไข่เยี่ยวม้าเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของไข่ เพราะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งสารเคมีและจุลินทรีย์ภายในไข่ มีความเป็นด่างสูงกว่าไข่ธรรมดา จึงปลอดภัยจากจุลินทรีย์ที่เป็นอันตราย อย่างไรก็ตามได้มีการตรวจพบว่า ในไข่เยี่ยวม้ามีสารตะกั่วในปริมาณที่สูง บางครั้งสูงถึง 50 ppm ซึ่งในปกติอาหารทั่วไปมีควรมีสารตะกั่วเกิน 2 ppm สารตะกั่วในไข่เยี่ยวม้านี้อาจเนื่องมาจากพ่อค้าใช้สารตะกั่วเป็นตัวเร่ง เพื่อให้ไข่เยี่ยวม้าแข็งตัวเป็นวุ้นเร็วขึ้น<br />\n     <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-yell.gif\" alt=\"Yell\" title=\"Yell\" /><u>อันตรายที่อาจเกิด</u> คือ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย เกิดโลหิตจาง ซีด เหงือกสีม่วง อ่อนเพลีย<br />\n<strong><u>7. เห็ดพิษ</u></strong><br />\n        เห็ดเป็นพืชขั้นต่ำ พวกเดียวกับรา เห็ดหลายชนิดนำมาประกอบเป็นอาหารรับประทานได้ แต่บางชนิดมีพิษ เช่น เห็ดหิ่งห้อย เห็ดข้ามคืน เห็ดตาข่าย เห็ดบางชนิดเป็นพิษในบางกรณีเท่านั้น ส่วนบางชนิดมีพิษถึงตายได้ ซึ่งมักเป็นเห็ดในตระกูลอะมานิต้า เห็ดพิษส่วนมากมักมีสีสวยงามรูปทรงน่าดูปะปนกับเห็ดธรรมดา เห็ดพิษมีมากในป่าภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />\n        <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" title=\"Tongue out\" /></span><span style=\"color: #000080\"><u>วิธีทดสอบเห็ดพิษ<br />\n</u>        1) ใช้เงินบริสุทธิ์จุ่มลงในน้ำแกงเห็ด ถ้าเงินเปลี่ยนสีมักเป็นเห็ดพิษ<br />\n        2) ใช้เยื่อหัวหอมจุ่มในน้ำแกงเห็ด ถ้าเยื่อหัวหอมเปลี่ยนสี มักเป็นเห็ดพิษเช่นเดียวกัน<br />\n        3) ใช้ข้าวสารเจ้า ถ้าเมล็ดข้าวไม่บานส่วนมากมักเป็นเห็ดพิษ<br />\n</span><span style=\"color: #000080\"><strong><u>8.ตะเกียบ</u><br />\n</strong>        ตะเกียบมีทั้งลวดลาย และสีสรรเพื่อดึงดูดความสนใจ ตะเกียบเหล่านี้มักมีอันตรายต่อร่างกาย ทั้งนี้เพราะสีในเนื้อพลาสติก ตลอดจนสีที่เป็นลวดลายหรือสีที่เคลือบอยู่บนตะเกียบเมื่อนำมาใช้จับอาหาร โดยเฉพาะที่มีน้ำร้อนๆหรืออาหารที่มีรสจัด สีเหล่านี้อาจละลายหรือเลื่อนหลุดปะปนลงไปในอาหารก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้องและเป็นตะคริวที่ท้องได้ เพราะสีนี้มีสารตะกั่ว แคดเมียมและสารหนู นอกจากนี้หากเกิดการสะสมอยู่ในร่างกายนานๆก็อาจก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้<br />\n<strong><u>9.กระดาษทิชชู</u></strong> <br />\n       กระดาษทิชชูหรือกระดาษอนามัย มี 4 ประเภท คือ กระดาษเช็ดหน้า กระดาษเช็ดปาก กระดาษเช็ดมือ และกระดาษชำระ ซึ่งในปัจจุบันการผลิตกระดาษทิชชู่มิได้ผลิตจากเยื่อกระดาษล้วนๆแต่มีการนำเศษกระดาษ และเยื่อไม้บดมาผสม ทำให้แลดูสกปรก จึงมีการย้อมสีหรือพิมพ์ลวดลายให้สวยงาม เพื่อปกปิดร่องรอยของความสกปรก ดังนั้นจึงควรเลี่ยงการซื้อกระดาษทิชชูที่ย้อมสีเข้ม แต่ควรเลือกซื้อกระดาษทิชชูที่มีสีขาวจึงจะปลอดภัยที่สุด<br />\n<strong><u>10.ก๊าซหุงต้มอาหาร</u></strong><br />\n       ก๊าซหุงต้มอาหาร จัดอยู่ในกลุ่ม &quot;ยาสลบ&quot; เพราะถ้าสูดดมก๊าซนี้ในปริมาณที่มาก จะเกิดอาการง่วงเหงาหาวนอนเมื่อสัมผัสก๊าซนี้จะเกิดอาการระคายเคืองต่อเยื่อบุต่างๆทำให้ผิวแห้ง ถ้าหายใจเข้าไปมากๆจะทำให้เกิดโรคปอดอักเสบ ปอดบวม ทำให้ร่างกายขาดอ๊อกซิเจนถึงตายได้<br />\n       กรณีที่ก๊าซรั่วออกมามาก ทำให้ปริมาณก๊าซในบริเวณนั้นมีมากเมื่อมีประกายไฟที่จุดขึ้น ก๊าซจะติดไฟ และอาจเกิดระเบิดขึ้น</span><br />\n</span>\n</p>\n', created = 1716095131, expire = 1716181531, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9f2b7bb412331b772b7e9d7d49a0b49d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สารเคมีในบ้าน

รูปภาพของ ptkt77

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


 

1. ผงชูรสและสารบอแรกซ์
     ผงชูรสแท้มีชื่อทางเคมีว่า "โมโนโซเดียมกลูตาเมต" ถ้ารับประทานมากไปอาจเกิดพิษได้ โดยเฉพาะทารกและสตรีมีครรภ์ ไม่ควรรับประทานผงชูรส เพราะเป็นอันตรายต่อสมองของเด็ก อาจทำให้เด็กปัญญาอ่อน โดยปกติยกเว้นเด็กทารก ไม่ควรบริโภคผงชูรสเกินวันละ 120 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม เช่น ไม่เกิน 6 กรัมหรือประมาณ 1 ช้อนชาพูน ต่อน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม  สำหรับผงชูรสปลอมที่มีสารบอแรกซ์ปลอมปนอยู่ เมื่อรับประทานเข้าไปจะทำให้เกิดอาการผิดปกติขึ้น เช่น วิงเวียนศรีษะ อาเจียน ถ้ารับประทานมากอาจหมดสติได้     
        Tongue outวิธีทดสอบผงชูรสปลอม
     วิธีทดสอบว่าเป็นผงชูรสแท้ หรือผงชูรสปลอม ทำได้ง่ายๆโดยนำผงชูรสที่สงสัยใส่ลงในช้อนโลหะสักเล็กน้อยแล้วเผาด้วยเปลวไฟให้ไหม้ ถ้าเป็นผงชูรสแท้จะไหม้เป็นถ่านสีดำติดช้อนนั้น แต่ถ้าไหม้ไม่หมดแสดงว่าเป็นผงชูรสปลอมอ มีสารอื่นเจือปนอยู่หรือทดสอบโดยใช้กระดาษขมิ้น ซึ่งมีสีเหลือง จุ่มลงในผงชูรสที่ละลายน้ำอยู่ ถ้าเป็นผงชูรสแท้กระดาษจะไม่เปลี่ยนสี แต่ถ้าเป็นผงชูรสปลอมที่มีสารบอแรกซ์เจือปนอยู่กระดาษขมิ้นจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือสีแดงคล้ำ
2.อาหารแห้งอันตราย
   อาหารแห้งพวก พริกแห้ง หอม เครื่องเทศ ปลาแห้ง ปลาเค็ม ถั่ว หรืออาหารเมล็ดแห้งต่างๆโดยเฉพาะถั่วลิสงที่เก็บในที่มีความชื้นสูง มักพบสารพิษที่มีชื่อว่า "อะฟลาทอกซิน" ซึ่งเกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง สารพิษดังกลาวไม่สามารถทำลายด้วยความร้อนจากการหุงต้มธรรามดาได้ การบริโภคอาหารที่มีสารพิษนี้จะก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งเป็นสาเหตุของ"โรคมะเร็งในตับ"
     Laughing ข้อแนะนำในการเลือกซื้ออาหารแห้ง
    2.1) เลือกซื้ออาหารแห้งที่มีลักษณะใหม่ไม่ขึ้นรา เป็นขุยหรือจุดด่างดำ
    2.2) อาหารพวกถั่วลิสงทุกชนิด มักตรวจพบสารพิษของเชื้อราได้มากที่สุดจึงไม่ควรซื้อมารับประทาน

3. อาหารกระป๋อง
    
อาหารกระป๋องที่เก็บไว้นานๆจนกระปแองบวม หรือกระป๋องมีรอยถลอกภายใน หรือเปลี่ยนเป็นสีดำ อาจทำให้เกิดพิษได้ ควรทิ้งเสีย ไม่ควรนำมาบริโภค เพราะอาจเกิดโทษจากจุลินทรีย์ หรือโลหะที่ละลายออกมาจากกระป๋อง
    สำหรับอาหารกระป๋องที่ปกติ ก่อนใช้ไม่ควรต้มทั้งกระป๋อง เพราะโลหะที่เคลือบกระป๋องอาจละลายออกมาปนกับอาหารได้ และเมื่อรับประทานยังไม่หมดไม่ควรเก็บไว้ทั้งกระป๋อง ควรถ่ายใส่ภาชนะอื่นเก็บไว้ให้มิดชิด หรือเก็บไว้ในตู้เย็น
4. น้ำปลา
    น้ำปลาเป็นสารปรุงแต่งรสอาหาร ได้จากการหมักปลากับเกลือ ซึ่งมีอยู่ 3 ชนิด
    1) น้ำปลาแท้ที่ได้จากการหมักปลา หรือส่วนของปลากับเกลือ
    2) น้ำปลาวิทยาศาสตร์ ได้จากการหมักปลาหรือส่วนของปลาโดยวิธีการไฮโดรไลซิสด้วยกรดเกลือ หรือด้วยเอ็นไซม์
    3) น้ำปลาผสมได้จากการนำน้ำปลาแท้ หรือน้ำปลาวิทยาศาสตร์มาเจือปน หรือเจือจางด้วยสิ่งที่ไม่เป็นอันตราย
        ยังมีน้ำปลาอีกชนิดหนึ่งที่ไม่มีส่วนผสมที่ได้จากการหมักปลา แต่ได้จากน้ำเหลือเจือสี และแต่งกลิ่น แท้จริงแล้วควรเรียกว่า"น้ำเกลือปรุงรส" ซึ่งไม่มีประโยชน์ และยังอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้
      Smileการเลือกซื้อน้ำปลาอย่างไร
              น้ำปลาแท้จะต้องมีน้ำตาลแดงใส มีกลิ่นคาวปลาบรรจุในขวดและมีฉลากแจ้งตรา และสถานที่ผลิตไว้ชัดเจน มีเลขทะเบียนอาหารของกระทรวงสาธารณสุข
              ไม่ควรซื้อน้ำปลาที่ราคาถูกเกินไป หรือมีสีดำคล้ำ ขุ่น มีตะกอน เพราะมักไม่ใช่น้ำปลาแท้ และถึงจะเป็นน้ำปลาแท้ก็เป็นน้ำปลาที่เก็บไว้นานและเสื่อมคุณภาพบางประการไปแล้ว
5. กะปิ
    กะปิดีจะเหนียวเนื้อละเอียด มีสีแดง ไม่คล้ำ สังเกตดูจะมีกากของกุ้งปนอยู่ รสจะไม่เค็มมาก ส่วนกะปิปลอมเนื้อจะหยาบ ปนกากปลา มีรสเค็ม และสีของกะปิจะแดงผิดธรรมชาติ ซึ่งผู้ผลิตจะผสมสีย้อมผ้า เพื่อกลบเกลื่อนให้ผู้บริโภคเข้าใจว่าเป็นกะปิแท้
6. สารตะกั่วในไข่เยี่ยวม้า
    ไข่เยี่ยวม้าเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของไข่ เพราะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งสารเคมีและจุลินทรีย์ภายในไข่ มีความเป็นด่างสูงกว่าไข่ธรรมดา จึงปลอดภัยจากจุลินทรีย์ที่เป็นอันตราย อย่างไรก็ตามได้มีการตรวจพบว่า ในไข่เยี่ยวม้ามีสารตะกั่วในปริมาณที่สูง บางครั้งสูงถึง 50 ppm ซึ่งในปกติอาหารทั่วไปมีควรมีสารตะกั่วเกิน 2 ppm สารตะกั่วในไข่เยี่ยวม้านี้อาจเนื่องมาจากพ่อค้าใช้สารตะกั่วเป็นตัวเร่ง เพื่อให้ไข่เยี่ยวม้าแข็งตัวเป็นวุ้นเร็วขึ้น
     Yellอันตรายที่อาจเกิด คือ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย เกิดโลหิตจาง ซีด เหงือกสีม่วง อ่อนเพลีย
7. เห็ดพิษ
        เห็ดเป็นพืชขั้นต่ำ พวกเดียวกับรา เห็ดหลายชนิดนำมาประกอบเป็นอาหารรับประทานได้ แต่บางชนิดมีพิษ เช่น เห็ดหิ่งห้อย เห็ดข้ามคืน เห็ดตาข่าย เห็ดบางชนิดเป็นพิษในบางกรณีเท่านั้น ส่วนบางชนิดมีพิษถึงตายได้ ซึ่งมักเป็นเห็ดในตระกูลอะมานิต้า เห็ดพิษส่วนมากมักมีสีสวยงามรูปทรงน่าดูปะปนกับเห็ดธรรมดา เห็ดพิษมีมากในป่าภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
        Tongue out
วิธีทดสอบเห็ดพิษ
        1) ใช้เงินบริสุทธิ์จุ่มลงในน้ำแกงเห็ด ถ้าเงินเปลี่ยนสีมักเป็นเห็ดพิษ
        2) ใช้เยื่อหัวหอมจุ่มในน้ำแกงเห็ด ถ้าเยื่อหัวหอมเปลี่ยนสี มักเป็นเห็ดพิษเช่นเดียวกัน
        3) ใช้ข้าวสารเจ้า ถ้าเมล็ดข้าวไม่บานส่วนมากมักเป็นเห็ดพิษ
8.ตะเกียบ
        ตะเกียบมีทั้งลวดลาย และสีสรรเพื่อดึงดูดความสนใจ ตะเกียบเหล่านี้มักมีอันตรายต่อร่างกาย ทั้งนี้เพราะสีในเนื้อพลาสติก ตลอดจนสีที่เป็นลวดลายหรือสีที่เคลือบอยู่บนตะเกียบเมื่อนำมาใช้จับอาหาร โดยเฉพาะที่มีน้ำร้อนๆหรืออาหารที่มีรสจัด สีเหล่านี้อาจละลายหรือเลื่อนหลุดปะปนลงไปในอาหารก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้องและเป็นตะคริวที่ท้องได้ เพราะสีนี้มีสารตะกั่ว แคดเมียมและสารหนู นอกจากนี้หากเกิดการสะสมอยู่ในร่างกายนานๆก็อาจก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้
9.กระดาษทิชชู 
       กระดาษทิชชูหรือกระดาษอนามัย มี 4 ประเภท คือ กระดาษเช็ดหน้า กระดาษเช็ดปาก กระดาษเช็ดมือ และกระดาษชำระ ซึ่งในปัจจุบันการผลิตกระดาษทิชชู่มิได้ผลิตจากเยื่อกระดาษล้วนๆแต่มีการนำเศษกระดาษ และเยื่อไม้บดมาผสม ทำให้แลดูสกปรก จึงมีการย้อมสีหรือพิมพ์ลวดลายให้สวยงาม เพื่อปกปิดร่องรอยของความสกปรก ดังนั้นจึงควรเลี่ยงการซื้อกระดาษทิชชูที่ย้อมสีเข้ม แต่ควรเลือกซื้อกระดาษทิชชูที่มีสีขาวจึงจะปลอดภัยที่สุด
10.ก๊าซหุงต้มอาหาร
       ก๊าซหุงต้มอาหาร จัดอยู่ในกลุ่ม "ยาสลบ" เพราะถ้าสูดดมก๊าซนี้ในปริมาณที่มาก จะเกิดอาการง่วงเหงาหาวนอนเมื่อสัมผัสก๊าซนี้จะเกิดอาการระคายเคืองต่อเยื่อบุต่างๆทำให้ผิวแห้ง ถ้าหายใจเข้าไปมากๆจะทำให้เกิดโรคปอดอักเสบ ปอดบวม ทำให้ร่างกายขาดอ๊อกซิเจนถึงตายได้
       กรณีที่ก๊าซรั่วออกมามาก ทำให้ปริมาณก๊าซในบริเวณนั้นมีมากเมื่อมีประกายไฟที่จุดขึ้น ก๊าซจะติดไฟ และอาจเกิดระเบิดขึ้น

สร้างโดย: 
นายประทีป คำตัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 259 คน กำลังออนไลน์