• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:30ef31f61888ab0af2e95f332b0bfeab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2 style=\"text-align: center;\"><strong>วิศวลาดกระบัง คว้าแชมป์</strong><strong>&nbsp;ECO CHALLENGE2014-15&nbsp;</strong><strong><br /></strong><strong>รถต้นแบบ พลังงานไฟฟ้า</strong></h2>\n<p class=\"separator\" style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u89232/1.%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A1%20InnoGen%20Small.jpg\" alt=\"\" width=\"448\" height=\"336\" /></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;กระแสยานยนต์เพื่อโลกสะอาดและประหยัดพลังงานกำลังได้รับความสนใจ ทีมคนรุ่นใหม่&nbsp;<strong>INNOGEN KMITL V2&nbsp;</strong>จาก<strong>คณะวิศวลาดกระบัง สจล.</strong>&nbsp;คว้า<strong>แชมป์ชนะเลิศ</strong>&nbsp;<strong>ประเภทรถต้นแบบ</strong>&nbsp;(Prototype)&nbsp;<strong>พลังงานไฟฟ้า</strong>&nbsp;ในการประกวด&nbsp;<strong>ECO CHALLENGE 2014-15</strong>&nbsp;หนึ่งในเวทีท้าท้ายคนรุ่นใหม่ของการออกแบบ สร้างและพัฒนายานยนต์ประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม&nbsp;&nbsp;&nbsp;จัดโดย<strong>&nbsp;วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์(วสท.)</strong>&nbsp;ร่วมกับ<strong>สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย</strong>&nbsp;ณ. สนามทดสอบไทยบริดจสโตน ถ.พหลโยธิน จ.สระบุรี เมื่อ เร็วๆนี้ นอกจากทำลายสถิติปีที่แล้ว ยังทำสถิติสูงกว่าแชมป์เอเซียปีที่แล้วที่จัดในประเทศฟิลิปปินส์อีกด้วย</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>ทีม<strong>&nbsp;INNOGEN KMITL V2&nbsp;</strong>แชมป์หนุ่มสาวไทยคนเก่งจากคณะวิศวลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ประกอบด้วย<strong>&nbsp;</strong>สมาชิก 6 คน คือ&nbsp;<strong>นายฐานันต์ ศักดิ์พูนทรัพย์,&nbsp;</strong><strong>นางสาวแซนนี่</strong><strong>&nbsp;&nbsp;ชัว</strong><strong>,</strong><strong>นายณัฐวุฒิ</strong><strong>&nbsp;&nbsp;จักษุจันทร์,นายดรุณ&nbsp;&nbsp;แนบนุช</strong><strong>,</strong><strong>&nbsp;นายจารุเดช</strong><strong>&nbsp;&nbsp;วรสีห์&nbsp;</strong>และ<strong>นาย ธนภัทร สิตะยัง</strong><strong>&nbsp;</strong>โดยมี&nbsp;<strong>รศ.ดร.วีระเชษฐ์ ขันเงิน&nbsp;</strong>เป็นที่ปรึกษา</p>\n<p class=\"separator\" style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"/files/u89232/3.%20%282%29%20Small.jpg\" alt=\"\" width=\"447\" height=\"306\" /></p>\n<p><strong>นายฐานันต์ ศักดิ์พูนทรัพย์&nbsp;</strong>หัวหน้าทีม<strong>&nbsp;INNOGEN KMITL V2&nbsp;</strong>กล่าวว่า เราออกแบบ<strong>รถ</strong><strong>&nbsp;INNOGEN KMITL V2&nbsp;</strong>โดยได้แรงบันดาลใจจาก<strong>&nbsp;ปลาวาฬ</strong>&nbsp;ที่มีรูปทรงโค้งมน ไร้เหลี่ยม คล้ายปีกเครื่องบิน ลดแรงเสียดทาน (&nbsp;Friction&nbsp;) ตามหลักพลศาสตร์การไหลของอากาศโดยมีค่าสัมประสิทธิ์แรงต้านอากาศต่ำ และเคลื่อนที่อย่างมีประสิทธิภาพ ในการออกแบบรถยนต์ไฟฟ้า<strong>&nbsp;Inno-Gen KMITL V2&nbsp;</strong>แบ่งทีมเป็น 2 ส่วนคือ 1.<strong>ส่วนแมคคานิคส์ ( เครื่องกล )</strong>&nbsp;โครงสร้าง&nbsp;&nbsp;ระบบเลี้ยว และระบบส่งสัญญาณต่างๆ 2.&nbsp;<strong>ส่วนไฟฟ้า</strong>&nbsp;ดูแลเรื่องแหล่งพลังงาน, Shoot Drive, เดินสายไฟในระบบ (&nbsp;Wiring&nbsp;) และระบบแผงแสดงสัญญาณ (&nbsp;Console&nbsp;)&nbsp;&nbsp;<strong>ขั้นตอนในการออกแบบและผลิต</strong>&nbsp;เป็นแบบ&nbsp;<strong>Inside out</strong>&nbsp;&nbsp;คือ เริ่มจากการออกแบบระบบต่างๆตามเป้าหมายของยานยนต์นี้ ที่ต้องการเป็นยานยนต์ที่ใช้พลังงานสะอาด และประหยัดพลังงาน ได้แก่ ระบบแหล่งจ่ายพลังงาน ระบบความปลอดภัย โดยเริ่มจากการออกแบบระบบต่างๆในโปรแกรม&nbsp;<strong>CAD (Computer Aided Design)</strong>&nbsp;คือการนําคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสร้างชิ้นส่วน (Part)&nbsp;ด้วยแบบจําลองทางเรขาคณิตวิศวกรออกแบบใช้&nbsp;CAD software&nbsp;ในการสร้างชิ้นส่วน หรือเรียกว่าแบบจําลอง&nbsp;<strong>(</strong><strong>Model /</strong>&nbsp;<strong>CAM&nbsp;( Computer Aided Manufacturing )</strong>&nbsp;คือ การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสร้างรหัสจี (G-code)&nbsp;เพื่อควบคุมในการกัดขึ้นรูปชิ้นส่วนโดยใช้ข้อมูลทางรูปร่างจาก&nbsp;CAD&nbsp;และทำการทดสอบระบบต่างๆที่ต้องการใช้งานให้สมบรูณ์พร้อมใช้งานจริงผ่านโปรแกรมที่ออกแบบโครงสร้างจำลอง 3 มิติ และใช้&nbsp;<strong>CAE ( Computer Aided Engineering )&nbsp;</strong>เป็นคอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม สําหรับการทํานายพฤติกรรมของชิ้นส่วน&nbsp;&nbsp;เช่น ชิ้นส่วนที่สร้างขึ้นมาจะประกอบกันได้หรือไม่&nbsp;&nbsp;ชิ้นส่วนที่สภาวะอุณหภูมิแวดล้อมที่เปลี่ยนไปจะทําให้รูปร่าางของชิ้นส่วนบิดเบี้ยว หรือสมบัติทางกลเปลี่ยนแปลงอย่างไร&nbsp;&nbsp;แล้วจึงมาออกแบบโครงสร้างภายนอกหรือตัวถังรถ เมื่อออกแบบแล้วจึงทำการทดสอบโดยการจำลองเหตุการณ์ (&nbsp;Simulation&nbsp;)&nbsp;&nbsp;แล้วจึงทำแม่พิมพ์&nbsp;(Mold)&nbsp;นำโฟมมาต่อเป็นก้อนใหญ่ และขัดให้ได้ตามรูปทรงตามที่กำหนดไว้</p>\n<p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;นายณัฐวุฒิ</strong><strong>&nbsp;&nbsp;จักษุจันทร์&nbsp;</strong>กล่าวว่า<strong>&nbsp;</strong><strong>โครงสร้างของตัวรถ</strong>&nbsp;<strong>INNOGEN KMITL V2&nbsp;</strong>ใช้&nbsp;Carbon reinforced polymer&nbsp;เพราะเป็นวัสดุผสมที่เสริมแรงด้วยเส้นใย (Fibrous)&nbsp;คือ การนำเส้นใยมาเป็นส่วนเสริมแรงทำให้วัสดุผสมที่ได้มีความเหนียวสูง&nbsp;ทำให้มีความแข็งแรงสูงมากกว่าเหล็ก สามารถรับแรงดึงดูดได้สูงถึง 10 -15 เท่าของเหล็กกล้า แต่มีน้ำหนักเบาเพียง 45 กิโลกรัม แต่แข็งแรงรับน้ำหนักได้มาก ซึ่งวัสดุประเภทนี้ส่วนใหญ่ใช้ผลิตส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่องบิน เช่น ปีก และยังทนทานต่อการกัดกร่อน สึกหรอ&nbsp;ไม่เป็นสนิม&nbsp;และทนทานต่อสารเคมีด้วย ใช้แนวคิดพื้นฐานของโครงสร้างประกบกันแบบ&nbsp;Sandwich&nbsp;ใช้พลังงานสะอาด ไม่ปล่อยมลพิษทางอากาศ เคมี หรือเสียง ช่วยลดภาวะโลกร้อน</p>\n<p class=\"separator\" style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"/files/u89232/2.._InnoGen%20V%202%20%28Custom%29%20Small.jpg\" alt=\"\" width=\"422\" height=\"281\" /></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>นายดรุณ</strong><strong>&nbsp;&nbsp;แนบนุช&nbsp;</strong>กล่าวถึงระบบไฟฟ้าของยานยนต์สุดล้ำคันนี้<strong>&nbsp;</strong>ว่า<strong>&nbsp;</strong><strong>INNOGEN KMITL V2</strong>&nbsp;มีจุดเด่น คือ&nbsp;ชุดขับเคลื่อนมอเตอร์ (Motor Drive) ที่เราได้พัฒนาชุดควบคุมความเร็วมอเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงถึง 96%&nbsp;และก้าวล้ำด้วยระบบไฟฟ้า โดยใช้<strong>แบตเตอรี่</strong>&nbsp;<strong>ลิเธียมไออนฟอสเฟต&nbsp;</strong>(Lithium Iron Phosphate -LiFe<sub>2</sub>Po<sub>4</sub>) 24 โวลต์ ที่ทนทานมาก และมีอายุการใช้งานที่มากกว่าแบตเตอรี่ ลิเธียมไอออนแบบเดิมมาก คือ มีอายุสูงถึง 2,000 รอบการประจุไฟ (Cycle&nbsp;)หรือประมาณ 5 ปี&nbsp;<strong>&nbsp;</strong>ไม่สามารถติดไฟหรือเกิดการเผาไหม้ แม้จะถูกใช้งานอย่างหนัก มีความหนาแน่นของพลังงาน หรือค่าพลังงานต่อน้ำหนักสูงมากเมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ชนิดอื่น นอกจากความพร้อมของสภาพรถ และคนขับแล้ว ยังต้องคำนึงถึงสภาวะแวดล้อม อาทิ กระแสลม เนื่องจากรถเป็นรถที่มีน้ำหนักเบา ในระหว่างการขับขี่ต้องรู้จักการผ่อนคันเร่ง หรือการเพิ่มความเร็วเพื่อความปลอดภัยในระหว่างการขับขี่ ทีมงานของเราเคยลงแข่งระดับนานาชาติที่ประเทศฟิลิปินส์ ในปีที่แล้ว</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;นายจารุเดช</strong><strong>&nbsp;&nbsp;วรสีห์&nbsp;</strong>กล่าวถึงล้อรถ ในส่วนของล้อรถ&nbsp;Innogen KMITL V2&nbsp;เลือกใช้ยางเส้นเล็กที่ไม่มีดอกยาง หรือ&nbsp;ยางเกลี้ยง (slick)&nbsp;ชนิดพิเศษเพื่อลดแรงเสียดทานของถนน&nbsp;ยางเกลี้ยงทำให้ผิวหน้ายางสัมผัสกับถนนมากที่สุด จึงมีแรงยึดเกาะถนนและมีแรงตะกุยให้ตัวรถพุ่งทยานออกไปข้างหน้าอย่างเต็มประสิทธิภาพ&nbsp;เกาะถนนจับโค้งได้ดีกว่ายางถนนทั่วไป&nbsp;ระบบความปลอดภัยมีความปลอดภัยทั้งผู้ขับและรถ&nbsp;&nbsp;ติดตั้งเข็มขัดนิรภัย (&nbsp;Safety Belt&nbsp;)&nbsp;&nbsp;หมวกกันน็อค ถังดับเพลิง&nbsp;&nbsp;และสวิทช์ฉุกเฉิน(&nbsp;Emergency Switch) ติดตั้งไว้ที่แผงหน้ารถและที่ตัวถังด้านนอก เพื่อทำหน้าที่ตัดการทำงานจากภายนอกให้วงจรทุกอย่างหยุดการทำงานในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน มีระบบระบายอากาศสำหรับคนขับ</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u89232/4..photo%20%2813%29%20Small.jpg\" alt=\"\" width=\"435\" height=\"326\" /></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;น่าภูมิใจที่ ทีมหนุ่มสาวไทย&nbsp;Innogen KMITL V2&nbsp;สามารถทำลายสถิติปีที่แล้วด้วยค่าการใช้พลังงานไฟฟ้า 102.6 กิโลจูล (Kilo Joule)&nbsp;หรือเทียบเท่า 3,800 กิโลเมตร ต่อน้ำมัน 1 ลิตร หรือคิดเป็นค่าได้&nbsp;442.11 km/kWh&nbsp;ซึ่งทำสถิติสูงกว่าสถิติที่แชมป์ของเอเซียเคยทำได้จากการแข่งขันในรายการ&nbsp;Asia Shell Eco Marathon 2014&nbsp;ในประเทศฟิลิปปินส์ ที่ทำสถิติล่าสุดไว้ที่&nbsp;263.4 km/kWh.อีกด้วย&nbsp;</p>\n<p class=\"separator\">&nbsp;</p>\n', created = 1714743280, expire = 1714829680, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:30ef31f61888ab0af2e95f332b0bfeab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิศวลาดกระบัง คว้าแชมป์ ECO CHALLENGE2014-15 รถต้นแบบ พลังงานไฟฟ้า

วิศวลาดกระบัง คว้าแชมป์ ECO CHALLENGE2014-15 
รถต้นแบบ พลังงานไฟฟ้า

          กระแสยานยนต์เพื่อโลกสะอาดและประหยัดพลังงานกำลังได้รับความสนใจ ทีมคนรุ่นใหม่ INNOGEN KMITL V2 จากคณะวิศวลาดกระบัง สจล. คว้าแชมป์ชนะเลิศ ประเภทรถต้นแบบ (Prototype) พลังงานไฟฟ้า ในการประกวด ECO CHALLENGE 2014-15 หนึ่งในเวทีท้าท้ายคนรุ่นใหม่ของการออกแบบ สร้างและพัฒนายานยนต์ประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม   จัดโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์(วสท.) ร่วมกับสมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย ณ. สนามทดสอบไทยบริดจสโตน ถ.พหลโยธิน จ.สระบุรี เมื่อ เร็วๆนี้ นอกจากทำลายสถิติปีที่แล้ว ยังทำสถิติสูงกว่าแชมป์เอเซียปีที่แล้วที่จัดในประเทศฟิลิปปินส์อีกด้วย

           ทีม INNOGEN KMITL V2 แชมป์หนุ่มสาวไทยคนเก่งจากคณะวิศวลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ประกอบด้วย สมาชิก 6 คน คือ นายฐานันต์ ศักดิ์พูนทรัพย์, นางสาวแซนนี่  ชัว,นายณัฐวุฒิ  จักษุจันทร์,นายดรุณ  แนบนุช, นายจารุเดช  วรสีห์ และนาย ธนภัทร สิตะยัง โดยมี รศ.ดร.วีระเชษฐ์ ขันเงิน เป็นที่ปรึกษา

 

นายฐานันต์ ศักดิ์พูนทรัพย์ หัวหน้าทีม INNOGEN KMITL V2 กล่าวว่า เราออกแบบรถ INNOGEN KMITL V2 โดยได้แรงบันดาลใจจาก ปลาวาฬ ที่มีรูปทรงโค้งมน ไร้เหลี่ยม คล้ายปีกเครื่องบิน ลดแรงเสียดทาน ( Friction ) ตามหลักพลศาสตร์การไหลของอากาศโดยมีค่าสัมประสิทธิ์แรงต้านอากาศต่ำ และเคลื่อนที่อย่างมีประสิทธิภาพ ในการออกแบบรถยนต์ไฟฟ้า Inno-Gen KMITL V2 แบ่งทีมเป็น 2 ส่วนคือ 1.ส่วนแมคคานิคส์ ( เครื่องกล ) โครงสร้าง  ระบบเลี้ยว และระบบส่งสัญญาณต่างๆ 2. ส่วนไฟฟ้า ดูแลเรื่องแหล่งพลังงาน, Shoot Drive, เดินสายไฟในระบบ ( Wiring ) และระบบแผงแสดงสัญญาณ ( Console )  ขั้นตอนในการออกแบบและผลิต เป็นแบบ Inside out  คือ เริ่มจากการออกแบบระบบต่างๆตามเป้าหมายของยานยนต์นี้ ที่ต้องการเป็นยานยนต์ที่ใช้พลังงานสะอาด และประหยัดพลังงาน ได้แก่ ระบบแหล่งจ่ายพลังงาน ระบบความปลอดภัย โดยเริ่มจากการออกแบบระบบต่างๆในโปรแกรม CAD (Computer Aided Design) คือการนําคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสร้างชิ้นส่วน (Part) ด้วยแบบจําลองทางเรขาคณิตวิศวกรออกแบบใช้ CAD software ในการสร้างชิ้นส่วน หรือเรียกว่าแบบจําลอง (Model / CAM ( Computer Aided Manufacturing ) คือ การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสร้างรหัสจี (G-code) เพื่อควบคุมในการกัดขึ้นรูปชิ้นส่วนโดยใช้ข้อมูลทางรูปร่างจาก CAD และทำการทดสอบระบบต่างๆที่ต้องการใช้งานให้สมบรูณ์พร้อมใช้งานจริงผ่านโปรแกรมที่ออกแบบโครงสร้างจำลอง 3 มิติ และใช้ CAE ( Computer Aided Engineering ) เป็นคอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม สําหรับการทํานายพฤติกรรมของชิ้นส่วน  เช่น ชิ้นส่วนที่สร้างขึ้นมาจะประกอบกันได้หรือไม่  ชิ้นส่วนที่สภาวะอุณหภูมิแวดล้อมที่เปลี่ยนไปจะทําให้รูปร่าางของชิ้นส่วนบิดเบี้ยว หรือสมบัติทางกลเปลี่ยนแปลงอย่างไร  แล้วจึงมาออกแบบโครงสร้างภายนอกหรือตัวถังรถ เมื่อออกแบบแล้วจึงทำการทดสอบโดยการจำลองเหตุการณ์ ( Simulation )  แล้วจึงทำแม่พิมพ์ (Mold) นำโฟมมาต่อเป็นก้อนใหญ่ และขัดให้ได้ตามรูปทรงตามที่กำหนดไว้

         นายณัฐวุฒิ  จักษุจันทร์ กล่าวว่า โครงสร้างของตัวรถ INNOGEN KMITL V2 ใช้ Carbon reinforced polymer เพราะเป็นวัสดุผสมที่เสริมแรงด้วยเส้นใย (Fibrous) คือ การนำเส้นใยมาเป็นส่วนเสริมแรงทำให้วัสดุผสมที่ได้มีความเหนียวสูง ทำให้มีความแข็งแรงสูงมากกว่าเหล็ก สามารถรับแรงดึงดูดได้สูงถึง 10 -15 เท่าของเหล็กกล้า แต่มีน้ำหนักเบาเพียง 45 กิโลกรัม แต่แข็งแรงรับน้ำหนักได้มาก ซึ่งวัสดุประเภทนี้ส่วนใหญ่ใช้ผลิตส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่องบิน เช่น ปีก และยังทนทานต่อการกัดกร่อน สึกหรอ ไม่เป็นสนิม และทนทานต่อสารเคมีด้วย ใช้แนวคิดพื้นฐานของโครงสร้างประกบกันแบบ Sandwich ใช้พลังงานสะอาด ไม่ปล่อยมลพิษทางอากาศ เคมี หรือเสียง ช่วยลดภาวะโลกร้อน

 

          นายดรุณ  แนบนุช กล่าวถึงระบบไฟฟ้าของยานยนต์สุดล้ำคันนี้ ว่า INNOGEN KMITL V2 มีจุดเด่น คือ ชุดขับเคลื่อนมอเตอร์ (Motor Drive) ที่เราได้พัฒนาชุดควบคุมความเร็วมอเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงถึง 96% และก้าวล้ำด้วยระบบไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่ ลิเธียมไออนฟอสเฟต (Lithium Iron Phosphate -LiFe2Po4) 24 โวลต์ ที่ทนทานมาก และมีอายุการใช้งานที่มากกว่าแบตเตอรี่ ลิเธียมไอออนแบบเดิมมาก คือ มีอายุสูงถึง 2,000 รอบการประจุไฟ (Cycle )หรือประมาณ 5 ปี  ไม่สามารถติดไฟหรือเกิดการเผาไหม้ แม้จะถูกใช้งานอย่างหนัก มีความหนาแน่นของพลังงาน หรือค่าพลังงานต่อน้ำหนักสูงมากเมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ชนิดอื่น นอกจากความพร้อมของสภาพรถ และคนขับแล้ว ยังต้องคำนึงถึงสภาวะแวดล้อม อาทิ กระแสลม เนื่องจากรถเป็นรถที่มีน้ำหนักเบา ในระหว่างการขับขี่ต้องรู้จักการผ่อนคันเร่ง หรือการเพิ่มความเร็วเพื่อความปลอดภัยในระหว่างการขับขี่ ทีมงานของเราเคยลงแข่งระดับนานาชาติที่ประเทศฟิลิปินส์ ในปีที่แล้ว

           นายจารุเดช  วรสีห์ กล่าวถึงล้อรถ ในส่วนของล้อรถ Innogen KMITL V2 เลือกใช้ยางเส้นเล็กที่ไม่มีดอกยาง หรือ ยางเกลี้ยง (slick) ชนิดพิเศษเพื่อลดแรงเสียดทานของถนน ยางเกลี้ยงทำให้ผิวหน้ายางสัมผัสกับถนนมากที่สุด จึงมีแรงยึดเกาะถนนและมีแรงตะกุยให้ตัวรถพุ่งทยานออกไปข้างหน้าอย่างเต็มประสิทธิภาพ เกาะถนนจับโค้งได้ดีกว่ายางถนนทั่วไป ระบบความปลอดภัยมีความปลอดภัยทั้งผู้ขับและรถ  ติดตั้งเข็มขัดนิรภัย ( Safety Belt )  หมวกกันน็อค ถังดับเพลิง  และสวิทช์ฉุกเฉิน( Emergency Switch) ติดตั้งไว้ที่แผงหน้ารถและที่ตัวถังด้านนอก เพื่อทำหน้าที่ตัดการทำงานจากภายนอกให้วงจรทุกอย่างหยุดการทำงานในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน มีระบบระบายอากาศสำหรับคนขับ

           น่าภูมิใจที่ ทีมหนุ่มสาวไทย Innogen KMITL V2 สามารถทำลายสถิติปีที่แล้วด้วยค่าการใช้พลังงานไฟฟ้า 102.6 กิโลจูล (Kilo Joule) หรือเทียบเท่า 3,800 กิโลเมตร ต่อน้ำมัน 1 ลิตร หรือคิดเป็นค่าได้ 442.11 km/kWh ซึ่งทำสถิติสูงกว่าสถิติที่แชมป์ของเอเซียเคยทำได้จากการแข่งขันในรายการ Asia Shell Eco Marathon 2014 ในประเทศฟิลิปปินส์ ที่ทำสถิติล่าสุดไว้ที่ 263.4 km/kWh.อีกด้วย 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 497 คน กำลังออนไลน์