• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8e3e784239df751698dba8299894ec66' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b>12 ธ.ค. &quot;นาซา&quot; ชวนชม &quot;จันทร์เต็มดวง&quot; โตที่สุดในรอบปี</b>\n</p>\n<p><!-- Main --><!-- Main --></p><p><span>คืนวันพระจันทร์เต็มดวงที่ 12 ธ.ค.นี้ เป็นคืนที่เราจะได้เห็นจันทร์เต็มดวงโตที่สุดและสว่างที่สุดในรอบปี แม้จันทร์จะโตไม่พอให้มองเห็นรอยเท้าของ &quot;นีล อาร์มสตรอง&quot; แต่นาซาก็เชิญชวนให้ทุกคนออกไปชมปรากฏการณ์พิเศษนี้ โดยเฉพาะช่วงจันทร์อยู่ใกล้ขอบฟ้า</span></p>\n<p>องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ชวนชมปรากฏการณ์จันทร์เต็มดวงคืนวันที่ 12 ธ.ค.51 นี้ ที่จะเห็นเป็นดวงโตและสว่างที่สุดในรอบปีนี้ โดยเราเห็นปรากฏการณ์ดังกล่าวได้เพราะดวงจันทร์โคจรเป็นรูปวงรี ทำให้มีด้านที่อยู่ใกล้โลกมากกว่าด้านอื่นๆ 50,000 กิโลเมตร ซึ่งในภาษาของนักดาราศาสตร์ ด้านที่อยู่ไกลสุดคือ &quot;อะโพจี&quot; (apogee) และด้านที่ใกล้สุดคือ &quot;เพริจี&quot; (perigee)</p>\n<p>ในคืนวันศุกร์นี้ดวงจันทร์จะอยู่ในตำแหน่งเพริจี ซึ่งส่งผลให้ดวงจันทร์ในคืนปลายสัปดาห์ดูใหญ่กว่าจันทร์เต็มดวงเมื่อช่วงต้นปี ถึง 14 % และสว่างมากกว่า 30%</p>\n<p>แต่เราจะบอกความแตกต่างของดวงจันทร์ดวงกลมๆ ที่ใหญ่ขึ้นได้หรือไม่? แน่นอนว่าไม่มีไม้บรรทัดลอยกลางอากาศให้เราวัดขนาดของดวงจันทคร์ที่ใหญ่ และบนฟ้าก็ไม่มีจุดให้เปรียบเทียบ ดังนั้นจันทร์เต็มดวงครั้งนี้ก็คงเหมือนกับทุกๆ ครั้ง แ</p>\n<p>นาซาแนะนำว่าช่วงเวลาดีที่สุดที่จะชมดวงจันทร์คือ ช่วงเวลาที่ดวงจันทร์อยู่ใกล้ขอบฟ้า เมื่อภาพจริงผสานกับภาพมายา สิ่งที่เราคือภาพที่ชวนตะลึงงัน ทั้งนี้นักดาราศาสตร์หรือแม้กระทั่งนักจิตวิทยาก็ยังไม่เข้าใจเหตุผลแน่ชัดนัก ที่ดวงจันทร์จะดูใหญ่กว่าปกติเมื่อฉายแสงทาบต้นไม้ อาคารเรือนและทัศนียภาพที่อยู่เบื้องหน้าของดวงจันทร์</p>\n<p>อย่างไรก็ดี สำหรับคนที่คาดหวังว่าจะได้มองเห็นรอยเท้าของ &quot;นีล อาร์มสตรอง&quot; (Neil Armstrong) คงจะต้องผิดหวังเพราะดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้จากโลกโดยเฉลี่ย 384,400 กิโลเมตร อันเป็นระยะที่แม้แต่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble) ซึ่งออกไปโคจรรอบโลกบันทึกความแตกต่างได้เพียงแค่ 60 เมตรเท่านั้น แต่ของชิ้นใหญ่สุดที่ยานอะพอลโล (Apollo) ทิ้งไว้บนดวงจันทร์มีขนาดเพียง 9 เมตร ซึ่งเมื่อบันทึกด้วยกล้องฮับเบิลจะเห็นเป็นจุดเล็กกว่าความละเอียด 1 พิกเซลเสียอีก</p>\n<p>หากแต่สิ่งที่จะเห็นพิเศษสุดคือบรรยากาศรอบๆ ตัวเราที่ทุกอย่างจะสว่างไสวที่สุดจากแสงจันทร์ ส่วนผู้คนในซีกโลกเหนือยังได้เห็นสิ่งที่พิเศษอีกอย่างคือ ตำแหน่งของดวงจันทร์เต็มดวงอยู่ที่สูงสุดในรอบปี และรอบตัวจะยิ่งสว่างมากขึ้น หากเต็มไปด้วยหิมะ</p>\n<p>ผลพวงจากตำแหน่งของดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้โลกนี้ทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้น แต่ไม่มีอะไรน่ากังวลนัก เพราะแรงดึงดูดจากดวงจันทร์จะทำให้ระดับน้ำสูงขึ้นกว่าปกติไม่กี่เซนติเมตร และสภาพภูมิประเทศจะขยายผลของปรากฏการณ์น้ำขึ้นไปถึงแค่ 15 เซนติเมตรเท่านั้น ซึ่งนาซาระบุว่าไม่ถึงขั้นทำให้เกิดน้ำท่วมใหญ่แต่อย่างใด</p>\n<p>จาก<br />\n<a href=\"http://www.manager.co.th\">http://www.manager.co.th</a>\n</p>\n', created = 1714983558, expire = 1715069958, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8e3e784239df751698dba8299894ec66' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

12 ธ.ค. "นาซา" ชวนชม "จันทร์เต็มดวง" โตที่สุดในรอบปี

12 ธ.ค. "นาซา" ชวนชม "จันทร์เต็มดวง" โตที่สุดในรอบปี

คืนวันพระจันทร์เต็มดวงที่ 12 ธ.ค.นี้ เป็นคืนที่เราจะได้เห็นจันทร์เต็มดวงโตที่สุดและสว่างที่สุดในรอบปี แม้จันทร์จะโตไม่พอให้มองเห็นรอยเท้าของ "นีล อาร์มสตรอง" แต่นาซาก็เชิญชวนให้ทุกคนออกไปชมปรากฏการณ์พิเศษนี้ โดยเฉพาะช่วงจันทร์อยู่ใกล้ขอบฟ้า

องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ชวนชมปรากฏการณ์จันทร์เต็มดวงคืนวันที่ 12 ธ.ค.51 นี้ ที่จะเห็นเป็นดวงโตและสว่างที่สุดในรอบปีนี้ โดยเราเห็นปรากฏการณ์ดังกล่าวได้เพราะดวงจันทร์โคจรเป็นรูปวงรี ทำให้มีด้านที่อยู่ใกล้โลกมากกว่าด้านอื่นๆ 50,000 กิโลเมตร ซึ่งในภาษาของนักดาราศาสตร์ ด้านที่อยู่ไกลสุดคือ "อะโพจี" (apogee) และด้านที่ใกล้สุดคือ "เพริจี" (perigee)

ในคืนวันศุกร์นี้ดวงจันทร์จะอยู่ในตำแหน่งเพริจี ซึ่งส่งผลให้ดวงจันทร์ในคืนปลายสัปดาห์ดูใหญ่กว่าจันทร์เต็มดวงเมื่อช่วงต้นปี ถึง 14 % และสว่างมากกว่า 30%

แต่เราจะบอกความแตกต่างของดวงจันทร์ดวงกลมๆ ที่ใหญ่ขึ้นได้หรือไม่? แน่นอนว่าไม่มีไม้บรรทัดลอยกลางอากาศให้เราวัดขนาดของดวงจันทคร์ที่ใหญ่ และบนฟ้าก็ไม่มีจุดให้เปรียบเทียบ ดังนั้นจันทร์เต็มดวงครั้งนี้ก็คงเหมือนกับทุกๆ ครั้ง แ

นาซาแนะนำว่าช่วงเวลาดีที่สุดที่จะชมดวงจันทร์คือ ช่วงเวลาที่ดวงจันทร์อยู่ใกล้ขอบฟ้า เมื่อภาพจริงผสานกับภาพมายา สิ่งที่เราคือภาพที่ชวนตะลึงงัน ทั้งนี้นักดาราศาสตร์หรือแม้กระทั่งนักจิตวิทยาก็ยังไม่เข้าใจเหตุผลแน่ชัดนัก ที่ดวงจันทร์จะดูใหญ่กว่าปกติเมื่อฉายแสงทาบต้นไม้ อาคารเรือนและทัศนียภาพที่อยู่เบื้องหน้าของดวงจันทร์

อย่างไรก็ดี สำหรับคนที่คาดหวังว่าจะได้มองเห็นรอยเท้าของ "นีล อาร์มสตรอง" (Neil Armstrong) คงจะต้องผิดหวังเพราะดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้จากโลกโดยเฉลี่ย 384,400 กิโลเมตร อันเป็นระยะที่แม้แต่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble) ซึ่งออกไปโคจรรอบโลกบันทึกความแตกต่างได้เพียงแค่ 60 เมตรเท่านั้น แต่ของชิ้นใหญ่สุดที่ยานอะพอลโล (Apollo) ทิ้งไว้บนดวงจันทร์มีขนาดเพียง 9 เมตร ซึ่งเมื่อบันทึกด้วยกล้องฮับเบิลจะเห็นเป็นจุดเล็กกว่าความละเอียด 1 พิกเซลเสียอีก

หากแต่สิ่งที่จะเห็นพิเศษสุดคือบรรยากาศรอบๆ ตัวเราที่ทุกอย่างจะสว่างไสวที่สุดจากแสงจันทร์ ส่วนผู้คนในซีกโลกเหนือยังได้เห็นสิ่งที่พิเศษอีกอย่างคือ ตำแหน่งของดวงจันทร์เต็มดวงอยู่ที่สูงสุดในรอบปี และรอบตัวจะยิ่งสว่างมากขึ้น หากเต็มไปด้วยหิมะ

ผลพวงจากตำแหน่งของดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้โลกนี้ทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้น แต่ไม่มีอะไรน่ากังวลนัก เพราะแรงดึงดูดจากดวงจันทร์จะทำให้ระดับน้ำสูงขึ้นกว่าปกติไม่กี่เซนติเมตร และสภาพภูมิประเทศจะขยายผลของปรากฏการณ์น้ำขึ้นไปถึงแค่ 15 เซนติเมตรเท่านั้น ซึ่งนาซาระบุว่าไม่ถึงขั้นทำให้เกิดน้ำท่วมใหญ่แต่อย่างใด

จาก
http://www.manager.co.th

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 447 คน กำลังออนไลน์