• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b6f834dc256d9daa35c324833ef98363' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; font-family: arial,helvetica,sans-serif\">ยุคโดมิเนท</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หลังจากสมัยจักรพรรดิที่ดี </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">5 </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พระองค์แล้ว</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> การปกครองที่ไร้ความสามารถของคอมโมดุส </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">.</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ศ</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">. 180 – 192) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทำให้จักรวรรดิเต็มไปด้วยความสับสนวุ่นวาย เป็นศตวรรษแห่งเผด็จการทหาร การฆาตกรรมความทรุดโทรมทางเศรษฐกิจและการบริหาร ความผุกร่อนทางวัฒนธรรมและกลียุค</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความไม่สงบในยุคนี้คือปัญหาเรื่องการสืบราชบัลลังก์ นอกจากนี้ยังเกิดโรคระบาด คือกาฬโรค ซึ่งเกิดขึ้นนานเป็นชั่วอายุคน ทำให้ผู้คนล้มตายมาก ทั้งยังประสบกับการรุกรานของอารยชนเยอรมันที่ข้ามพรมแดนแม่น้ำไรน์และดานูบ มาจนถึงอิตาลี ระบบราชการและกองทัพทำให้ต้องเก็บภาษีเพิ่ม ชาวเมืองและชาวชนบทต่างก็หลีกหนีภาษี แต่ละเมืองขอความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจจากจักรพรรดิทีละเมือง ซึ่งโดยปกติแล้ว นครโรมันหลายแห่งก็เลี้ยงตัวเองไม่ได้อยู่แล้ว เมื่อมาประสบภาวะการเก็บภาษีที่เพิ่มขึ้นประกอบกับภาวะเศรษฐกิจภายในจักรวรรดิที่หยุดนิ่ง ทำให้เศรษฐกิจเริ่มทรุดลง ชาวนาทิ้งไร่นา ชนชั้นกลางถูกขูดรีดภาษีอย่างหนักจึงพากันทิ้งเมือง คนที่ยังทำงานอยู่ก็ถูกขูดรีดภาษีหนักขึ้น จักรวรรดิเต็มไปด้วยขอทานและโจรผู้ร้าย สภาพการทางด้านตะวันตกหนักกว่าด้านตะวันออก เพราะศูนย์กลางอุตสาหกรรมอยู่ทางตะวันออก ช่วงระยะทศวรรษ ค</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">.</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ศ</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">. 260 </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นระยะที่เศรษฐกิจโรมันต่ำถึงขีดสุดและอนารยชนได้บุกข้ามชายแดนมาทางตะวันออก ขณะนั้นมีจักรพรรดิบางพระองค์พยายามป้องกันรัฐโรมันอย่างสุดความสามารถ ในจำนวนนั้น จักรพรรดิไดโอเคลเตียน </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">.</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ศ</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">. 284 – 305) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และคอนแสตนติน </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(306 – 337) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้ใช้อำนาจเอกาธิปไตยอย่างเด็ดขาด จักรพรรดิมิได้เป็นพรินเซปส์ แต่เป็น โดมินุสเอต เดอุส เจ้าผู้ครองนครและเทพเจ้าจึงเรียกยุคการปกครองแบบนี้ว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">“</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โดมิเนท</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">” </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">            ไดโอเคลเตียนได้แบ่งจักรวรรดิออกเป็น </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">2 </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ส่วน คือ ตะวันตกและตะวันออก มีจักรพรรดิสองพระองค์ องค์หนึ่งประทับอยู่ทางตะวันตก</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> อีกองค์หนึ่งทางด้านตะวันออก ทั้งสองพระองค์จะทรงร่วมมือกันเพื่อความอยู่รอดร่มเย็นและช่วยกันป้องกันประเทศ ทั้งสองพระองค์มีตำแหน่งเรียกว่า ออกุสตุส และมีผู้ช่วยเรียกว่า ซีซาร์ ซึ่งจะช่วยปกครองและสืบทอดตำแหน่งของออกุสตุสในที่สุด ทรงแยกอำนาจพลเรือนออกจากทหาร และปฏิรูปกองทัพให้จักรพรรดิคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สภาเซเนทกลายเป็นเครื่องประดับบารมี และสำหรับปัญหาเศรษฐกิจแก้โดยออกพระราชกฤษฏีกาให้ชาวไร่ชาวนา ช่างฝีมือและพ่อค้าทำงานนั้น ๆ โดยการสืบสกุล และออกมาตรฐานกำหนดราคาสินค้า</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"> <o:p></o:p></span></span><o:p></o:p></span><o:p></o:p></p>\n', created = 1719807126, expire = 1719893526, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b6f834dc256d9daa35c324833ef98363' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคโดมิเนท

ยุคโดมิเนท

หลังจากสมัยจักรพรรดิที่ดี 5 พระองค์แล้ว  การปกครองที่ไร้ความสามารถของคอมโมดุส (.. 180 – 192) ทำให้จักรวรรดิเต็มไปด้วยความสับสนวุ่นวาย เป็นศตวรรษแห่งเผด็จการทหาร การฆาตกรรมความทรุดโทรมทางเศรษฐกิจและการบริหาร ความผุกร่อนทางวัฒนธรรมและกลียุค

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความไม่สงบในยุคนี้คือปัญหาเรื่องการสืบราชบัลลังก์ นอกจากนี้ยังเกิดโรคระบาด คือกาฬโรค ซึ่งเกิดขึ้นนานเป็นชั่วอายุคน ทำให้ผู้คนล้มตายมาก ทั้งยังประสบกับการรุกรานของอารยชนเยอรมันที่ข้ามพรมแดนแม่น้ำไรน์และดานูบ มาจนถึงอิตาลี ระบบราชการและกองทัพทำให้ต้องเก็บภาษีเพิ่ม ชาวเมืองและชาวชนบทต่างก็หลีกหนีภาษี แต่ละเมืองขอความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจจากจักรพรรดิทีละเมือง ซึ่งโดยปกติแล้ว นครโรมันหลายแห่งก็เลี้ยงตัวเองไม่ได้อยู่แล้ว เมื่อมาประสบภาวะการเก็บภาษีที่เพิ่มขึ้นประกอบกับภาวะเศรษฐกิจภายในจักรวรรดิที่หยุดนิ่ง ทำให้เศรษฐกิจเริ่มทรุดลง ชาวนาทิ้งไร่นา ชนชั้นกลางถูกขูดรีดภาษีอย่างหนักจึงพากันทิ้งเมือง คนที่ยังทำงานอยู่ก็ถูกขูดรีดภาษีหนักขึ้น จักรวรรดิเต็มไปด้วยขอทานและโจรผู้ร้าย สภาพการทางด้านตะวันตกหนักกว่าด้านตะวันออก เพราะศูนย์กลางอุตสาหกรรมอยู่ทางตะวันออก ช่วงระยะทศวรรษ ค.. 260 เป็นระยะที่เศรษฐกิจโรมันต่ำถึงขีดสุดและอนารยชนได้บุกข้ามชายแดนมาทางตะวันออก ขณะนั้นมีจักรพรรดิบางพระองค์พยายามป้องกันรัฐโรมันอย่างสุดความสามารถ ในจำนวนนั้น จักรพรรดิไดโอเคลเตียน (.. 284 – 305) และคอนแสตนติน (306 – 337) ได้ใช้อำนาจเอกาธิปไตยอย่างเด็ดขาด จักรพรรดิมิได้เป็นพรินเซปส์ แต่เป็น โดมินุสเอต เดอุส เจ้าผู้ครองนครและเทพเจ้าจึงเรียกยุคการปกครองแบบนี้ว่า โดมิเนท

            ไดโอเคลเตียนได้แบ่งจักรวรรดิออกเป็น 2 ส่วน คือ ตะวันตกและตะวันออก มีจักรพรรดิสองพระองค์ องค์หนึ่งประทับอยู่ทางตะวันตก  อีกองค์หนึ่งทางด้านตะวันออก ทั้งสองพระองค์จะทรงร่วมมือกันเพื่อความอยู่รอดร่มเย็นและช่วยกันป้องกันประเทศ ทั้งสองพระองค์มีตำแหน่งเรียกว่า ออกุสตุส และมีผู้ช่วยเรียกว่า ซีซาร์ ซึ่งจะช่วยปกครองและสืบทอดตำแหน่งของออกุสตุสในที่สุด ทรงแยกอำนาจพลเรือนออกจากทหาร และปฏิรูปกองทัพให้จักรพรรดิคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สภาเซเนทกลายเป็นเครื่องประดับบารมี และสำหรับปัญหาเศรษฐกิจแก้โดยออกพระราชกฤษฏีกาให้ชาวไร่ชาวนา ช่างฝีมือและพ่อค้าทำงานนั้น ๆ โดยการสืบสกุล และออกมาตรฐานกำหนดราคาสินค้า

สร้างโดย: 
นายสุรวงศ์ เลี่ยมเงิน เลขที่ 29 ชั้น ม.6/3 ร.ร.ศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 542 คน กำลังออนไลน์