• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d891411f7cd0fd1803907a86cd692129' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>ยุโรปสมัยกลางตอนต้น                       </span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span></span></span></b><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">          เป็นยุคแห่งความยุ่งยากซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นยุคมืด </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Dark Age) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ภายหลังที่จักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราชสิ้นพระชนม์แล้ว จักรวรรดิโรมันถูกแบ่งเป็น </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">2 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ส่วน คือ จักรวรรดิโรมันตะวันตกมีศูนย์กลางปกครองกรุงโรม และจักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(<st1:place w:st=\"on\">Byzantine Empire</st1:place>) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล</span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span> </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พวกอนารยชนเยอรมันบุกยึดกรุงโรมเมื่อปี ค</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">.</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ศ</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">. 476 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แต่จักรวรรดิโรมันตะวันออก ซึ่งมีกรุงคอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวงยังครองความยิ่งใหญ่ต่อมาได้อีกนาน </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">1,000 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปี<span>  </span>โดยที่ศัตรูของโรมันตะวันออกไม่สามารถบุกมายึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้<span>  </span>ทั้งนี้เพราะจักรพรรดิโรมัน<span>  </span>ผู้สร้างกรุงคอนสแตนติโนเปิล คือ พระเจ้าคอนสแตนตินมหาราชได้ทรงเลือกสถานที่ตั้งเมืองหลวงอยู่ในบริเวณที่มีชัยภูมิดีเยี่ยม<span>  </span>มีแม่น้ำล้อมเมืองไว้ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">3 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ด้าน<span>  </span>ด้านที่ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">4 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของตัวเมืองมีกำแพง </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">3 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชั้น และมีป้อมปราการคอยคุ้มกันกรุงคอนสแตนติโนเปิลไว้<span>  </span>จนกระทั่งถึงปี ค</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">.</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ศ</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">. 527 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บัลลังก์ของจักรพรรดิโรมันตะวันออกจึงได้จักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่อีกพระองค์หนึ่ง คือ จักรพรรดิจัสติเนียน </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Justinian) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทรงมีความทะเยอทะยานสูง ต้องการเอาดินแดนทุกตารางนิ้วของอาณาจักรโรมันตะวันตกที่สูญเสียไปหมดแล้วกลับคืนมา ทรงปกครองดินแดนที่ขยายกว้างใหญ่ออกไปกว้างกว่าจักรวรรดิโรมันตะวันออกเดิม พระองค์ทรงสร้างโครงการใหญ่โตให้กับประชากร ตกแต่งนคร<span>   </span>คอนสแตนติโนเปิลด้วยการสร้างพระราชวังสวยงามน่าอัศจรรย์ สร้างห้องสมุด และที่อาบน้ำสาธารณะ<span>  </span>สร้างวิหารใหญ่โต</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ฮอลี่ วิสดัม </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Holy Wisdom) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ที่เซนโซเฟีย ใช้ทองคำทำเป็นเพดานและใช้ช่าง </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">10,000 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คน สร้างนาน </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">5 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปี<span>    </span>นอกจากนี้พระองค์ยังได้ทรงสร้าง หรือบูรณะเมืองต่างๆ ทั่วจักรวรรดิไบแซนไทน์ จนทำให้อีกหลายเมือง<span>  </span>เช่น<span>  </span>เมืองดามาคัส </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Damacus)<span>  </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เมืองแอนติออก </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Antiach) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เมืองเบรุต </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Beirut) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และเมือง อเลกซานเดรีย </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Alexandria) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มีศิลปกรรมที่สวยงามและเป็นแหล่งประวัติศาสตร์ของโลกในปัจจุบัน</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>จากที่กล่าวข้างต้นเป็นการแสดงความยิ่งใหญ่ของโรมันตะวันออก ซึ่งมีความเจริญและความมั่นคง ส่วนจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ในสภาพที่ป่าเถื่อนสงครามและความเดือดร้อนมีอยู่ทุกหย่อมหญ้า ส่วนคริสต์ศาสนาเป็นแหล่งลี้ภัยและแหล่งรวมของบรรดานักปราชญ์ของโรมันเช่นกัน<span>  </span>ดังนั้นอารยธรรมโรมันจึงถูกรักษาไว้ในจักรวรรดิไบแซนไทน์ และศาสนาคริสต์</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><strong>ลักษณะการปกครองสมัยกลางตอนต้น </strong><span><span><strong>                        </strong></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span><span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span><span><strong>          </strong></span>ในสมัยกลางลักษณะการปกครองอยู่ในระบบฟิวดัล </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Feudalism) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ กล่าวคือ พระเจ้าชาร์ลเลอมาญ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Charlemagne, </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">.</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ศ</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">. 771 – 814) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โอรสพระเจ้าเปแปง </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Pepin) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ขึ้นชื่อว่าเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์ พระองค์ทรงตีอาณาจักรโรมันคืนจากพวกลอมบาร์ด </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Lombard) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ซึ่งเป็นอนารยชนเยอรมันอีกสาขาหนึ่งได้เข้ามาตีอิตาลี เมื่อสิ้นสมัยพระองค์ในปี ค</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">.</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ศ</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">. 814 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บรรดาเจ้านครจำเป็นต้องป้องกันตนเองและปกครองโดยลำพัง เพราะกษัตริย์ภายหลังชาร์ลเลอมาญนั้นไม่เข้มแข็งพอจะดำเนินการปกครองและให้ความคุ้มครองพวกตนเองได้ ยุโรปจึงย่างเข้าสู่สมัยการแตกแยกออกเป็นรัฐอิสระ<span>  </span>ปกครองโดยเอกเทศอีกครั้งหนึ่ง<span>  </span>ระบอบการเมืองใหม่นี้มีชื่อเรียกว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">“</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Feudalism)”<span>  </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และช่วงเวลาตอนนี้มีชื่อเรียกว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">“</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สมัยฟิวดัล</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">” (Feudal Period) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เมื่อถึงช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">9 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นั้น ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ได้ตั้งมั่นอยู่ทางภาคเหนือของฝรั่งเศส และเมื่อถึงช่วงกลางปีคริสต์ศตวรรษที่ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">10 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นต้นมาก็ได้เผยแพร่ขยายทั่วยุโรปตะวันตก</span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">          </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์<span>   </span>หรือระบอบฟิวดัลมีพัฒนาการมาจากปัจจัยพื้นฐาน </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">2 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประการ คือ ลักษณะการปกครองและสังคมของชนเผ่าเยอรมัน กับลักษณะการปกครองและสังคมที่สืบทอดมาจากโรมัน</span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">          1.</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ลักษณะการปกครองและสังคมของชนเผ่าเยอรมันเน้นถึงความผูกพันระหว่างบุคคล คือ ความผูกพันระหว่างกลุ่มนักรบและหัวหน้านักรบซึ่งเป็นการเน้นถึงการกระจายอำนาจจากประมุขไปสู่หัวหน้ากลุ่มนักรบ เมื่ออนารยชนเยอรมันเข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนจักรวรรดิโรมันตะวันตกก็ได้นำขนบธรรมเนียมประเพณีในสังคมดังกล่าวมาปฏิบัติ<span>  </span>กษัตริย์ไม่ได้มีอำนาจในการ<span>   </span>ปกครองอย่างเต็มที่<span>  </span>แต่กระจายอำนาจการปกครองไปยังหัวหน้ากลุ่มนักรบ</span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></o:p></span>           </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>          <span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>2.</span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ลักษณะการปกครองและสังคมที่สืบทอดมาจากโรมันนั้น<span> </span>ในสังคมโรมันความสัมพันธ์ระหว่างผู้อุปการะ และผู้รับอุปการะ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Patron and Client System) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นความสัมพันธ์ระหว่างนายและข้าทาส </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Master and Slave Relations) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คือ เมื่อสามัญชนหรือทาสต้องการความคุ้มครองหรือความอุปการะจากผู้มีอำนาจหรือมีความมั่งคั่งร่ำรวย ก็อาจฝากตัวอยู่กับบุคคลนั้นพร้อมกับทำงานรับใช้เพื่อสนองคุณผู้อุปการะตน<span> </span>นอกจากนั้นแล้วยังมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับ<span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เจ้าที่ดิน คือ การขอเช่าที่ทำกิน เกิดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าของที่ดินและผู้เช่าในทำนองเดียวกับผู้อุปการะและผู้รับความอุปการะ</span></span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>  </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ครั้นสมัยจักรวรรดิโรมันเกิดความเสื่อมทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งภัยการรุกรานของอนารยชน<span>  </span>ความระส่ำระสายเหล่านี้ทำให้สามัญชนรวมทั้งกสิกรรายย่อยไม่สามารถดำรงชีพอยู่ด้วยความสงบสุขได้<span>  </span>เริ่มแสวงหาทางอยู่รอดด้วยการขอความคุ้มครองจาก ผู้มีอำนาจในท้องถิ่นนั้น ได้แก่ พวกขุนนาง หรือเจ้าของที่ดินรายใหญ่ๆ ที่มีอิทธิพลอยู่ในบริเวณนั้น โดยผู้ขอความคุ้มครองได้เสียสละแรงงาน และบางครั้งก็รวมทั้งที่ดินของตนเองให้แก่ผู้มีอำนาจเป็นการตอบแทนในลักษณะผู้อุปการะและผู้รับความอุปการะ</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span> </span></span></span></span></span></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ลักษณะความสัมพันธ์ของบุคคลในสังคมโรมัน ซึ่งอนารยชนเผ่าเยอรมันรับมา<span>   </span>ผสมผสานกับลักษณะของตน<span>  </span>กลายเป็นรากฐานของสังคมและการปกครองของยุโรปสมัยกลาง และเมื่อมีการพัฒนาการต่อมาก็กลายเป็นระบอบฟิวดัลอย่างสมบูรณ์</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span> </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></o:p></span></p>\n', created = 1727517956, expire = 1727604356, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d891411f7cd0fd1803907a86cd692129' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุโรปกลางตอนต้น

ยุโรปสมัยกลางตอนต้น                       

          เป็นยุคแห่งความยุ่งยากซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นยุคมืด (Dark Age) ภายหลังที่จักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราชสิ้นพระชนม์แล้ว จักรวรรดิโรมันถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ จักรวรรดิโรมันตะวันตกมีศูนย์กลางปกครองกรุงโรม และจักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล พวกอนารยชนเยอรมันบุกยึดกรุงโรมเมื่อปี ค.. 476 แต่จักรวรรดิโรมันตะวันออก ซึ่งมีกรุงคอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวงยังครองความยิ่งใหญ่ต่อมาได้อีกนาน 1,000 ปี  โดยที่ศัตรูของโรมันตะวันออกไม่สามารถบุกมายึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้  ทั้งนี้เพราะจักรพรรดิโรมัน  ผู้สร้างกรุงคอนสแตนติโนเปิล คือ พระเจ้าคอนสแตนตินมหาราชได้ทรงเลือกสถานที่ตั้งเมืองหลวงอยู่ในบริเวณที่มีชัยภูมิดีเยี่ยม  มีแม่น้ำล้อมเมืองไว้ 3 ด้าน  ด้านที่ 4 ของตัวเมืองมีกำแพง 3 ชั้น และมีป้อมปราการคอยคุ้มกันกรุงคอนสแตนติโนเปิลไว้  จนกระทั่งถึงปี ค.. 527 บัลลังก์ของจักรพรรดิโรมันตะวันออกจึงได้จักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่อีกพระองค์หนึ่ง คือ จักรพรรดิจัสติเนียน (Justinian) ทรงมีความทะเยอทะยานสูง ต้องการเอาดินแดนทุกตารางนิ้วของอาณาจักรโรมันตะวันตกที่สูญเสียไปหมดแล้วกลับคืนมา ทรงปกครองดินแดนที่ขยายกว้างใหญ่ออกไปกว้างกว่าจักรวรรดิโรมันตะวันออกเดิม พระองค์ทรงสร้างโครงการใหญ่โตให้กับประชากร ตกแต่งนคร   คอนสแตนติโนเปิลด้วยการสร้างพระราชวังสวยงามน่าอัศจรรย์ สร้างห้องสมุด และที่อาบน้ำสาธารณะ  สร้างวิหารใหญ่โต ฮอลี่ วิสดัม (Holy Wisdom) ที่เซนโซเฟีย ใช้ทองคำทำเป็นเพดานและใช้ช่าง 10,000 คน สร้างนาน 5 ปี    นอกจากนี้พระองค์ยังได้ทรงสร้าง หรือบูรณะเมืองต่างๆ ทั่วจักรวรรดิไบแซนไทน์ จนทำให้อีกหลายเมือง  เช่น  เมืองดามาคัส (Damacus)  เมืองแอนติออก (Antiach) เมืองเบรุต (Beirut) และเมือง อเลกซานเดรีย (Alexandria) มีศิลปกรรมที่สวยงามและเป็นแหล่งประวัติศาสตร์ของโลกในปัจจุบัน  จากที่กล่าวข้างต้นเป็นการแสดงความยิ่งใหญ่ของโรมันตะวันออก ซึ่งมีความเจริญและความมั่นคง ส่วนจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ในสภาพที่ป่าเถื่อนสงครามและความเดือดร้อนมีอยู่ทุกหย่อมหญ้า ส่วนคริสต์ศาสนาเป็นแหล่งลี้ภัยและแหล่งรวมของบรรดานักปราชญ์ของโรมันเช่นกัน  ดังนั้นอารยธรรมโรมันจึงถูกรักษาไว้ในจักรวรรดิไบแซนไทน์ และศาสนาคริสต์

ลักษณะการปกครองสมัยกลางตอนต้น                        

          ในสมัยกลางลักษณะการปกครองอยู่ในระบบฟิวดัล (Feudalism) หรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ กล่าวคือ พระเจ้าชาร์ลเลอมาญ (Charlemagne, .. 771 – 814) โอรสพระเจ้าเปแปง (Pepin) ขึ้นชื่อว่าเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์ พระองค์ทรงตีอาณาจักรโรมันคืนจากพวกลอมบาร์ด (Lombard) ซึ่งเป็นอนารยชนเยอรมันอีกสาขาหนึ่งได้เข้ามาตีอิตาลี เมื่อสิ้นสมัยพระองค์ในปี ค.. 814 บรรดาเจ้านครจำเป็นต้องป้องกันตนเองและปกครองโดยลำพัง เพราะกษัตริย์ภายหลังชาร์ลเลอมาญนั้นไม่เข้มแข็งพอจะดำเนินการปกครองและให้ความคุ้มครองพวกตนเองได้ ยุโรปจึงย่างเข้าสู่สมัยการแตกแยกออกเป็นรัฐอิสระ  ปกครองโดยเอกเทศอีกครั้งหนึ่ง  ระบอบการเมืองใหม่นี้มีชื่อเรียกว่า ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ (Feudalism)”  และช่วงเวลาตอนนี้มีชื่อเรียกว่า สมัยฟิวดัล” (Feudal Period) เมื่อถึงช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 นั้น ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ได้ตั้งมั่นอยู่ทางภาคเหนือของฝรั่งเศส และเมื่อถึงช่วงกลางปีคริสต์ศตวรรษที่ 10 เป็นต้นมาก็ได้เผยแพร่ขยายทั่วยุโรปตะวันตก

          ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์   หรือระบอบฟิวดัลมีพัฒนาการมาจากปัจจัยพื้นฐาน 2 ประการ คือ ลักษณะการปกครองและสังคมของชนเผ่าเยอรมัน กับลักษณะการปกครองและสังคมที่สืบทอดมาจากโรมัน

          1.ลักษณะการปกครองและสังคมของชนเผ่าเยอรมันเน้นถึงความผูกพันระหว่างบุคคล คือ ความผูกพันระหว่างกลุ่มนักรบและหัวหน้านักรบซึ่งเป็นการเน้นถึงการกระจายอำนาจจากประมุขไปสู่หัวหน้ากลุ่มนักรบ เมื่ออนารยชนเยอรมันเข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนจักรวรรดิโรมันตะวันตกก็ได้นำขนบธรรมเนียมประเพณีในสังคมดังกล่าวมาปฏิบัติ  กษัตริย์ไม่ได้มีอำนาจในการ   ปกครองอย่างเต็มที่  แต่กระจายอำนาจการปกครองไปยังหัวหน้ากลุ่มนักรบ          

 

          2.ลักษณะการปกครองและสังคมที่สืบทอดมาจากโรมันนั้น ในสังคมโรมันความสัมพันธ์ระหว่างผู้อุปการะ และผู้รับอุปการะ (Patron and Client System) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างนายและข้าทาส (Master and Slave Relations) คือ เมื่อสามัญชนหรือทาสต้องการความคุ้มครองหรือความอุปการะจากผู้มีอำนาจหรือมีความมั่งคั่งร่ำรวย ก็อาจฝากตัวอยู่กับบุคคลนั้นพร้อมกับทำงานรับใช้เพื่อสนองคุณผู้อุปการะตน นอกจากนั้นแล้วยังมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับเจ้าที่ดิน คือ การขอเช่าที่ทำกิน เกิดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าของที่ดินและผู้เช่าในทำนองเดียวกับผู้อุปการะและผู้รับความอุปการะ  ครั้นสมัยจักรวรรดิโรมันเกิดความเสื่อมทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งภัยการรุกรานของอนารยชน  ความระส่ำระสายเหล่านี้ทำให้สามัญชนรวมทั้งกสิกรรายย่อยไม่สามารถดำรงชีพอยู่ด้วยความสงบสุขได้  เริ่มแสวงหาทางอยู่รอดด้วยการขอความคุ้มครองจาก ผู้มีอำนาจในท้องถิ่นนั้น ได้แก่ พวกขุนนาง หรือเจ้าของที่ดินรายใหญ่ๆ ที่มีอิทธิพลอยู่ในบริเวณนั้น โดยผู้ขอความคุ้มครองได้เสียสละแรงงาน และบางครั้งก็รวมทั้งที่ดินของตนเองให้แก่ผู้มีอำนาจเป็นการตอบแทนในลักษณะผู้อุปการะและผู้รับความอุปการะ  ลักษณะความสัมพันธ์ของบุคคลในสังคมโรมัน ซึ่งอนารยชนเผ่าเยอรมันรับมา   ผสมผสานกับลักษณะของตน  กลายเป็นรากฐานของสังคมและการปกครองของยุโรปสมัยกลาง และเมื่อมีการพัฒนาการต่อมาก็กลายเป็นระบอบฟิวดัลอย่างสมบูรณ์

สร้างโดย: 
น.ส.ลาวดี อิงคุทานนท์ เลขที่ 24 ชั้น ม.6/3 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 222 คน กำลังออนไลน์