• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:11b249d24d353a2e0b478ea03a9763d8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\"><strong>มารู้จักกับอาชีพสุดฮอต</strong><strong>!!&nbsp;วิศวกรการบินและนักบินพาณิชย์</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>กับโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์ วิศวลาดกระบัง</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u89232/Blog%201.jpg\" alt=\"\" width=\"359\" height=\"431\" /></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หนึ่งในอาชีพสุดฮอตและท้าทายการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมคมนาคมและท่องเที่ยวนั้น คือ วิศวกรการบินและนักบินพาณิชย์ ซึ่งนับเป็นบุคลากรที่ต้องมีประสบการณ์ความเชี่ยวชาญ ความเป็นผู้นำ และความรู้ความสามารถ ทั้งเป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพการบินพาณิชย์และท่องเที่ยวเดินทาง</p>\n<p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;รศ.ดร.คมสัน มาลีสี</strong>&nbsp;คณบดี คณะวิศวกรรมลาดกระบัง กล่าวว่า&nbsp;“คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เล็งเห็นถึงปัญหาการขาดแคลนนักบิน ซึ่งเป็นปัญหาที่สะสมมายาวนาน เนื่องจากการเตรียมบุคลากรเพื่อเข้ามาเป็นนักบิน มีค่าใช้จ่ายที่สูงและใช้เวลานาน สายการบินหลายแห่งจึงเริ่มตั้งคุณสมบัติขั้นต่ำของผู้ที่จะเข้าเป็นนักบินฝึกหัดว่าจะต้องสำเร็จการศึกษาอย่างน้อยปริญญาตรี เพื่อเป็นสิ่งหนึ่งที่จะยืนยันได้ว่าบุคลากรที่รับเข้ามาจะประสบความสำเร็จในการฝึกเป็นนักบินพาณิชย์ในระยะเวลาที่ฝึกอบรมอันยาวนานคุ้มค่ากับต้นทุนที่จ่ายไป ซึ่งผลสำรวจจากกระทรวงแรงงานสหรัฐในปี พ.ศ.2556 พบว่าจำนวนนักบินพาณิชย์ขาดแคลนกว่า 30,000 คน และเนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจในทางตะวันออกกลางและเอเชีย ตลาดนักบินมุ่งตรงมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เนื่องจากค่าตอบแทนยังต่ำกว่าภูมิภาคอื่น ซึ่งทางบริษัทแอร์บัส ได้คาดการณ์ถึงความต้องการนักบินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามยอดการสั่งเครื่องบินว่าจะมีความต้องการนักบินสูงถึง 20,000 คน ในอีก 10 ปีข้างหน้านั่นหมายความว่าความต้องการนักบินทั่วโลกก็ยิ่งสูงขึ้นไปอีก</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เป็นเรื่องที่น่ายินดีที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้ริเริ่มโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์(Aeronautical Engineering and Commercial Pilot) เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างบุคคลากรให้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ที่มีความสามารถสอบเป็นนักบินพาณิชย์ได้อย่างมีศักยภาพ ความสามารถแข่งขันได้กับทั้งในประเทศกลุ่มอาเซียน และระดับโลกได้”</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u89232/Blog%203.jpg\" alt=\"\" /></p>\n<p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ดร.เสริมศักดิ์ อยู่เย็น&nbsp;</strong>ประธานโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์(Aeronautical Engineering and Commercial Pilot) กล่าวว่า “โครงสร้างหลักสูตรนี้เป็นระบบการศึกษาแบบทวิภาค ระยะเวลาศึกษา 4 ปี ที่เน้นการนำความรู้พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาประยุกต์รวมกับความรู้ด้านวิศวกรรมเครื่องกลและวิศวกรรมอากาศยาน และเตรียมความพร้อมสู่การเป็นนักบินพาณิชย์ โดยจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 145 หน่วยกิต ซึ่งโครงสร้างหลักสูตรแบ่งเป็นหมวดวิชาต่างๆ คือ 1.<strong>หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน&nbsp;</strong><strong>30 หน่วยกิต</strong>&nbsp;ซึ่งเป็นการศึกษาวิชาพื้นฐานสำหรับนักศึกษาในหลักสูตรของสถาบันฯประกอบด้วยกลุ่มวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ / มนุษยศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์ / คณิตศาสตร์ และภาษาศาสตร์ 2.<strong>หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า</strong><strong>108 หน่วยกิต</strong>&nbsp;ซึ่งแบ่งออกเป็นกลุ่มวิชาต่างๆ ดังนี้ กลุ่มวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ (Engineering Mathematics and Sciences Courses) Engineering Mechanics 1, Engineering Mechanics 2, Engineering Mechanics 3, General Physics 1, General Physics Laboratory 1, General Physics 2, General Physics Laboratory 2 ส่วนกลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม(Engineering Core Courses ) ประกอบด้วย Engineering Mechanics, Engineering Materials, Computer Programing, Engineering Drawing, Thermodynamics, Fluid Mechanic, Mechanics of Materials, Manufacturing Processes ส่วนกลุ่มวิชาวิศวกรรมเฉพาะ (Aeronautical Courses) Fundamental of Flight Engineering, Mechanics of Flight, Aircraft Design, Mechanical Vibrations, Mechanical Measuremen, Automatic Flight Control, Heat Transfer,Internal Combustion Engine, Aircraft Air Conditioning and Pressurization System, Aircraft Power Plant นอกจากนี้ยังมีกลุ่มวิชานักบินพาณิชย์ (Commercial Pilot Courses) ประกอบด้วย Private Pilot License, Commercial Pilot License, Instrument Rating- Multi Engine Rating 3.<strong>หมวดวิชาเลือกเสรี&nbsp;</strong><strong>6 หน่วยกิต&nbsp;</strong>เลือกศึกษาวิชาใดก็ได้ที่เปิดสอนในสถาบัน (Free Elective Courses 6 Credits) ”</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดร.เสริมศักดิ์ อยู่เย็น&nbsp;</strong>ประธานโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์(Aeronautical Engineering and Commercial Pilot) กล่าวถึง ผู้สำเร็จการศึกษาจะประกอบอาชีพอะไรได้บ้าง ว่า “ผู้ที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรและสอบได้ใบอนุญาตนักบินพาณิชย์สามารถทำงานได้ตามสายงาน ได้แก่ 1.ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการบิน เป็นนักบินพาณิชย์ในสายการบินทั้งในและต่างประเทศ เป็นอาจารย์ผู้สอนนักบินพาณิชย์โดยเข้าอบรมหลักสูตรสอนได้ นอกจากนี้ยังสามารถทำงานทางด้านการบินให้กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ 2.ประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเครื่องกล เป็นวิศวกรทำงานในภาครัฐและเอกชนในระดับนานาชาติได้ และทำงานด้านวิชาการให้กับทางสถาบันอุดมศึกษาในระดับนานาชาติเพื่อพัฒนาและเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการให้กับนักศึกษาและเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการให้สามารถเพิ่มขีดความ สามารถและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ให้กับอุตสาหกรรม”</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จุดเด่นของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์ คณะวิศวลาดกระบัง เน้นให้ผู้ที่ศึกษาได้เรียนรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยลงมือปฏิบัติจริงและมีการศึกษาดูงานจากสถานที่ประกอบการจริง พร้อมส่งเสริมความชำนาญในวิชาชีพด้วยการฝึกปฏิบัติงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ และยังฝึกให้เป็นนักบินที่มีคุณภาพสามารถทำงานได้กับสายการบินทั่วโลก อีกทั้งยังเป็นการศึกษาในหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ และโรงเรียนการบินที่ขอรับอนุญาตจากกรมการบินพลเรือน เมื่อสำเร็จการศึกษาจะได้รับ วุฒิปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกล หลักสูตรนักบินพาณิชย์ตรี และได้รับใบอนุญาตนักบินพาณิชย์ตรีพร้อมกับจบหลักสูตรการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินและหลักสูตรการบินด้วยเครื่องบินหลายเครื่องยนต์อีกด้วย</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม&nbsp;www.aviation.kmitl.ac.th โทรศัพท์ : 02-329-8350 – 1, 092-046-8583แฟกซ์ : 0259-8352&nbsp; หรือ อีเมล์ : aviation@staff.kmitl.ac.th&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"/files/u89232/Blog%202.jpg\" alt=\"\" /></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp;&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</p>\n', created = 1714711360, expire = 1714797760, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:11b249d24d353a2e0b478ea03a9763d8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มารู้จักกับอาชีพสุดฮอต!! วิศวกรการบินและนักบินพาณิชย์ กับโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์ วิศวลาดกระบัง

มารู้จักกับอาชีพสุดฮอต!! วิศวกรการบินและนักบินพาณิชย์

กับโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์ วิศวลาดกระบัง

          หนึ่งในอาชีพสุดฮอตและท้าทายการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมคมนาคมและท่องเที่ยวนั้น คือ วิศวกรการบินและนักบินพาณิชย์ ซึ่งนับเป็นบุคลากรที่ต้องมีประสบการณ์ความเชี่ยวชาญ ความเป็นผู้นำ และความรู้ความสามารถ ทั้งเป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพการบินพาณิชย์และท่องเที่ยวเดินทาง

           รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี คณะวิศวกรรมลาดกระบัง กล่าวว่า “คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เล็งเห็นถึงปัญหาการขาดแคลนนักบิน ซึ่งเป็นปัญหาที่สะสมมายาวนาน เนื่องจากการเตรียมบุคลากรเพื่อเข้ามาเป็นนักบิน มีค่าใช้จ่ายที่สูงและใช้เวลานาน สายการบินหลายแห่งจึงเริ่มตั้งคุณสมบัติขั้นต่ำของผู้ที่จะเข้าเป็นนักบินฝึกหัดว่าจะต้องสำเร็จการศึกษาอย่างน้อยปริญญาตรี เพื่อเป็นสิ่งหนึ่งที่จะยืนยันได้ว่าบุคลากรที่รับเข้ามาจะประสบความสำเร็จในการฝึกเป็นนักบินพาณิชย์ในระยะเวลาที่ฝึกอบรมอันยาวนานคุ้มค่ากับต้นทุนที่จ่ายไป ซึ่งผลสำรวจจากกระทรวงแรงงานสหรัฐในปี พ.ศ.2556 พบว่าจำนวนนักบินพาณิชย์ขาดแคลนกว่า 30,000 คน และเนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจในทางตะวันออกกลางและเอเชีย ตลาดนักบินมุ่งตรงมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เนื่องจากค่าตอบแทนยังต่ำกว่าภูมิภาคอื่น ซึ่งทางบริษัทแอร์บัส ได้คาดการณ์ถึงความต้องการนักบินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามยอดการสั่งเครื่องบินว่าจะมีความต้องการนักบินสูงถึง 20,000 คน ในอีก 10 ปีข้างหน้านั่นหมายความว่าความต้องการนักบินทั่วโลกก็ยิ่งสูงขึ้นไปอีก

           เป็นเรื่องที่น่ายินดีที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้ริเริ่มโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์(Aeronautical Engineering and Commercial Pilot) เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างบุคคลากรให้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ที่มีความสามารถสอบเป็นนักบินพาณิชย์ได้อย่างมีศักยภาพ ความสามารถแข่งขันได้กับทั้งในประเทศกลุ่มอาเซียน และระดับโลกได้”

           ดร.เสริมศักดิ์ อยู่เย็น ประธานโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์(Aeronautical Engineering and Commercial Pilot) กล่าวว่า “โครงสร้างหลักสูตรนี้เป็นระบบการศึกษาแบบทวิภาค ระยะเวลาศึกษา 4 ปี ที่เน้นการนำความรู้พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาประยุกต์รวมกับความรู้ด้านวิศวกรรมเครื่องกลและวิศวกรรมอากาศยาน และเตรียมความพร้อมสู่การเป็นนักบินพาณิชย์ โดยจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 145 หน่วยกิต ซึ่งโครงสร้างหลักสูตรแบ่งเป็นหมวดวิชาต่างๆ คือ 1.หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน 30 หน่วยกิต ซึ่งเป็นการศึกษาวิชาพื้นฐานสำหรับนักศึกษาในหลักสูตรของสถาบันฯประกอบด้วยกลุ่มวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ / มนุษยศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์ / คณิตศาสตร์ และภาษาศาสตร์ 2.หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า108 หน่วยกิต ซึ่งแบ่งออกเป็นกลุ่มวิชาต่างๆ ดังนี้ กลุ่มวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ (Engineering Mathematics and Sciences Courses) Engineering Mechanics 1, Engineering Mechanics 2, Engineering Mechanics 3, General Physics 1, General Physics Laboratory 1, General Physics 2, General Physics Laboratory 2 ส่วนกลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม(Engineering Core Courses ) ประกอบด้วย Engineering Mechanics, Engineering Materials, Computer Programing, Engineering Drawing, Thermodynamics, Fluid Mechanic, Mechanics of Materials, Manufacturing Processes ส่วนกลุ่มวิชาวิศวกรรมเฉพาะ (Aeronautical Courses) Fundamental of Flight Engineering, Mechanics of Flight, Aircraft Design, Mechanical Vibrations, Mechanical Measuremen, Automatic Flight Control, Heat Transfer,Internal Combustion Engine, Aircraft Air Conditioning and Pressurization System, Aircraft Power Plant นอกจากนี้ยังมีกลุ่มวิชานักบินพาณิชย์ (Commercial Pilot Courses) ประกอบด้วย Private Pilot License, Commercial Pilot License, Instrument Rating- Multi Engine Rating 3.หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต เลือกศึกษาวิชาใดก็ได้ที่เปิดสอนในสถาบัน (Free Elective Courses 6 Credits) ”

            ดร.เสริมศักดิ์ อยู่เย็น ประธานโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์(Aeronautical Engineering and Commercial Pilot) กล่าวถึง ผู้สำเร็จการศึกษาจะประกอบอาชีพอะไรได้บ้าง ว่า “ผู้ที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรและสอบได้ใบอนุญาตนักบินพาณิชย์สามารถทำงานได้ตามสายงาน ได้แก่ 1.ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการบิน เป็นนักบินพาณิชย์ในสายการบินทั้งในและต่างประเทศ เป็นอาจารย์ผู้สอนนักบินพาณิชย์โดยเข้าอบรมหลักสูตรสอนได้ นอกจากนี้ยังสามารถทำงานทางด้านการบินให้กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ 2.ประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเครื่องกล เป็นวิศวกรทำงานในภาครัฐและเอกชนในระดับนานาชาติได้ และทำงานด้านวิชาการให้กับทางสถาบันอุดมศึกษาในระดับนานาชาติเพื่อพัฒนาและเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการให้กับนักศึกษาและเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการให้สามารถเพิ่มขีดความ สามารถและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ให้กับอุตสาหกรรม”

          จุดเด่นของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์ คณะวิศวลาดกระบัง เน้นให้ผู้ที่ศึกษาได้เรียนรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยลงมือปฏิบัติจริงและมีการศึกษาดูงานจากสถานที่ประกอบการจริง พร้อมส่งเสริมความชำนาญในวิชาชีพด้วยการฝึกปฏิบัติงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ และยังฝึกให้เป็นนักบินที่มีคุณภาพสามารถทำงานได้กับสายการบินทั่วโลก อีกทั้งยังเป็นการศึกษาในหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ และโรงเรียนการบินที่ขอรับอนุญาตจากกรมการบินพลเรือน เมื่อสำเร็จการศึกษาจะได้รับ วุฒิปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกล หลักสูตรนักบินพาณิชย์ตรี และได้รับใบอนุญาตนักบินพาณิชย์ตรีพร้อมกับจบหลักสูตรการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินและหลักสูตรการบินด้วยเครื่องบินหลายเครื่องยนต์อีกด้วย

    ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม www.aviation.kmitl.ac.th โทรศัพท์ : 02-329-8350 – 1, 092-046-8583แฟกซ์ : 0259-8352  หรือ อีเมล์ : aviation@staff.kmitl.ac.th 

 

 

    

                                    

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 489 คน กำลังออนไลน์