• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:930efb8e6ec2c33ca9f2d609903e77a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b>เยอรมันทำสำเร็จ &quot;พลาสติกนำไฟฟ้า&quot;</b>\n</p>\n<!--Main--><!--Main--><p>\n<span><img src=\"http://pics.manager.co.th/Images/551000015661701.JPEG\" /><br />\nวัสดุลูกผสมพลาสติก-โลหะที่มีลักษณะเป็นเม็ด ซึ่งในอนาคตพลาสติกนำไฟฟ้าจะมีความอ่อนนุ่มมากขึ้น และประยุกต์ใช้งานได้เหมือนแผงวงจรไฟฟ้า (ภาพไอเอฟเอเอ็ม)</span></p>\n<p>อาจฟังดูเหมือนโลกกลับตาลปัตร สำหรับพลาสติกนำไฟฟ้า ที่เบายิ่งกว่าขนนก แต่นักวิจัยเยอรมันก็ทำให้เป็นจริงขึ้นมาได้แล้ว และยังพัฒนาวิธีลดต้นทุนพลาสติกนำไฟฟ้าให้ถูกลงด้วย</p>\n<p>ทั้งนี้พลาสติกเป็นวัสดุราคาถูก น้ำหนักเบาแต่ไม่นำไฟฟ้า ขณะที่โลหะยืดหยุ่นและนำไฟฟ้าได้ แต่ก็มีราคาแพงและมีน้ำหนักมาก ทุกวันนี้เราก็ยังไม่สามารถรวบคุณสมบัติของวัสดุทั้ง 2 เข้าไว้ด้วยกันได้ แต่ล่าสุดไซน์เดลีได้เปิดเผยว่า</p>\n<p>นักวิจัยจากสถาบันวิจัยวิศวอุตสาหการและวัสดุประยุกต์เฟราน์โฮเฟอร์ หรือ ไอเอฟเอเอ็ม (Fraunhofer-Institut für Fertigungstechnik und Angewandte Materialforschung :IFAM) ในเมืองเบรเมน เยอรมนี ได้พัฒนาส่วนผสมที่รวมข้อดีของวัสดุ 2 ชนิดไว้ด้วยกัน โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องจักรใหม่</p>\n<p>ความท้าทายสำคัญ สำหรับนักวิจัยคือการพัฒนาให้นำไฟฟ้าได้ ซึ่งมีทั้งความพยายามพัฒนาพลาสติกลูกผสมที่พิทพ์วงจรไฟฟ้าลงบนแผ่นพลาสติก แล้วในไปประยุกต์ใช้ในรถยนต์หรือเครื่องบิน และจนถึงทุกวันนี้ก็ทำได้เพียงกดหรือบิดแผ่นโลหะในกระบวนการที่ซับซ้อนเพื่อรวมให้เป็นวัสดุชิ้นเดียวกัน</p>\n<p>หากส่วนผสมที่นักวิจัยไอเอฟเอเอ็มพัฒนาขึ้นมาเรียบง่ายกว่าวิธีที่มีการพัฒนากันอยู่ โดยวัสดุ 2 ชนิดไม่ได้แทรกสอดหรือยึดรวมกันไว้ หากแต่เป็นการผสมด้วยกระบวนการพิเศษ ให้กลายเป็นวัสดุชิ้นเดียวกัน กระบวนการที่พัฒนาขึ้นทำให้ได้ตาข่ายนำไฟฟ้าที่เป็นเนื้อเดียวกัน</p>\n<p>วัสดุลูกผสมนี้มีความเสถียรทางเคมีและมีน้ำหนักเบา อีกทั้งยังมีความสามารถในการนำไฟฟ้าและความร้อนเช่นเดียวกับโลหะด้วย และในอนาคตนอกจากไม่จำเป็นต้องรวมวงจรไฟฟ้าที่เป็นโลหะเข้ากับแผ่นพลาสติกแล้ว ยังสามารถผลิตพลาสติกนำไฟฟ้าในขั้นตอนเดียว ด้วยราคาที่ถูกกว่าและน้ำหนักของวัสดุที่เบาลงด้วย</p>\n<p>อย่างไรก็ดีไซน์เดลีไม่ได้ระบุว่า พลาสติกนำไฟฟ้าที่พัมนาขึ้นมานั้นมีราคาถูกลงเท่าไหร่</p>\n<p>การพัฒนานี้มีประโยชน์ยิ่งต่อวงการอุตสาหกรรมยานยนต์และเครื่องบิน และส่วนประกอบของเครื่องบินหลายชิ้นผลิตขึ้นจากวัสดุผสมเส้นใยคาร์บอน ซึ่งแม้จะให้น้ำหนักเบาแต่ก็ขาดความสามารถในการนำไฟฟ้า.</p>\n<p>จาก <a href=\"http://www.manager.co.th/\">http://www.manager.co.th/</a>\n</p>\n', created = 1714979884, expire = 1715066284, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:930efb8e6ec2c33ca9f2d609903e77a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เยอรมันทำสำเร็จ "พลาสติกนำไฟฟ้า"

เยอรมันทำสำเร็จ "พลาสติกนำไฟฟ้า"


วัสดุลูกผสมพลาสติก-โลหะที่มีลักษณะเป็นเม็ด ซึ่งในอนาคตพลาสติกนำไฟฟ้าจะมีความอ่อนนุ่มมากขึ้น และประยุกต์ใช้งานได้เหมือนแผงวงจรไฟฟ้า (ภาพไอเอฟเอเอ็ม)

อาจฟังดูเหมือนโลกกลับตาลปัตร สำหรับพลาสติกนำไฟฟ้า ที่เบายิ่งกว่าขนนก แต่นักวิจัยเยอรมันก็ทำให้เป็นจริงขึ้นมาได้แล้ว และยังพัฒนาวิธีลดต้นทุนพลาสติกนำไฟฟ้าให้ถูกลงด้วย

ทั้งนี้พลาสติกเป็นวัสดุราคาถูก น้ำหนักเบาแต่ไม่นำไฟฟ้า ขณะที่โลหะยืดหยุ่นและนำไฟฟ้าได้ แต่ก็มีราคาแพงและมีน้ำหนักมาก ทุกวันนี้เราก็ยังไม่สามารถรวบคุณสมบัติของวัสดุทั้ง 2 เข้าไว้ด้วยกันได้ แต่ล่าสุดไซน์เดลีได้เปิดเผยว่า

นักวิจัยจากสถาบันวิจัยวิศวอุตสาหการและวัสดุประยุกต์เฟราน์โฮเฟอร์ หรือ ไอเอฟเอเอ็ม (Fraunhofer-Institut für Fertigungstechnik und Angewandte Materialforschung :IFAM) ในเมืองเบรเมน เยอรมนี ได้พัฒนาส่วนผสมที่รวมข้อดีของวัสดุ 2 ชนิดไว้ด้วยกัน โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องจักรใหม่

ความท้าทายสำคัญ สำหรับนักวิจัยคือการพัฒนาให้นำไฟฟ้าได้ ซึ่งมีทั้งความพยายามพัฒนาพลาสติกลูกผสมที่พิทพ์วงจรไฟฟ้าลงบนแผ่นพลาสติก แล้วในไปประยุกต์ใช้ในรถยนต์หรือเครื่องบิน และจนถึงทุกวันนี้ก็ทำได้เพียงกดหรือบิดแผ่นโลหะในกระบวนการที่ซับซ้อนเพื่อรวมให้เป็นวัสดุชิ้นเดียวกัน

หากส่วนผสมที่นักวิจัยไอเอฟเอเอ็มพัฒนาขึ้นมาเรียบง่ายกว่าวิธีที่มีการพัฒนากันอยู่ โดยวัสดุ 2 ชนิดไม่ได้แทรกสอดหรือยึดรวมกันไว้ หากแต่เป็นการผสมด้วยกระบวนการพิเศษ ให้กลายเป็นวัสดุชิ้นเดียวกัน กระบวนการที่พัฒนาขึ้นทำให้ได้ตาข่ายนำไฟฟ้าที่เป็นเนื้อเดียวกัน

วัสดุลูกผสมนี้มีความเสถียรทางเคมีและมีน้ำหนักเบา อีกทั้งยังมีความสามารถในการนำไฟฟ้าและความร้อนเช่นเดียวกับโลหะด้วย และในอนาคตนอกจากไม่จำเป็นต้องรวมวงจรไฟฟ้าที่เป็นโลหะเข้ากับแผ่นพลาสติกแล้ว ยังสามารถผลิตพลาสติกนำไฟฟ้าในขั้นตอนเดียว ด้วยราคาที่ถูกกว่าและน้ำหนักของวัสดุที่เบาลงด้วย

อย่างไรก็ดีไซน์เดลีไม่ได้ระบุว่า พลาสติกนำไฟฟ้าที่พัมนาขึ้นมานั้นมีราคาถูกลงเท่าไหร่

การพัฒนานี้มีประโยชน์ยิ่งต่อวงการอุตสาหกรรมยานยนต์และเครื่องบิน และส่วนประกอบของเครื่องบินหลายชิ้นผลิตขึ้นจากวัสดุผสมเส้นใยคาร์บอน ซึ่งแม้จะให้น้ำหนักเบาแต่ก็ขาดความสามารถในการนำไฟฟ้า.

จาก http://www.manager.co.th/

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 485 คน กำลังออนไลน์