• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2e66a3f872421521d646462585bf51de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #ff0000\"><u>ประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา </u></span>\n</p>\n<p>\n<strong> <span style=\"font-size: small\">สมัยอยุธยา</span></strong>\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"312\" src=\"http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/ayutaya/pic16.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p>\nได้รับวัฒนธรรมจากขอม ซึ่งถ่ายทอดวัฒนธรรมลัทธิพราหมณ์เกี่ยวกับแนวความคิดกษัตริย์แบบเทวราชาจากอินเดีย อีกทีหนึ่ง พระเจ้าแผ่นดินสมัยอยุธยาจึงเป็นสมมติเทพ เปรียบเหมือนเจ้าชีวิตของคนไทยทั้งหลาย การติดต่อระหว่าง กษัตริย์กับประชาชนต้องใช้ราชาศัพท์ นับว่าเป็นการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างแท้จริง ความรู้สึกดั้งเดิม ที่เคยนับถือพระเจ้าแผ่นดินเหมือนพ่อของลูกก็เริ่มหายไป กลายเป็นแบบนายปกครอง<br />\nบ่าวแทนส่วนวิธีปกครองบ้านเมืองก็ยังคงใช้วิธีการทหารแบบสุโขทัยสำหรับบริหารราชการส่วนภูมิภาค ส่วนการบริหารส่วน กลางได้แบ่งกิจการของประเทศออกเป็น 4 กระทรวง คือ เวียง วัง คลัง นา รวมเรียกว่า&quot;จตุสดมภ์&quot;<br />\nกษัตริย์เป็นเจ้าแผ่นดิน สามารถพระราชทานที่ดินให้ราษฎร์ทำกินและเพิกถอนกรรมสิทธิ์ได้ ประชาชนตอบแทนแว่น แคว้นด้วยการยอมให้เกณฑ์แรงงานเพื่อใช้ในราชการและงานเพื่อสาธารณประโยชน์ ในยามปกติสุข ขุนนาง ข้าราชการ และประชาชนมีสภาพเป็นพลเรือนเหมือนกันหมด แต่ในยามศึกสงครามชายฉกรรจ์ทุกคนต้องเป็น<br />\nทหารราษฎรนับถือศาสนาพุทธ (นิกายหินยาน) และพราหมณ์ไปพร้อม ๆ กัน แต่ศาสนาฮินดูมักมีบทบาทสำคัญในราช สำนัก ซึ่งมีพราหมณ์เป็นผู้ทำหน้าที่นี้ รวมทั้งมีระบบความเชื่อเกี่ยวกับผีสางอยู่แล้ว และที่สำคัญที่สุด คือ แบ่งแยก ประเภทบุคคลในสังคมออกเป็นชั้นต่าง ๆดังนี้<br />\n1.ชนชั้นมูลนาย ได้แก่ พระมหากษัตริย์ พระาราชวงศ์ ขุนนาง และข้าราชการ<br />\n2.ชนชั้นพิเศษ ได้แก่ สมณะชีพราหมณ์ และชาวต่างประเทศที่เป็นพ่อค้าวานิช<br />\n3.ชนชั้นไพร่ฟ้าข้าทาส ได้แก่ สามัญชน ซึ่งอาจมีฐานะเป็น ไพร่ ข้า หรือ ทาส ซึ่งมีจำนวนมาก ประมาณร้อยละ 95 ของประชากรทั้งหมด<br />\nสังคมสมัยอยุธยานั้นเป็นสังคมแบบศักดินา ซึ่งได้สร้างวัฒนธรรมใหม่ขึ้นมาโดยเริ่มในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลก- นาถ พระองค์ได้ทรงออกกฎหมายการควบคุมกำลังคนของฝ่ายพลเรือน-ทหารขึ้น มีการกำหนดฐานะและหน้าที่ไว้อย่าง เด่นชัด เช่น ประชาชนทั่วไปมีศักดินา 25 ไร่ ถ้าผู้ใดมีนามากกว่า 400 ไร่ ถือว่าเป็นชนชั้นผู้ดี ต่ำกว่าถือว่าเป็นชนชั้นไพร่ ความรับผิดชอบหน้าที่ก็แตกต่างกัน โดยที่ชนชั้นไพร่อยู่ภายใต้การควบคุมของชนชั้นผู้ดี ชนชั้นไพร่ไม่มีสิทธิมองกษัตริย์ ชนชั้นผู้ดีมีสิทธิในการช่วยเหลือพระพระมหากษัตริย์ระดมพลยามศึกสงคราม นอกจากนั้นยังได้รับสิทธิพิเศษอื่น ๆ ในระบบฐานันดรไพร่หรือระบบศักดินาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น สะท้อนให้เห็นได้จากบรรทัดฐานของ สังคมสมัยนี้ คือ กฎหมายบังคับให้ราษฎรทุกคนต้องมีมูลนาย และพระเจ้าแผ่นดินมีสิทธิบังคับให้ข้าแผ่นดินรับราชการ โดยไม่มีค่าจ้างหรือเบี้ยเลี้ยง ถ้าไพร่กระทำผิดต่อพระเจ้าแผ่นดิน พ่อแม่ต้องรับโทษทัณฑ์ร่วมกับไพร่ที่เป็นลูก ปัจจัยที่ดิน และแรงงานถูกผูกขาดโดยมูลนาย ในสมัยนั้นมีรูปแบบเศรษฐกิจการเกษตรเลี้ยงตนเอง ชาวบ้านหาของป่า จักสาน ทำน้ำตาล ทำเกลือ และทำงานฝีมือตามความชำนาญเฉพาะด้าน ผลผลิตนำมากินหรือใช้ในครัวเรือน ที่เหลือใช้แลก เปลี่ยนกัน แต่ถ้าหากยังเหลืออีกต้องส่งให้มูลนาย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"334\" src=\"http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/ayutaya/img0.jpg\" height=\"228\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">กรุงศรีอยุธยาราชธานีไทย ถึงเคยแตกแยกไปก็ไม่สิ้นคนดี........... <br />\nพระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงอยุธยา ทรงหลั่งทักษิณาใต้ต้นหมัน........... </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\nกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองโสน ซึ่งอยู่ตรงแผ่นดินที่มีแม่น้ำลพบุรี แม่น้ำเจ้าพระยา และแม่น้ำป่าสัก ล้อมรอบอยู่สามด้าน คือ ด้านทิศเหนือ ด้านทิศใต้ และด้านทิศตะวันตก ส่วนทางด้านทิศตะวันออกมีคูแยกจากแม่น้ำลพบุรี ตั้งแต่ตำบลหัวรอไปบรรจบแม่น้ำบางกะจะ ที่ป้อมเพชร เรียกว่า คูขื่อหน้า ทางด้านตะวันออกนี้มีร่องรอยของเมืองเก่า คือ เมืองอโยธยา ซึ่งปรากฏอยู่ในจารึกเก่าว่า อโยธยาศรีรามเทพนคร มีศิลปวัตถุต่าง ๆ อันเป็นแบบแผนของยุคอู่ทอง และทวาราวดี <br />\nพระเจ้าอู่ทอง ทรงสร้างพระนครขึ้นที่ตำบลหนองโสนดังกล่าว แล้วตั้งนามพระนครนี้ว่า กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลกบวรรัตนราชธานีบุรีรมย์  เมื่อปี พ.ศ. ๑๘๙๓ <br />\nคนทั่วไปเรียกตัวเมืองอยุธยาว่า เกาะเมือง มีรูปลักษณะคล้ายเรือสำเภา โดยมีหัวเรืออยู่ทางด้านทิศตะวันออก ชาวต่างประเทศในสมัยนั้น กล่าวถึงกรุงศรีอยุธยาว่าเป็น เวนิสตะวันออก เนื่องจากกรุงศรีอยุธยามีการขุดคูคลอง เชื่อมโยงสัมพันธ์กันกับแม่น้ำใหญ่รอบเมือง <br />\nชาวต่างชาติที่เข้ามาค้าขาย และผู้คนจากเมืองใกล้เคียง ยอมรับว่ากรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองท่าภายใน เพราะเส้นทางคมนาคมติดต่อกับ หัวเมืองต่าง ๆ ได้ทั้งทางบกและทางน้ำ ติดต่อกับต่างประเทศได้ทางทะเล เรือเดินทะเลแล่นจากปากแม่น้ำ เจ้าพระยาไปจอดได้ถึงหน้าเมือง\n</p>\n<p>\nสภาพความเป็นอยู่ของกรุงศรีอยุธยา สมัยพระเจ้าปราสาททอง ในมุมมองของพ่อค้าชาวยุโรป  <br />\n กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่บนเกาะเล็ก ๆ ล้อมรอบด้วยแม่น้ำ พื้นที่รอบนอกเป็นที่ราบแผ่ออกไปทั่วทุกทิศ กำแพงเมือง สร้างด้วยหิน วัดโดยรอบได้ ๒ ไมล์ฮอลันดา นับว่าเป็น นครหลวงที่กว้างขวางใหญ่โตมาก ภายในพระนคร มีวัดวาอาราม สร้างอยู่ติด ๆ กัน มีประชาชนพลเมือง อาศัยอยู่หนาแน่น ในตัวเมืองมีถนนสร้างตัดตรงและยาวมาก มีคลองที่ขุดเชื่อมต่อจากแม่น้ำเข้ามาในตัวเมือง ทำให้สดวกแก่การสัญจรไปมาได้อย่างทั่วถึง  <br />\nนอกจากถนนหลัก และคลองหลักแล้ว ยังมีตรอกซอย แยกจากถนนใหญ่ และคูเล็กแยกจากคลองใหญ่ ทำให้ในฤดูน้ำ บรรดาเรือพายทั้งหลาย สามารถไปได้ถึงหัวกะไดบ้าน  <br />\n บ้านที่อยู่อาศัยสร้างตามแบบอินเดีย แต่หลังคา มุงด้วยกระเบื้อง บรรดาโบสถ์ วิหาร ซึ่งมีจำนวนมากกว่า ๓๐๐ แห่ง ได้ก่อสร้างขึ้น อย่างวิจิตรพิศดาร บรรดาพระปรางค์ เจดีย์ และรูปปั้น รูปหล่อ ซึ่งมีอยู่มากมายใช้ทองฉาบเหลืองอร่าม นับว่าเป็นมหานครที่โอ่อ่า มีผังเมืองที่ วางไว้อย่างเป็นระเบียบ ตั้งอยู่ในทำเลทีเหมาะสม อยู่ในภูมิฐานที่ดีและมั่นคง ยากที่ข้าศึกจะโจมตีได้โดยง่ายเพราะในทุกปีจะมีน้ำท่วมถึง ๖ เดือน ทั่วพื้นที่นอกกำแพงเมือง ทำให้ข้าศึก ไม่สามารถตั้งทัพอยู่ได้\n</p>\n<p>\n  บรรดาถิ่นฐานที่อยู่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา และยังดำรงคงอยู่จนถึงปัจจุบัน ได้แก่ตลาดขวัญ ปากเกร็ด บ้านกระแซง สามโคก บางไทร บางปะอิน หัวรอและหัวแหลม เป็นต้น <br />\nสำหรับย่านชุมชนทั้งในและนอกพระนครมีหมู่บ้านของชาวต่างประเทศที่เข้ามาทำมาค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา ร้านค้า และตลาดของ ชาวต่างประเทศเท่าที่ปรากฏหลักฐานก็มี ร้านไทยมอญ ตลาดมอญพม่า ตลาดจัน พวกนี้อยู่ในพระนคร ที่อยู่นอกพระนครก็มี ตลาดบ้านญี่ปุ่น และหมู่บ้านแขก แถบคลองตะเคียน เป็นต้น <br />\nนอกจากนั้นยังมีพวกเลกที่เป็นข้าทูลละอองธุลีพระบาท ก็ได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้อยู่อาศัยรวมกันเป็นย่าน เพื่อทำการผลิตสิ่งของต่าง ๆ ตามที่มีพระราชประสงค์ เท่าที่มีหลักฐานมีอยู่ดังนี้ <br />\nย่านสัมพะนี ย่านนี้จะผลิตน้ำมันงา น้ำมันลูกกระเบา ทำฝาเรือนไม้ไผ่กรุ ทำมีดพร้า และหล่อครกเหล็ก เป็นสินค้าออกขาย <br />\nย่านเกาะทุ่งขวัญ แบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม คือ บ้านปั้นหม้อ บ้านทำกระเบื้อง บ้านศาลาปูน (เผาปูน) และบ้านเขาหลวงจีน ตั้งโรงต้มเหล้า เป็นสินค้าออกขาย <br />\nย่านเกาะทุ่งแก้ว แบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม มีอาชีพหล่อเต้าปูนทองเหลือง ปั้นตุ่มนางเลิ้ง เลื่อยไม้กระดาน ทำตะปูเหล็ก ทำแป้งหอมน้ำมันหอม ธูปกระแจะ ปั้นกระโถนตะคันช้างม้าตุ๊กตา และบ้านโรงฆ้องนำกล้วยมาบ่มเป็นสินค้าออกขาย\n</p>\n<p>\nพระพุทธศาสนา เป็นเครื่องหล่อหลอมวิถีชีวิตไทย  <br />\n วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นที่มาของขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมทุกแขนง เป็นศูนย์กลางของการศึกษา ที่ไม่มีพรมแดน พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ เป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก หลายพระองค์ได้ทรงผนวช ในพระศาสนา เป็นระยะเวลานาน ได้ทรงสร้าง ประเพณีทางพุทธศาสนาผสมกับศาสนาพราหมณ์ไว้มาก และได้ยึดถือปฏิบัติสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มีพระราชพิธีสงกรานต์ในเดือนห้า  <br />\nพระราชพิธีจรดพระนังคัล ในเดือนหก และพระราชพิธีจองเปรียง ตามพระประทีปในเดือนสิบสอง  เป็นต้น สำหรับประเพณี ที่เป็นของทางศาสนาพุทธแท้ ๆ ก็มีอยู่มาก เช่น ประเพณีการไปไหว้พระพุทธบาท ประเพณีเทศน์มหาชาติ พระเพณีสวดพระมาลัย เป็นต้น\n</p>\n<p>\nกรุงศรีอยุธยาได้พัฒนาในทุก ๆ ด้านมาโดยลำดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้ทรงจัดระบบการปกครอง ให้เป็นปึกแผ่น เข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นรากฐาน ให้พระมหากษัตริย์องค์ต่อ ๆ มาได้พัฒนาต่อไปตามลำดับ <br />\nมาถึงรัชสมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราชทรงปรับปรุงด้านการทหาร รวบรวมหัวเมืองอิสสระน้อยใหญ่มาอยู่ในอำนาจของ อาณาจักรอยุธยา ทำสงครามกับลานนายึดเมืองเชียงใหม่ได้ ในห้วงเวลาเดียวกันมอญ ได้ถูกพม่ารุกรานจนต้องตกอยู่ในอำนาจของพม่า ซึ่งกำลังทำสงคราม แผ่อาณาจักรอยู่ มีมอญส่วนหนึ่งจากเมืองเชียงกราน หนีพม่าเข้ามาพึ่งไทย  <br />\nพม่าจึงยกกองทัพเข้ายึดเมืองเชียงกรานไว้ได้ สมเด็จพระชัยราชาธิราช จึงทรงยกกองทัพไปตีเมืองเชียงกรานกลับคืนมาได้ เป็นการเปิดฉากการสงครามระหว่างไทยกับพม่านับแต่นั้นมา พม่ายกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาสมัยพระมหาจักรพรรดิ์ ได้มีการต่อสู้กันที่ทุ่งภูเขาทองจนสมเด็จพระศรีสุริโยทัย ต้องสิ้นพระชนม์บนคอช้าง <br />\n \n</p>\n<p>\nไทยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๑๑๒ แต่อีก ๑๕ ปีต่อมา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ทรงสามารถ กอบกู้เอกราชกลับมาได้ โดยทรงประกาศอิสสรภาพที่เมืองแครง เมื่อปี พ.ศ. ๒๑๒๗ พระองค์ได้ทรงทำสงคราม เพื่อความเป็นปึกแผ่นของแผ่นดินไทย ตลอดพระชนมายุของพระองค์ ทำให้อาณาจักรอยุธยาแผ่ไปอย่างกว้างขวาง เป็นหนึ่งในสุวรรณภูมิ <br />\n    การสงครามครั้งสำคัญคือสงครามยุทธหัตถี ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชา ที่ตำบลหนองสาหร่าย จังหวัดสุพรรณบุรี ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให้พม่า ไม่กล้ายกกองทัพมารุกรานไทย เป็นระยะเวลาเกือบ ๒๐๐ ปี ทางด้านตะวันออก พระองค์ก็ได้ทรงปราบปรามกัมพูชา ที่คอยถือโอกาสซ้ำเติมเมื่อคราวไทยอ่อนแอ หรือเวลามีศึกสงครามทางด้านอื่น  <br />\n ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่สองเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๐ เป็นการเสียกรุงอย่างย่อยยับที่สุด ในประวัติศาสตร์ชาติไทย เพราะพม่าได้เผาผลาญทำลายทุกสิ่งทุกอย่างโดยสิ้นเชิง บ้านเมือง วัดวาอาราม ปราสาทราชวัง ถูกทำลายลงสิ้น ผู้คนที่อพยพหนีพม่า เข้ามาอยู่ในเมืองประมาณหนึ่งแสนคนเศษ ถูกพม่าฆ่าตายมากกว่าครึ่ง ที่เหลือก็ถูกกวาดต้อน นำไปเมืองพม่าอย่างทารุณ ได้รับความยากแค้นแสนสาหัส ทรัพย์สินของมีค่าต่าง ๆ ถูกนำกลับไปพม่านับประมาณมิได้  <br />\nกรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาพบ้านแตกสาแหรกขาด หมดสภาพที่จะปฏิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ได้ ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวกรุงศรีอยุธยา ที่ว่างศึกสงครามมานานนับศตวรรษ ผู้คนมีความเป็นอยู่อย่างสนุกรื่นเริง ดังปรากฎในเพลงยาวรบพม่า พระราชนิพนธ์ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ซึ่งมีอยู่ว่า\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">&quot;</span><strong><span style=\"color: #ff0000\">ทั้งพิธีปีเดือนคืนวัน         สารพันจะมีอยู่อัตรา <br />\nฤดูใดได้เล่นเกษมสุข         แสนสนุกทั่วเมืองหรรษา&quot;</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ก็ถึงแก่กาลแตกดับอย่างไม่คาดผัน กลายเป็น </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">&quot;ไม่เห็นเช่นว่าจะเป็นถึงเพียงนี้                มายับเยินอัปรีย์ศรีศักดิ์คลาย <br />\n                                                               .......... มาวินาสสิ้นสุดสูญหาย <br />\n</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>  สารพัดย่อยยับกลับกลาย                            อันตรายไปทั่วพื้นปฐพี&quot;</strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                               อวสานของกรุงศรีอยุธยา</strong></span> <br />\n</span><span style=\"color: #333333\"> </span></p>\n<p>เมื่อมีเกิดก็มีดับ กรุงศรีอยุธยาดำรงความเป็นราชธานีไทย ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทองจนล่วงมาถึง สมัยพระเจ้าเอกทัศน์ เป็นระยะเวลา ๔๑๗ ปี นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๑๘๙๔ ถึง ปี พ.ศ.๒๓๑๐ ก็ถึงกาลล่มสลายอย่างย่อยยับด้วยความอ่อนแอ ของคนไทยเราเอง เพื่อให้เห็นภาพลักษณ์ดังกล่าว จึงขอยกเอาคำรำพึงของมหากวีเอกของไทยคือสุนทรภู่ ที่ได้บรรยายไว้ในนิราศพระบาทถึงสภาพของ กรุงศรีอยุธยาไว้บางตอนดังนี้<span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">........... ดูปราสาทราชวังเป็นรังกา               ดังป่าช้าพงชัฏสงัดคน <br />\n            อนิจจาธานินสิ้นกษัตริย์                   เหงาสงัดเงียบไปดังไพรสณฑ์ <br />\n            แม้กรุงยังพรั่งพร้อมประชาชน       จะสับสนแซ่เสียงทั้งเวียงวัง<br />\n.................................                          <img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/ayutaya/img0.jpg\" height=\"1\" /><br />\n...........  ดูพาราน่าคิดอนิจจัง                           ยังได้ฟังแต่เสียงสกุณา</span></strong></span>\n</p>\n<p>\nภายหลังที่กรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่ ๒ ถึงแม้ว่าผู้คนจะล้มตายมากมายและถูกกวาดต้อนไปพม่า ก็ยังมีพวกที่หนีตาย เข้าไปอยู่ในป่าอีกไม่น้อย ส่วนเชลยไทยที่ถูกพม่าต้อนไปพม่า ปัจจุบันยังตั้งบ้านเรือนอยู่ริมฝั่งคลองชะเวตาชอง หรือ คลองทองคำ ห่างจากเมืองมัณฑเลย์ ประมาณ ๑๓ กม. มีวัดระไห่เป็นศูนย์กลางหมู่บ้านและมีตลาดโยเดีย (เป็นคำที่ชาวพม่าเรียกคนอยุธยา) รวมทั้งมีการรำโยเดีย คล้ายท่าพรหมสี่หน้าแบบไทย ปรากฏอยู่เป็นหลักฐาน <br />\nส่วนพวกคนไทยที่หนีตายไปอยู่ป่าและได้กลับมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีนั้น จึงน่าจะเป็นหลักฐานว่าคนฝั่งธนบุรีส่วนใหญ่จะเป็นคนกรุงเก่านั่นเอง นอกจากกลุ่มคนไทยส่วนแรกนั้น ก็ยังมีบางส่วนกลับมาทำมาหากินอยู่ในชุมชนเดิมสมัยกรุงศรีอยุธยายังไม่เสียแก่พม่า โดยอาศัยอยู่ทั้งในตัวเกาะเมือง และนอกเกาะเมือง และได้แบ่งการปกครองออกเป็น ๔ แขวง คือ แขวงรอบกรุง แขวงนคร แขวงอุทัย และแขวงเสนา จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ ๕\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" align=\"top\" width=\"266\" src=\"http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/ayutaya/pic13.jpg\" height=\"160\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ศิลปวัตถุจากกรุงศรีอยุธยา</strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\nมีการพบกรุสมบัติในสมัยกรุงศรีอยุธยา นับเป็นหลักฐานยืนยันถึงความรุ่งเรืองมั่งคั่ง ของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา และจากการที่จับคนร้ายที่ลักลอบขุดกรุที่วัดราชบูรณะ รวมกับที่กรมศิลปากรได้ทำการขุดค้นต่อไปอีก หลังจากนั้นได้พบเครื่องทอง และสมบัติต่าง ๆ มากมาย <br />\n   ทรัพย์สมบัติที่ขุดพบในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ มีหลายประเภทส่วนใหญ่จะเป็น เครื่องราชูปโภคที่ทำเป็นชุดเชี่ยนหมาก ตัวถาดรูปยาวรีคล้ายใบพลู หูล้อมสุพรรณศรี จอกน้ำและลูกหมากทองคำ เครื่องตันหรือเครื่องทรง สำหรับพระมหากษัตริย์ เช่น กรองศอ สร้อยข้อมือ สร้อยคอ กำไล พาหุรัด ทองพระกรที่ล้วนแต่ทำเป็นลวดลายและฝังอัญมณีต่าง ๆ ที่วิจิตรงดงาม  รูปเคารพในทางศาสนา เช่น สถูปจำลองทำเป็นเจดีย์ทรงลังกา พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุ้มเรือนแก้ว ใต้ต้นศรีมหาโพธิ์ พระพุทธรูปทองคำดุน ปางมารวิชัย ในซุ้มเรือนแก้วและพระคชาธาร ทรงเครื่องพร้อมสัปคับ ประดับพลอยสี เป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nจากหลักฐานข้อมูลการค้นพบทั้งหมด สามารถจำแนกเครื่องทองที่ขุดได้จากกรุ พระปรางค์วัดราชบูรณะได้เป็น ๔ ส่วน <br />\nส่วนที่ 1   ทองจากที่คนร้ายขุดได้ จะเป็นทองคำหนักทั้งสิ้น ประมาณ ๗๕ กก. <br />\nส่วนที่ 2   เป็นเครื่องทองที่เป็นกองกลาง เนื่องจากเป็นวัตถุสิ่งของขนาดใหญ่ มีน้ำหนักไม่ตำกว่า ๑๐ กก. <br />\nส่วนที่ 3   เป็นเครื่องทองที่กรมศิลปากรขุดได้ภายหลังเป็นจำนวนทั้งสิ้น ๒,๑๒๑ ชิ้น ทั้งที่ทำด้วยทอง นาค เงิน รวมทั้งเพชรนิลจินดา มีน้ำหนักรวมทั้งสิ้นประมาณ ๑๙,000 กรัม พลอยหัวแก้วหัวแหวนและทับทิมหนัก ๑,๘๐๐ กรัม แก้วผลึกชนิดต่าง ๆ หนัก ๑,๐๕๐ กรัม และลูกปัดเงินกับทับทิมปนกันหนัก ๒๕๐ กรัม <br />\nส่วนที่ 4   เป็นเครื่องทองส่วนที่ตกสูญหาย ประมาณว่าไม่ต่ำกว่า ๑๐ กก. รวมทั้งเครื่องทองที่ยึดคืนมาได้ ที่ไม่ถึง ๑ ใน ๑๐ ส่วน <br />\n \n</p>\n<p>\nจากที่กล่าวมาแล้ว จะเห็นได้ว่า เครื่องทองที่บรรจุในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะแห่งเดียว นั้นมีทองคำหนักกว่า ๑๐๐ กก. นอกจากนั้นการที่กรุงศรีอยุธยามี พระปรางค์ เจดีย์ ศาสนวัตถุมากมาย ประกอบกับอดีตนั้นคนกรุงเก่ามีความเชื่อในเรื่อง การสืบอายุพระพุทธศาสนา โดยการทำบุญอุทิศส่วนกุศลด้วย ทอง เงิน นาค แก้วแหวนต่าง ๆ น่าจะทำให้กรุงศรีอยุธยา เป็นอาณาจักรที่ร่ำรวยอุดมสมบูรณ์ด้วยโภคทรัพย์ และปัจจัยที่ทำให้ผู้คนในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา มีความพรั่งพร้อมก็คือ\n</p>\n<p>\n<br />\nปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้ง  <br />\n เนื่องจากกรุงศรีอยุธยา เป็นที่รวมหรือชุมทางของ แม่น้ำลำคลองหลายสิบสาย เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง ทั้งที่เป็น ธรรมชาติและที่ขุดขึ้นใหม่ภายหลัง ทำให้กรุงศรีอยุธยา เป็นแหล่งชุมชนทางน้ำ ซึ่งพงศาวดารเหนือได้กล่าวไว้ว่า &quot;กรุงเทพมหานครบวรทวาราวดีศรีอยุธยา เป็นเมืองท่าสำเภา และเมืองท่าน้ำ&quot; ส่วนชาวเปอร์เซีย กล่าวว่า &quot;เป็นเมืองแห่งนาวา&quot; \n</p>\n<p>\n<br />\nปัจจัยด้านศิลปะวัฒนธรรม <br />\n \n</p>\n<p>\nเนื่องจากกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ท่ามกลางอาณาจักรเก่าแก่โบราณมากมาย เช่น ทวาราวดี ขอม และสุโขทัย เป็นต้น แม้ว่าบางแห่งจะล่มสลายไปแล้ว แต่แบบอย่างแนวทางในการศึกษาเรียนรู้ในมรดกทางศิลปะวัฒนธรรม ยังคงอยู่ เช่น สุโขทัยจะมีฝีมือเป็นเอกทางด้านงานประติมากรรม ส่วนกรุงศรีอยุธยาเองนั้นจะเป็นเอกในด้านงานประณีตศิลป์ เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<br />\nปัจจัยทางด้านการปกครองและการเมือง <br />\n              ตามจดหมายเหตุจีนกล่าวว่า &quot;กรุงศรีอยุธยาเกิดขึ้นเพราะเมืองใหญ่ ๒ เมือง รวมกันด้วยการสมรส คือ ดินแดนฟากตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (เสียนก๊ก หรือ สุพรรณภูมิ) กับ ดันแดนฟากตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (หลอหู หรือละโว้) โดยรวมกันเมื่อ พ.ศ.๑๘๙๒ จนกลายเป็นอาณาจักรใหญ่ที่เข้มแข็ง มีกำลังทัพใหญ่ และคนหลายเชื้อชาติด้วยปัจจัยนี้ กรุงศรีอยุธยาจึงมั่งคั่งด้วยสมบัติ เพราะทองคำ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีค่าสูงสุด และการถวายบรรณาการในการติดต่อ สร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ มักใช้ทองเป็นเครื่องประสาน การให้บำเหน็จรางวัล เครื่องประดับ เครื่องแต่งกาย หรือข้าวของที่ถวายเป็นพุทธบูชา ล้วนทำจากทองทั้งสิ้น <br />\nจะเห็นได้ว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น ทองคำจะนิยมมาใช้งานใน ๔ ประเภท ได้แก่ <br />\n๑. เครื่องราชูปโภค <br />\n \n</p>\n<p>\nเป็นเครื่องใช้สิ่งของต่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์ เครื่องต้น เครื่องทรงเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชกุธภัณฑ์ จารึกพระสุพรรณบัฎ เครื่องประดับสำหรับเกียรติยศหรือเครื่องราชูปโภค พระพิชัยสงคราม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อาทิ เช่น พระสังวาลย์นพรัตน์ สร้อยอ่อน และอื่น ๆ <br />\n๒. เครื่องประดับ <br />\n \n</p>\n<p>\nเครื่องประดับโดยทั่วไป ได้แก่ สร้อยคอ สร้อยข้อมือ กำไลแขน กำไลเท้า ตุ้มหู แหวน ปิ่นปักผม จี้ เข็มขัด ลูกปัด ลูกกระพรวน เข็มกลัด เป็นต้น และเนื่องจากกรุงศรีอยุธยา มีคนจีนแล่นเรือมาติดต่อค้าขายมากกว่าชาติอื่น บางอย่างจึงได้รับอิทธิพลจากจีนและมีตลาดค้าขายทอง เรียกว่าย่านป่าทอง ซึ่งเป็นแหล่งขายทองคำเปลว และเครื่องทองรูปพรรณ ตลอดจนเครื่องเงิน นาค และย่านนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า &quot;ตลาดถนนตีทอง&quot; และแก้วแหวนเงินทองที่พบจากซากโบราณสถาน เจดีย์วิหาร มีไม่น้อยที่เป็นของพลเมืองทั่วไปที่ถวายเป็นเครื่องอุทิศบูชาแด่พระศาสนาที่ตนศรัทธา <br />\n๓. รูปเคารพในทางศาสนา  <br />\n เนื่องจากความศรัทธาอันแรงกล้าของพลเมืองต่อพระศาสนา จึงได้นำทองคำมาสร้างงานประติมากรรม หรือรูปเคารพในทางศาสนาเป็นอันมาก เช่น พระพุทธรูป เทวรูป พระโพธิสัตว์ พระพิมพ์ พระพุทธบาทจำลอง สถูป เครื่องอลังการ เครื่องพลีกรรม ตั้งแต่สมัยทวาราวดี ลพบุรี สุโขทัย และอยุธยา \n</p>\n<p>\n๔. เครื่องสถาปัตยกรรมและศิลปะกรรม  <br />\n สมัยโบราณนิยมนำทองคำมาประกอบตกแต่งสิ่งต่าง ๆ ให้วิจิตรงดงาม โดยใช้เป็นทองคำเปลว และจากการตรวจสอบพบว่าทองคำเปลวนั้นรู้จักทำ และใช้กันแพร่หลายตั้งแต่สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖) ในจดหมายเหตุจีนกล่าวไว้ว่า &quot;บัลลังก์บ้าง มณฑปบ้าง ปราสาทราชวัง และคานหามบ้าง รวมทั้งเครื่องใช้อื่น ๆ ของกษัตริย์ในดินแดนเอเซียอาคเนย์ ล้วนทำด้วยทองคำ&quot; อาณาจักรทวาราวดี หรือศูนย์กลางของดินแดนที่ชาวอินเดียโบราณขนานนามว่า &quot;สุวรรณภูมิ&quot; (หมายถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมด) จะเป็นถิ่นที่มีทองคำหรือโภคทรัพย์อุดมสมบูรณ์มาก และกรุงศรีอยุธยา หรือ &quot;กรุงเทพมหานครบวรทวาราวดีศรีอยุธยา&quot; ซึ่งตั้งขึ้นภายหลัง น่าจะมีทองมาก เพราะทั้งชื่อกรุงและปฐมกษัตริย์ผู้สถาปนากรุง ล้วนเกี่ยวข้องกับทองทั้งสิ้น \n</p>\n<p>\nพื้นเพของคนอยุธยาอาจไม่ต่างจากคนพื้นเพในจังหวัดต่าง ๆ แถบลุ่มน้ำเจ้าพระยา เช่น อ่างทอง สุพรรณบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี เท่าใดนัก เนื่องจากชาวจังหวัดต่าง ๆ แถบนี้ล้วนมีวัฒนธรรมเกี่ยวกับสายน้ำและทุ่งกว้าง ที่ครอบคลุมหลายจังหวัด คือ ทุ่งมหาราช ที่ครอบคลุมหลายเขต เช่น ทุ่งบางปะหัน บ้านแพรก ดอนพุธ (สระบุรี) และมหาราช และจากการที่อยู่กันตามริมแม่น้ำ หรือทุ่งกว้าง ชาวบ้านนิยมปลูกบ้านเรือนเรียงกันเป็นแถวไปตามลำน้ำ โดยหันหน้าเรือนออกไปทางริมแม่น้ำลำคลอง และด้านหลังจะเป็นทุ่งนา บางท้องที่ชอบอาศัยอยู่ในเรือนแพ บริเวณที่ลำน้ำมาบรรจบกันหลายสาย มักจะมีบ้านเรือนหนาแน่น เพราะเป็นศูนย์เรือที่สัญจรไปมา และคนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ มักจะเป็นผู้มีอันจะกิน อีกทั้งมักเป็นคนเก่าแก่ในท้องถิ่น \n</p>\n<p>\nสำหรับในตัวอำเภอเมืองพระนครศรีอยุธยา ชุมชนเก่ามักอยู่ริมน้ำ โดยเฉพาะบริเวณที่น้ำมาบรรจบกัน เช่น ย่านหัวรอ (แม่น้ำเจ้าพระยามาบรรจบกับคลองหันตรา และฝั่งตรง ข้ามกับวัดพนัญเชิง (บางกระจะ) ที่เรียกว่าตำบลสำเภาล่ม (แม่น้ำเจ้าพระยาบรรจบกับแม่น้ำป่าสัก)\n</p>\n<p>\n<br />\nสำเนียงพูด <br />\n              ชาวอยุธยาจะมีสำเนียงพูดคล้ายคนในแถบจังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม อ่างทอง สิงห์บุรี โดยชาวอำเภอบางซ้าย ผักไห่ เสนา ลาดบัวหลวง ซึ่งอยู่ใกล้สุพรรณบุรี และนครปฐม จะพูดสำเนียงเหน่อกว่าชาวอำเภออื่น ทั้งคนอยุธยา สุพรรณบุรี นครปฐม คิดว่า เรื่องเขตแดนเป็นการกำหนดขึ้นเพื่อสะดวกในการปกครอง แต่ไม่แบ่งสายสัมพันธ์ ระหว่างกันและกัน จึงนับได้ว่าสำเนียงเช่นนี้เป็น สำเนียงไทยแท้แต่ดั้งเดิม อยุธยาซึ่งเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม เป็นราชธานี และมีความรุ่งเรืองกว่า ๔๐๐ ปี และใช้สำเนียงนี้ แต่ คนบางกอกยุคหลังน่าจะพูดผิดเพี้ยนเป็นสำเนียงไทยปนจีน ปนแขก หรือปนฝรั่ง อย่างเช่นปัจจุบันมากกว่า\n</p>\n<p>\n<br />\nกลุ่มคนในอยุธยา <br />\nกรุงศรีอยุธยาในอดีตเป็นราชธานี และเป็นเมืองท่านานาชาติที่สำคัญ นอกจากคนพื้นเมืองแล้ว ยังมีคนต่างชาติต่างภาษา เข้ามาอาศัยอยู่ไม่น้อย อาจพบว่าโบราณสถานบางแห่งที่ยังคงเหลืออยู่บ้าง แต่ศิลปวิทยาการบางอย่างที่คนต่างชาติได้ถ่ายทอดไว้มีอยู่มาก เช่น ขนมทองหยิบ ฝอยทอง ของชาวโปรตุเกส การต่อเรือกำปั่นของชาวเนเธอร์แลนด์ และกล้องดูดาวของชาวฝรั่งเศส คำพูดบางคำที่เรายืมมาจากแขกชาวมุสลิม เช่น กุหลาบ กั้นหยั่น และการสร้างรูปแบบสถาปัตยกรรมซุ้มโค้งแบบโดม กรอบประตู หน้าต่าง ของวัดวาอาราม ตลอดจนพระราชวัง เป็นต้น <br />\nเมื่อกรุงศรีอยุธยาสิ้นสภาพเป็นราชธานี ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อยุธยา ก็ยังมีคนไทยเชื้อสายต่างชาติอยู่หลายกลุ่ม เช่น มอญ ไทยมุสลิม ญวน ลาวเวียงจันทน์ และชาวจีน ซึ่งจะกล่าวถึงคนกลุ่มเหล่านี้ พอสังเขป <br />\nชาวมอญ <br />\nตั้งบ้านเรือนที่บ้านเสากระโดง อำเภอบางปะอิน มีวัดทองบ่อ เป็นศูนย์กลางหมู่บ้าน โดยอพยพมาตั้งหลักแหล่งในไทยครั้ง แรก เมื่อประมาณ ๓๐๐ กว่าปีมาแล้ว ในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ปี พ.ศ.๒๓๑๗ ได้อพยพเข้ามาอีกระลอกหนึ่ง ประมาณ ๔ พันกว่า คน และได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และอำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี จนกระทั้งในสมัยรัชกาลที่ ๓ ได้อพยพ เข้ามาอีกครั้ง ประมาณ หมื่นกว่าคน จึงโปรดเกล้าฯ ให้ไปอยู่ที่ จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี นครเขื่อนขันธ์ (พระประแดง) รวมทั้ง กระจายมาอยู่ที่อยุธยาด้วย <br />\nเดิมชาวมอญมีอาชีพค้าขายทางเรือ โดยไปรับซื้อใบจากที่ปากน้ำสมุทรปราการ และมาขายที่จังหวัดอยุธยาเลยไปจนถึง นครสวรรค์ แต่ปัจจุบัน ลูกหลานมอญจะได้รับการศึกษาสูง ทำงานราชการและเอกชนเป็นส่วนใหญ่ ส่วนที่ได้รับการศึกษาน้อย จะทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม แถวอำเภอบางปะอิน <br />\nชาวไทยมุสลิม <br />\n \n</p>\n', created = 1726864128, expire = 1726950528, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2e66a3f872421521d646462585bf51de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์ไทย

ประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา 

 สมัยอยุธยา

 

ได้รับวัฒนธรรมจากขอม ซึ่งถ่ายทอดวัฒนธรรมลัทธิพราหมณ์เกี่ยวกับแนวความคิดกษัตริย์แบบเทวราชาจากอินเดีย อีกทีหนึ่ง พระเจ้าแผ่นดินสมัยอยุธยาจึงเป็นสมมติเทพ เปรียบเหมือนเจ้าชีวิตของคนไทยทั้งหลาย การติดต่อระหว่าง กษัตริย์กับประชาชนต้องใช้ราชาศัพท์ นับว่าเป็นการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างแท้จริง ความรู้สึกดั้งเดิม ที่เคยนับถือพระเจ้าแผ่นดินเหมือนพ่อของลูกก็เริ่มหายไป กลายเป็นแบบนายปกครอง
บ่าวแทนส่วนวิธีปกครองบ้านเมืองก็ยังคงใช้วิธีการทหารแบบสุโขทัยสำหรับบริหารราชการส่วนภูมิภาค ส่วนการบริหารส่วน กลางได้แบ่งกิจการของประเทศออกเป็น 4 กระทรวง คือ เวียง วัง คลัง นา รวมเรียกว่า"จตุสดมภ์"
กษัตริย์เป็นเจ้าแผ่นดิน สามารถพระราชทานที่ดินให้ราษฎร์ทำกินและเพิกถอนกรรมสิทธิ์ได้ ประชาชนตอบแทนแว่น แคว้นด้วยการยอมให้เกณฑ์แรงงานเพื่อใช้ในราชการและงานเพื่อสาธารณประโยชน์ ในยามปกติสุข ขุนนาง ข้าราชการ และประชาชนมีสภาพเป็นพลเรือนเหมือนกันหมด แต่ในยามศึกสงครามชายฉกรรจ์ทุกคนต้องเป็น
ทหารราษฎรนับถือศาสนาพุทธ (นิกายหินยาน) และพราหมณ์ไปพร้อม ๆ กัน แต่ศาสนาฮินดูมักมีบทบาทสำคัญในราช สำนัก ซึ่งมีพราหมณ์เป็นผู้ทำหน้าที่นี้ รวมทั้งมีระบบความเชื่อเกี่ยวกับผีสางอยู่แล้ว และที่สำคัญที่สุด คือ แบ่งแยก ประเภทบุคคลในสังคมออกเป็นชั้นต่าง ๆดังนี้
1.ชนชั้นมูลนาย ได้แก่ พระมหากษัตริย์ พระาราชวงศ์ ขุนนาง และข้าราชการ
2.ชนชั้นพิเศษ ได้แก่ สมณะชีพราหมณ์ และชาวต่างประเทศที่เป็นพ่อค้าวานิช
3.ชนชั้นไพร่ฟ้าข้าทาส ได้แก่ สามัญชน ซึ่งอาจมีฐานะเป็น ไพร่ ข้า หรือ ทาส ซึ่งมีจำนวนมาก ประมาณร้อยละ 95 ของประชากรทั้งหมด
สังคมสมัยอยุธยานั้นเป็นสังคมแบบศักดินา ซึ่งได้สร้างวัฒนธรรมใหม่ขึ้นมาโดยเริ่มในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลก- นาถ พระองค์ได้ทรงออกกฎหมายการควบคุมกำลังคนของฝ่ายพลเรือน-ทหารขึ้น มีการกำหนดฐานะและหน้าที่ไว้อย่าง เด่นชัด เช่น ประชาชนทั่วไปมีศักดินา 25 ไร่ ถ้าผู้ใดมีนามากกว่า 400 ไร่ ถือว่าเป็นชนชั้นผู้ดี ต่ำกว่าถือว่าเป็นชนชั้นไพร่ ความรับผิดชอบหน้าที่ก็แตกต่างกัน โดยที่ชนชั้นไพร่อยู่ภายใต้การควบคุมของชนชั้นผู้ดี ชนชั้นไพร่ไม่มีสิทธิมองกษัตริย์ ชนชั้นผู้ดีมีสิทธิในการช่วยเหลือพระพระมหากษัตริย์ระดมพลยามศึกสงคราม นอกจากนั้นยังได้รับสิทธิพิเศษอื่น ๆ ในระบบฐานันดรไพร่หรือระบบศักดินาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น สะท้อนให้เห็นได้จากบรรทัดฐานของ สังคมสมัยนี้ คือ กฎหมายบังคับให้ราษฎรทุกคนต้องมีมูลนาย และพระเจ้าแผ่นดินมีสิทธิบังคับให้ข้าแผ่นดินรับราชการ โดยไม่มีค่าจ้างหรือเบี้ยเลี้ยง ถ้าไพร่กระทำผิดต่อพระเจ้าแผ่นดิน พ่อแม่ต้องรับโทษทัณฑ์ร่วมกับไพร่ที่เป็นลูก ปัจจัยที่ดิน และแรงงานถูกผูกขาดโดยมูลนาย ในสมัยนั้นมีรูปแบบเศรษฐกิจการเกษตรเลี้ยงตนเอง ชาวบ้านหาของป่า จักสาน ทำน้ำตาล ทำเกลือ และทำงานฝีมือตามความชำนาญเฉพาะด้าน ผลผลิตนำมากินหรือใช้ในครัวเรือน ที่เหลือใช้แลก เปลี่ยนกัน แต่ถ้าหากยังเหลืออีกต้องส่งให้มูลนาย

 

 

 

กรุงศรีอยุธยาราชธานีไทย ถึงเคยแตกแยกไปก็ไม่สิ้นคนดี...........
พระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงอยุธยา ทรงหลั่งทักษิณาใต้ต้นหมัน...........

กรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองโสน ซึ่งอยู่ตรงแผ่นดินที่มีแม่น้ำลพบุรี แม่น้ำเจ้าพระยา และแม่น้ำป่าสัก ล้อมรอบอยู่สามด้าน คือ ด้านทิศเหนือ ด้านทิศใต้ และด้านทิศตะวันตก ส่วนทางด้านทิศตะวันออกมีคูแยกจากแม่น้ำลพบุรี ตั้งแต่ตำบลหัวรอไปบรรจบแม่น้ำบางกะจะ ที่ป้อมเพชร เรียกว่า คูขื่อหน้า ทางด้านตะวันออกนี้มีร่องรอยของเมืองเก่า คือ เมืองอโยธยา ซึ่งปรากฏอยู่ในจารึกเก่าว่า อโยธยาศรีรามเทพนคร มีศิลปวัตถุต่าง ๆ อันเป็นแบบแผนของยุคอู่ทอง และทวาราวดี
พระเจ้าอู่ทอง ทรงสร้างพระนครขึ้นที่ตำบลหนองโสนดังกล่าว แล้วตั้งนามพระนครนี้ว่า กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลกบวรรัตนราชธานีบุรีรมย์  เมื่อปี พ.ศ. ๑๘๙๓
คนทั่วไปเรียกตัวเมืองอยุธยาว่า เกาะเมือง มีรูปลักษณะคล้ายเรือสำเภา โดยมีหัวเรืออยู่ทางด้านทิศตะวันออก ชาวต่างประเทศในสมัยนั้น กล่าวถึงกรุงศรีอยุธยาว่าเป็น เวนิสตะวันออก เนื่องจากกรุงศรีอยุธยามีการขุดคูคลอง เชื่อมโยงสัมพันธ์กันกับแม่น้ำใหญ่รอบเมือง
ชาวต่างชาติที่เข้ามาค้าขาย และผู้คนจากเมืองใกล้เคียง ยอมรับว่ากรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองท่าภายใน เพราะเส้นทางคมนาคมติดต่อกับ หัวเมืองต่าง ๆ ได้ทั้งทางบกและทางน้ำ ติดต่อกับต่างประเทศได้ทางทะเล เรือเดินทะเลแล่นจากปากแม่น้ำ เจ้าพระยาไปจอดได้ถึงหน้าเมือง

สภาพความเป็นอยู่ของกรุงศรีอยุธยา สมัยพระเจ้าปราสาททอง ในมุมมองของพ่อค้าชาวยุโรป 
 กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่บนเกาะเล็ก ๆ ล้อมรอบด้วยแม่น้ำ พื้นที่รอบนอกเป็นที่ราบแผ่ออกไปทั่วทุกทิศ กำแพงเมือง สร้างด้วยหิน วัดโดยรอบได้ ๒ ไมล์ฮอลันดา นับว่าเป็น นครหลวงที่กว้างขวางใหญ่โตมาก ภายในพระนคร มีวัดวาอาราม สร้างอยู่ติด ๆ กัน มีประชาชนพลเมือง อาศัยอยู่หนาแน่น ในตัวเมืองมีถนนสร้างตัดตรงและยาวมาก มีคลองที่ขุดเชื่อมต่อจากแม่น้ำเข้ามาในตัวเมือง ทำให้สดวกแก่การสัญจรไปมาได้อย่างทั่วถึง 
นอกจากถนนหลัก และคลองหลักแล้ว ยังมีตรอกซอย แยกจากถนนใหญ่ และคูเล็กแยกจากคลองใหญ่ ทำให้ในฤดูน้ำ บรรดาเรือพายทั้งหลาย สามารถไปได้ถึงหัวกะไดบ้าน 
 บ้านที่อยู่อาศัยสร้างตามแบบอินเดีย แต่หลังคา มุงด้วยกระเบื้อง บรรดาโบสถ์ วิหาร ซึ่งมีจำนวนมากกว่า ๓๐๐ แห่ง ได้ก่อสร้างขึ้น อย่างวิจิตรพิศดาร บรรดาพระปรางค์ เจดีย์ และรูปปั้น รูปหล่อ ซึ่งมีอยู่มากมายใช้ทองฉาบเหลืองอร่าม นับว่าเป็นมหานครที่โอ่อ่า มีผังเมืองที่ วางไว้อย่างเป็นระเบียบ ตั้งอยู่ในทำเลทีเหมาะสม อยู่ในภูมิฐานที่ดีและมั่นคง ยากที่ข้าศึกจะโจมตีได้โดยง่ายเพราะในทุกปีจะมีน้ำท่วมถึง ๖ เดือน ทั่วพื้นที่นอกกำแพงเมือง ทำให้ข้าศึก ไม่สามารถตั้งทัพอยู่ได้

  บรรดาถิ่นฐานที่อยู่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา และยังดำรงคงอยู่จนถึงปัจจุบัน ได้แก่ตลาดขวัญ ปากเกร็ด บ้านกระแซง สามโคก บางไทร บางปะอิน หัวรอและหัวแหลม เป็นต้น
สำหรับย่านชุมชนทั้งในและนอกพระนครมีหมู่บ้านของชาวต่างประเทศที่เข้ามาทำมาค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา ร้านค้า และตลาดของ ชาวต่างประเทศเท่าที่ปรากฏหลักฐานก็มี ร้านไทยมอญ ตลาดมอญพม่า ตลาดจัน พวกนี้อยู่ในพระนคร ที่อยู่นอกพระนครก็มี ตลาดบ้านญี่ปุ่น และหมู่บ้านแขก แถบคลองตะเคียน เป็นต้น
นอกจากนั้นยังมีพวกเลกที่เป็นข้าทูลละอองธุลีพระบาท ก็ได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้อยู่อาศัยรวมกันเป็นย่าน เพื่อทำการผลิตสิ่งของต่าง ๆ ตามที่มีพระราชประสงค์ เท่าที่มีหลักฐานมีอยู่ดังนี้
ย่านสัมพะนี ย่านนี้จะผลิตน้ำมันงา น้ำมันลูกกระเบา ทำฝาเรือนไม้ไผ่กรุ ทำมีดพร้า และหล่อครกเหล็ก เป็นสินค้าออกขาย
ย่านเกาะทุ่งขวัญ แบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม คือ บ้านปั้นหม้อ บ้านทำกระเบื้อง บ้านศาลาปูน (เผาปูน) และบ้านเขาหลวงจีน ตั้งโรงต้มเหล้า เป็นสินค้าออกขาย
ย่านเกาะทุ่งแก้ว แบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม มีอาชีพหล่อเต้าปูนทองเหลือง ปั้นตุ่มนางเลิ้ง เลื่อยไม้กระดาน ทำตะปูเหล็ก ทำแป้งหอมน้ำมันหอม ธูปกระแจะ ปั้นกระโถนตะคันช้างม้าตุ๊กตา และบ้านโรงฆ้องนำกล้วยมาบ่มเป็นสินค้าออกขาย

พระพุทธศาสนา เป็นเครื่องหล่อหลอมวิถีชีวิตไทย 
 วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นที่มาของขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมทุกแขนง เป็นศูนย์กลางของการศึกษา ที่ไม่มีพรมแดน พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ เป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก หลายพระองค์ได้ทรงผนวช ในพระศาสนา เป็นระยะเวลานาน ได้ทรงสร้าง ประเพณีทางพุทธศาสนาผสมกับศาสนาพราหมณ์ไว้มาก และได้ยึดถือปฏิบัติสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มีพระราชพิธีสงกรานต์ในเดือนห้า 
พระราชพิธีจรดพระนังคัล ในเดือนหก และพระราชพิธีจองเปรียง ตามพระประทีปในเดือนสิบสอง  เป็นต้น สำหรับประเพณี ที่เป็นของทางศาสนาพุทธแท้ ๆ ก็มีอยู่มาก เช่น ประเพณีการไปไหว้พระพุทธบาท ประเพณีเทศน์มหาชาติ พระเพณีสวดพระมาลัย เป็นต้น

กรุงศรีอยุธยาได้พัฒนาในทุก ๆ ด้านมาโดยลำดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้ทรงจัดระบบการปกครอง ให้เป็นปึกแผ่น เข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นรากฐาน ให้พระมหากษัตริย์องค์ต่อ ๆ มาได้พัฒนาต่อไปตามลำดับ
มาถึงรัชสมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราชทรงปรับปรุงด้านการทหาร รวบรวมหัวเมืองอิสสระน้อยใหญ่มาอยู่ในอำนาจของ อาณาจักรอยุธยา ทำสงครามกับลานนายึดเมืองเชียงใหม่ได้ ในห้วงเวลาเดียวกันมอญ ได้ถูกพม่ารุกรานจนต้องตกอยู่ในอำนาจของพม่า ซึ่งกำลังทำสงคราม แผ่อาณาจักรอยู่ มีมอญส่วนหนึ่งจากเมืองเชียงกราน หนีพม่าเข้ามาพึ่งไทย 
พม่าจึงยกกองทัพเข้ายึดเมืองเชียงกรานไว้ได้ สมเด็จพระชัยราชาธิราช จึงทรงยกกองทัพไปตีเมืองเชียงกรานกลับคืนมาได้ เป็นการเปิดฉากการสงครามระหว่างไทยกับพม่านับแต่นั้นมา พม่ายกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาสมัยพระมหาจักรพรรดิ์ ได้มีการต่อสู้กันที่ทุ่งภูเขาทองจนสมเด็จพระศรีสุริโยทัย ต้องสิ้นพระชนม์บนคอช้าง 
 

ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๑๑๒ แต่อีก ๑๕ ปีต่อมา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ทรงสามารถ กอบกู้เอกราชกลับมาได้ โดยทรงประกาศอิสสรภาพที่เมืองแครง เมื่อปี พ.ศ. ๒๑๒๗ พระองค์ได้ทรงทำสงคราม เพื่อความเป็นปึกแผ่นของแผ่นดินไทย ตลอดพระชนมายุของพระองค์ ทำให้อาณาจักรอยุธยาแผ่ไปอย่างกว้างขวาง เป็นหนึ่งในสุวรรณภูมิ 
    การสงครามครั้งสำคัญคือสงครามยุทธหัตถี ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชา ที่ตำบลหนองสาหร่าย จังหวัดสุพรรณบุรี ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให้พม่า ไม่กล้ายกกองทัพมารุกรานไทย เป็นระยะเวลาเกือบ ๒๐๐ ปี ทางด้านตะวันออก พระองค์ก็ได้ทรงปราบปรามกัมพูชา ที่คอยถือโอกาสซ้ำเติมเมื่อคราวไทยอ่อนแอ หรือเวลามีศึกสงครามทางด้านอื่น 
 ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่สองเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๐ เป็นการเสียกรุงอย่างย่อยยับที่สุด ในประวัติศาสตร์ชาติไทย เพราะพม่าได้เผาผลาญทำลายทุกสิ่งทุกอย่างโดยสิ้นเชิง บ้านเมือง วัดวาอาราม ปราสาทราชวัง ถูกทำลายลงสิ้น ผู้คนที่อพยพหนีพม่า เข้ามาอยู่ในเมืองประมาณหนึ่งแสนคนเศษ ถูกพม่าฆ่าตายมากกว่าครึ่ง ที่เหลือก็ถูกกวาดต้อน นำไปเมืองพม่าอย่างทารุณ ได้รับความยากแค้นแสนสาหัส ทรัพย์สินของมีค่าต่าง ๆ ถูกนำกลับไปพม่านับประมาณมิได้ 
กรุงศรีอยุธยาอยู่ในสภาพบ้านแตกสาแหรกขาด หมดสภาพที่จะปฏิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ได้ ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวกรุงศรีอยุธยา ที่ว่างศึกสงครามมานานนับศตวรรษ ผู้คนมีความเป็นอยู่อย่างสนุกรื่นเริง ดังปรากฎในเพลงยาวรบพม่า พระราชนิพนธ์ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ซึ่งมีอยู่ว่า


"ทั้งพิธีปีเดือนคืนวัน         สารพันจะมีอยู่อัตรา
ฤดูใดได้เล่นเกษมสุข         แสนสนุกทั่วเมืองหรรษา"


ก็ถึงแก่กาลแตกดับอย่างไม่คาดผัน กลายเป็น


"ไม่เห็นเช่นว่าจะเป็นถึงเพียงนี้                มายับเยินอัปรีย์ศรีศักดิ์คลาย 
                                                               .......... มาวินาสสิ้นสุดสูญหาย

  สารพัดย่อยยับกลับกลาย                            อันตรายไปทั่วพื้นปฐพี"

                               อวสานของกรุงศรีอยุธยา
 

เมื่อมีเกิดก็มีดับ กรุงศรีอยุธยาดำรงความเป็นราชธานีไทย ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทองจนล่วงมาถึง สมัยพระเจ้าเอกทัศน์ เป็นระยะเวลา ๔๑๗ ปี นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๑๘๙๔ ถึง ปี พ.ศ.๒๓๑๐ ก็ถึงกาลล่มสลายอย่างย่อยยับด้วยความอ่อนแอ ของคนไทยเราเอง เพื่อให้เห็นภาพลักษณ์ดังกล่าว จึงขอยกเอาคำรำพึงของมหากวีเอกของไทยคือสุนทรภู่ ที่ได้บรรยายไว้ในนิราศพระบาทถึงสภาพของ กรุงศรีอยุธยาไว้บางตอนดังนี้


........... ดูปราสาทราชวังเป็นรังกา               ดังป่าช้าพงชัฏสงัดคน
            อนิจจาธานินสิ้นกษัตริย์                   เหงาสงัดเงียบไปดังไพรสณฑ์
            แม้กรุงยังพรั่งพร้อมประชาชน       จะสับสนแซ่เสียงทั้งเวียงวัง
.................................                         
...........  ดูพาราน่าคิดอนิจจัง                           ยังได้ฟังแต่เสียงสกุณา

ภายหลังที่กรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่ ๒ ถึงแม้ว่าผู้คนจะล้มตายมากมายและถูกกวาดต้อนไปพม่า ก็ยังมีพวกที่หนีตาย เข้าไปอยู่ในป่าอีกไม่น้อย ส่วนเชลยไทยที่ถูกพม่าต้อนไปพม่า ปัจจุบันยังตั้งบ้านเรือนอยู่ริมฝั่งคลองชะเวตาชอง หรือ คลองทองคำ ห่างจากเมืองมัณฑเลย์ ประมาณ ๑๓ กม. มีวัดระไห่เป็นศูนย์กลางหมู่บ้านและมีตลาดโยเดีย (เป็นคำที่ชาวพม่าเรียกคนอยุธยา) รวมทั้งมีการรำโยเดีย คล้ายท่าพรหมสี่หน้าแบบไทย ปรากฏอยู่เป็นหลักฐาน
ส่วนพวกคนไทยที่หนีตายไปอยู่ป่าและได้กลับมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีนั้น จึงน่าจะเป็นหลักฐานว่าคนฝั่งธนบุรีส่วนใหญ่จะเป็นคนกรุงเก่านั่นเอง นอกจากกลุ่มคนไทยส่วนแรกนั้น ก็ยังมีบางส่วนกลับมาทำมาหากินอยู่ในชุมชนเดิมสมัยกรุงศรีอยุธยายังไม่เสียแก่พม่า โดยอาศัยอยู่ทั้งในตัวเกาะเมือง และนอกเกาะเมือง และได้แบ่งการปกครองออกเป็น ๔ แขวง คือ แขวงรอบกรุง แขวงนคร แขวงอุทัย และแขวงเสนา จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ ๕

 


ศิลปวัตถุจากกรุงศรีอยุธยา


มีการพบกรุสมบัติในสมัยกรุงศรีอยุธยา นับเป็นหลักฐานยืนยันถึงความรุ่งเรืองมั่งคั่ง ของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา และจากการที่จับคนร้ายที่ลักลอบขุดกรุที่วัดราชบูรณะ รวมกับที่กรมศิลปากรได้ทำการขุดค้นต่อไปอีก หลังจากนั้นได้พบเครื่องทอง และสมบัติต่าง ๆ มากมาย 
   ทรัพย์สมบัติที่ขุดพบในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ มีหลายประเภทส่วนใหญ่จะเป็น เครื่องราชูปโภคที่ทำเป็นชุดเชี่ยนหมาก ตัวถาดรูปยาวรีคล้ายใบพลู หูล้อมสุพรรณศรี จอกน้ำและลูกหมากทองคำ เครื่องตันหรือเครื่องทรง สำหรับพระมหากษัตริย์ เช่น กรองศอ สร้อยข้อมือ สร้อยคอ กำไล พาหุรัด ทองพระกรที่ล้วนแต่ทำเป็นลวดลายและฝังอัญมณีต่าง ๆ ที่วิจิตรงดงาม  รูปเคารพในทางศาสนา เช่น สถูปจำลองทำเป็นเจดีย์ทรงลังกา พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุ้มเรือนแก้ว ใต้ต้นศรีมหาโพธิ์ พระพุทธรูปทองคำดุน ปางมารวิชัย ในซุ้มเรือนแก้วและพระคชาธาร ทรงเครื่องพร้อมสัปคับ ประดับพลอยสี เป็นต้น

 


จากหลักฐานข้อมูลการค้นพบทั้งหมด สามารถจำแนกเครื่องทองที่ขุดได้จากกรุ พระปรางค์วัดราชบูรณะได้เป็น ๔ ส่วน
ส่วนที่ 1   ทองจากที่คนร้ายขุดได้ จะเป็นทองคำหนักทั้งสิ้น ประมาณ ๗๕ กก.
ส่วนที่ 2   เป็นเครื่องทองที่เป็นกองกลาง เนื่องจากเป็นวัตถุสิ่งของขนาดใหญ่ มีน้ำหนักไม่ตำกว่า ๑๐ กก.
ส่วนที่ 3   เป็นเครื่องทองที่กรมศิลปากรขุดได้ภายหลังเป็นจำนวนทั้งสิ้น ๒,๑๒๑ ชิ้น ทั้งที่ทำด้วยทอง นาค เงิน รวมทั้งเพชรนิลจินดา มีน้ำหนักรวมทั้งสิ้นประมาณ ๑๙,000 กรัม พลอยหัวแก้วหัวแหวนและทับทิมหนัก ๑,๘๐๐ กรัม แก้วผลึกชนิดต่าง ๆ หนัก ๑,๐๕๐ กรัม และลูกปัดเงินกับทับทิมปนกันหนัก ๒๕๐ กรัม
ส่วนที่ 4   เป็นเครื่องทองส่วนที่ตกสูญหาย ประมาณว่าไม่ต่ำกว่า ๑๐ กก. รวมทั้งเครื่องทองที่ยึดคืนมาได้ ที่ไม่ถึง ๑ ใน ๑๐ ส่วน
 

จากที่กล่าวมาแล้ว จะเห็นได้ว่า เครื่องทองที่บรรจุในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะแห่งเดียว นั้นมีทองคำหนักกว่า ๑๐๐ กก. นอกจากนั้นการที่กรุงศรีอยุธยามี พระปรางค์ เจดีย์ ศาสนวัตถุมากมาย ประกอบกับอดีตนั้นคนกรุงเก่ามีความเชื่อในเรื่อง การสืบอายุพระพุทธศาสนา โดยการทำบุญอุทิศส่วนกุศลด้วย ทอง เงิน นาค แก้วแหวนต่าง ๆ น่าจะทำให้กรุงศรีอยุธยา เป็นอาณาจักรที่ร่ำรวยอุดมสมบูรณ์ด้วยโภคทรัพย์ และปัจจัยที่ทำให้ผู้คนในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา มีความพรั่งพร้อมก็คือ


ปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้ง 
 เนื่องจากกรุงศรีอยุธยา เป็นที่รวมหรือชุมทางของ แม่น้ำลำคลองหลายสิบสาย เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง ทั้งที่เป็น ธรรมชาติและที่ขุดขึ้นใหม่ภายหลัง ทำให้กรุงศรีอยุธยา เป็นแหล่งชุมชนทางน้ำ ซึ่งพงศาวดารเหนือได้กล่าวไว้ว่า "กรุงเทพมหานครบวรทวาราวดีศรีอยุธยา เป็นเมืองท่าสำเภา และเมืองท่าน้ำ" ส่วนชาวเปอร์เซีย กล่าวว่า "เป็นเมืองแห่งนาวา" 


ปัจจัยด้านศิลปะวัฒนธรรม
 

เนื่องจากกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ท่ามกลางอาณาจักรเก่าแก่โบราณมากมาย เช่น ทวาราวดี ขอม และสุโขทัย เป็นต้น แม้ว่าบางแห่งจะล่มสลายไปแล้ว แต่แบบอย่างแนวทางในการศึกษาเรียนรู้ในมรดกทางศิลปะวัฒนธรรม ยังคงอยู่ เช่น สุโขทัยจะมีฝีมือเป็นเอกทางด้านงานประติมากรรม ส่วนกรุงศรีอยุธยาเองนั้นจะเป็นเอกในด้านงานประณีตศิลป์ เป็นต้น


ปัจจัยทางด้านการปกครองและการเมือง
              ตามจดหมายเหตุจีนกล่าวว่า "กรุงศรีอยุธยาเกิดขึ้นเพราะเมืองใหญ่ ๒ เมือง รวมกันด้วยการสมรส คือ ดินแดนฟากตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (เสียนก๊ก หรือ สุพรรณภูมิ) กับ ดันแดนฟากตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (หลอหู หรือละโว้) โดยรวมกันเมื่อ พ.ศ.๑๘๙๒ จนกลายเป็นอาณาจักรใหญ่ที่เข้มแข็ง มีกำลังทัพใหญ่ และคนหลายเชื้อชาติด้วยปัจจัยนี้ กรุงศรีอยุธยาจึงมั่งคั่งด้วยสมบัติ เพราะทองคำ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีค่าสูงสุด และการถวายบรรณาการในการติดต่อ สร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ มักใช้ทองเป็นเครื่องประสาน การให้บำเหน็จรางวัล เครื่องประดับ เครื่องแต่งกาย หรือข้าวของที่ถวายเป็นพุทธบูชา ล้วนทำจากทองทั้งสิ้น
จะเห็นได้ว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น ทองคำจะนิยมมาใช้งานใน ๔ ประเภท ได้แก่
๑. เครื่องราชูปโภค
 

เป็นเครื่องใช้สิ่งของต่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์ เครื่องต้น เครื่องทรงเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชกุธภัณฑ์ จารึกพระสุพรรณบัฎ เครื่องประดับสำหรับเกียรติยศหรือเครื่องราชูปโภค พระพิชัยสงคราม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อาทิ เช่น พระสังวาลย์นพรัตน์ สร้อยอ่อน และอื่น ๆ
๒. เครื่องประดับ
 

เครื่องประดับโดยทั่วไป ได้แก่ สร้อยคอ สร้อยข้อมือ กำไลแขน กำไลเท้า ตุ้มหู แหวน ปิ่นปักผม จี้ เข็มขัด ลูกปัด ลูกกระพรวน เข็มกลัด เป็นต้น และเนื่องจากกรุงศรีอยุธยา มีคนจีนแล่นเรือมาติดต่อค้าขายมากกว่าชาติอื่น บางอย่างจึงได้รับอิทธิพลจากจีนและมีตลาดค้าขายทอง เรียกว่าย่านป่าทอง ซึ่งเป็นแหล่งขายทองคำเปลว และเครื่องทองรูปพรรณ ตลอดจนเครื่องเงิน นาค และย่านนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ตลาดถนนตีทอง" และแก้วแหวนเงินทองที่พบจากซากโบราณสถาน เจดีย์วิหาร มีไม่น้อยที่เป็นของพลเมืองทั่วไปที่ถวายเป็นเครื่องอุทิศบูชาแด่พระศาสนาที่ตนศรัทธา
๓. รูปเคารพในทางศาสนา 
 เนื่องจากความศรัทธาอันแรงกล้าของพลเมืองต่อพระศาสนา จึงได้นำทองคำมาสร้างงานประติมากรรม หรือรูปเคารพในทางศาสนาเป็นอันมาก เช่น พระพุทธรูป เทวรูป พระโพธิสัตว์ พระพิมพ์ พระพุทธบาทจำลอง สถูป เครื่องอลังการ เครื่องพลีกรรม ตั้งแต่สมัยทวาราวดี ลพบุรี สุโขทัย และอยุธยา 

๔. เครื่องสถาปัตยกรรมและศิลปะกรรม 
 สมัยโบราณนิยมนำทองคำมาประกอบตกแต่งสิ่งต่าง ๆ ให้วิจิตรงดงาม โดยใช้เป็นทองคำเปลว และจากการตรวจสอบพบว่าทองคำเปลวนั้นรู้จักทำ และใช้กันแพร่หลายตั้งแต่สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖) ในจดหมายเหตุจีนกล่าวไว้ว่า "บัลลังก์บ้าง มณฑปบ้าง ปราสาทราชวัง และคานหามบ้าง รวมทั้งเครื่องใช้อื่น ๆ ของกษัตริย์ในดินแดนเอเซียอาคเนย์ ล้วนทำด้วยทองคำ" อาณาจักรทวาราวดี หรือศูนย์กลางของดินแดนที่ชาวอินเดียโบราณขนานนามว่า "สุวรรณภูมิ" (หมายถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมด) จะเป็นถิ่นที่มีทองคำหรือโภคทรัพย์อุดมสมบูรณ์มาก และกรุงศรีอยุธยา หรือ "กรุงเทพมหานครบวรทวาราวดีศรีอยุธยา" ซึ่งตั้งขึ้นภายหลัง น่าจะมีทองมาก เพราะทั้งชื่อกรุงและปฐมกษัตริย์ผู้สถาปนากรุง ล้วนเกี่ยวข้องกับทองทั้งสิ้น 

พื้นเพของคนอยุธยาอาจไม่ต่างจากคนพื้นเพในจังหวัดต่าง ๆ แถบลุ่มน้ำเจ้าพระยา เช่น อ่างทอง สุพรรณบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี เท่าใดนัก เนื่องจากชาวจังหวัดต่าง ๆ แถบนี้ล้วนมีวัฒนธรรมเกี่ยวกับสายน้ำและทุ่งกว้าง ที่ครอบคลุมหลายจังหวัด คือ ทุ่งมหาราช ที่ครอบคลุมหลายเขต เช่น ทุ่งบางปะหัน บ้านแพรก ดอนพุธ (สระบุรี) และมหาราช และจากการที่อยู่กันตามริมแม่น้ำ หรือทุ่งกว้าง ชาวบ้านนิยมปลูกบ้านเรือนเรียงกันเป็นแถวไปตามลำน้ำ โดยหันหน้าเรือนออกไปทางริมแม่น้ำลำคลอง และด้านหลังจะเป็นทุ่งนา บางท้องที่ชอบอาศัยอยู่ในเรือนแพ บริเวณที่ลำน้ำมาบรรจบกันหลายสาย มักจะมีบ้านเรือนหนาแน่น เพราะเป็นศูนย์เรือที่สัญจรไปมา และคนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ มักจะเป็นผู้มีอันจะกิน อีกทั้งมักเป็นคนเก่าแก่ในท้องถิ่น 

สำหรับในตัวอำเภอเมืองพระนครศรีอยุธยา ชุมชนเก่ามักอยู่ริมน้ำ โดยเฉพาะบริเวณที่น้ำมาบรรจบกัน เช่น ย่านหัวรอ (แม่น้ำเจ้าพระยามาบรรจบกับคลองหันตรา และฝั่งตรง ข้ามกับวัดพนัญเชิง (บางกระจะ) ที่เรียกว่าตำบลสำเภาล่ม (แม่น้ำเจ้าพระยาบรรจบกับแม่น้ำป่าสัก)


สำเนียงพูด
              ชาวอยุธยาจะมีสำเนียงพูดคล้ายคนในแถบจังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม อ่างทอง สิงห์บุรี โดยชาวอำเภอบางซ้าย ผักไห่ เสนา ลาดบัวหลวง ซึ่งอยู่ใกล้สุพรรณบุรี และนครปฐม จะพูดสำเนียงเหน่อกว่าชาวอำเภออื่น ทั้งคนอยุธยา สุพรรณบุรี นครปฐม คิดว่า เรื่องเขตแดนเป็นการกำหนดขึ้นเพื่อสะดวกในการปกครอง แต่ไม่แบ่งสายสัมพันธ์ ระหว่างกันและกัน จึงนับได้ว่าสำเนียงเช่นนี้เป็น สำเนียงไทยแท้แต่ดั้งเดิม อยุธยาซึ่งเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม เป็นราชธานี และมีความรุ่งเรืองกว่า ๔๐๐ ปี และใช้สำเนียงนี้ แต่ คนบางกอกยุคหลังน่าจะพูดผิดเพี้ยนเป็นสำเนียงไทยปนจีน ปนแขก หรือปนฝรั่ง อย่างเช่นปัจจุบันมากกว่า


กลุ่มคนในอยุธยา
กรุงศรีอยุธยาในอดีตเป็นราชธานี และเป็นเมืองท่านานาชาติที่สำคัญ นอกจากคนพื้นเมืองแล้ว ยังมีคนต่างชาติต่างภาษา เข้ามาอาศัยอยู่ไม่น้อย อาจพบว่าโบราณสถานบางแห่งที่ยังคงเหลืออยู่บ้าง แต่ศิลปวิทยาการบางอย่างที่คนต่างชาติได้ถ่ายทอดไว้มีอยู่มาก เช่น ขนมทองหยิบ ฝอยทอง ของชาวโปรตุเกส การต่อเรือกำปั่นของชาวเนเธอร์แลนด์ และกล้องดูดาวของชาวฝรั่งเศส คำพูดบางคำที่เรายืมมาจากแขกชาวมุสลิม เช่น กุหลาบ กั้นหยั่น และการสร้างรูปแบบสถาปัตยกรรมซุ้มโค้งแบบโดม กรอบประตู หน้าต่าง ของวัดวาอาราม ตลอดจนพระราชวัง เป็นต้น
เมื่อกรุงศรีอยุธยาสิ้นสภาพเป็นราชธานี ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อยุธยา ก็ยังมีคนไทยเชื้อสายต่างชาติอยู่หลายกลุ่ม เช่น มอญ ไทยมุสลิม ญวน ลาวเวียงจันทน์ และชาวจีน ซึ่งจะกล่าวถึงคนกลุ่มเหล่านี้ พอสังเขป
ชาวมอญ
ตั้งบ้านเรือนที่บ้านเสากระโดง อำเภอบางปะอิน มีวัดทองบ่อ เป็นศูนย์กลางหมู่บ้าน โดยอพยพมาตั้งหลักแหล่งในไทยครั้ง แรก เมื่อประมาณ ๓๐๐ กว่าปีมาแล้ว ในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ปี พ.ศ.๒๓๑๗ ได้อพยพเข้ามาอีกระลอกหนึ่ง ประมาณ ๔ พันกว่า คน และได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และอำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี จนกระทั้งในสมัยรัชกาลที่ ๓ ได้อพยพ เข้ามาอีกครั้ง ประมาณ หมื่นกว่าคน จึงโปรดเกล้าฯ ให้ไปอยู่ที่ จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี นครเขื่อนขันธ์ (พระประแดง) รวมทั้ง กระจายมาอยู่ที่อยุธยาด้วย
เดิมชาวมอญมีอาชีพค้าขายทางเรือ โดยไปรับซื้อใบจากที่ปากน้ำสมุทรปราการ และมาขายที่จังหวัดอยุธยาเลยไปจนถึง นครสวรรค์ แต่ปัจจุบัน ลูกหลานมอญจะได้รับการศึกษาสูง ทำงานราชการและเอกชนเป็นส่วนใหญ่ ส่วนที่ได้รับการศึกษาน้อย จะทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม แถวอำเภอบางปะอิน
ชาวไทยมุสลิม
 

สร้างโดย: 
panawan

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 430 คน กำลังออนไลน์