• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:635bb75ee22829394211a23615fc82d3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify; tab-stops: 72.0pt 88.55pt\" class=\"MsoBodyText\">\n<b><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>         </span></span></b><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ชาวโรมันเป็นชาวนามาตั้งแต่ดั้งเดิมอาศัยอยู่บริเวณลาติอุมมีแม่น้ำไทเบอร์ไหลผ่าน พืชที่ทำการปลูกมีข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต มะกอก องุ่น กระเทียม มีอุตสาหกรรมย่อยๆ เช่น การ ปั้นหม้อ เหมืองแร่ การทำเครื่องโลหะ<span>  </span>โรมมีเนื้อที่เพาะปลูกประมาณ </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">5 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">หมื่นตารางไมล์<span>  </span>แต่ไม่สามารถผลิตธัญพืชเลี้ยงประชากรได้อย่างเพียงพอ จึงอาศัยการค้ากับต่างแดนและการหาอาณานิคมเพื่อยึดพืชผล และทรัพย์สมบัติสู่กรุงโรม เช่น การรบชนะสงครามปิวนิคทำให้โรมได้ครอบครองซิซิลี คาร์เทจ<span>  </span>ซึ่งในคาร์เทจมีข้าวสาลี ปศุสัตว์ และไร่องุ่น</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify; tab-stops: 72.0pt 88.55pt\" class=\"MsoBodyText\">\n<span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>         </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">โรมันได้รับเอาระบบเกษตรกรรมแบบลาติฟุนเดียม </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Latifundium) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ของกรีกมาใช้ในบริเวณภาคกลางและภาคใต้ ลักษณะของลาติฟุนเดียมมีลักษณะเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ มีบ้านหรูหราอยู่ตรงกลาง มีโรงทาส<span>  </span>คอกสัตว์<span>  </span>โรงทำผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น โรงเหล้า ทำเพื่อการค้าและ ใช้แรงงานทาส<span>   </span>พืชผลที่ปลูกส่วนใหญ่ได้แก่<span>  </span>องุ่นเพื่อทำเหล้าองุ่น<span>  </span>และมะกอกเพื่อทำน้ำมันมะกอก<span>  </span>ภายหลังการขยายระบบการใช้ที่ดินแบบนี้ทำให้ชาวนารายย่อยไม่มีที่ดินเท่ากับต้องอพยพเข้าสู่กรุงโรม</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify; tab-stops: 72.0pt 88.55pt\" class=\"MsoBodyText\">\n<span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>         </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ทางด้านสังคม ชาวโรมันเป็นคนเชื้อสายอินโด </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">– </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ยูโรเปียน ตามโครงสร้างสังคมแบ่งพลเมืองออกเป็น </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">2 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">กลุ่ม คือ พวกแพทริเชียน </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Patricians) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">และพวกเพลเบียน </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Plebeians)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>         </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">พวกแพทริเชียน คือ กลุ่มผู้ดีมีสกุล มีความมั่งคั่ง ร่ำรวย มีสิทธิในการปกครองสาธารณรัฐ และพยายามรักษาฐานะของตนไว้ด้วยการห้ามแต่งงานกับชนชั้นสามัญ</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">          </span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">พวกเพลเบี่ยน หรือสามัญชน คือ ประชาชนส่วนใหญ่ของชุมชน อันได้แก่ ชาวนา<span>  </span>พ่อค้า ช่างฝีมือ ฯลฯ ไม่มีอำนาจหรือสิทธิทางการเมืองและสังคมเลย<span>  </span>ดังนั้นพวกเพลเบียนได้พยายามยกฐานะของตนโดยการสมัครเข้าเป็นบริวารของพวกแพทริเซียน โดยการยอมรับภาระในการให้บริการแก่นาย และได้รับการพิทักษ์ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน<span>  </span>ตลอดจนโอกาสในการหาเลี้ยงตนเองและครอบครัวจากนาย<span>  </span>ต่อมาในช่วงปี </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">264 – 146 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ก่อนคริสต์ศตวรรษ<span>  </span>การค้าเติบโตเจริญมากขึ้น พวกเพลเบี่ยนที่เป็นพ่อค้าและผู้รับเหมาก่อสร้างร่ำรวยมากขึ้น พวกนี้นิยม<span>  </span>เข้ารับราชการในกองทหารม้าของโรมัน เหตุนี้ทำให้พวกเพลเบี่ยนมีความสำคัญทางสังคม และทางการเมืองมากขึ้น ดังจะเห็นได้ว่าพวกเพลเบี่ยนที่ร่ำรวยได้รับการอนุญาตให้เข้าเป็นสมาชิกสภาเซเนทได้</span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"> </span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></o:p></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify; tab-stops: 72.0pt 88.55pt\" class=\"MsoBodyText\">\n<b><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การค้าภายในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify; tab-stops: 72.0pt 88.55pt\" class=\"MsoBodyText\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span><span><span><strong>         </strong></span>การค้าภายในของโรมันมีเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ รัฐเรียกเก็บกำไรหรือภาษีจาก พ่อค้าและเก็บค่าเช่าจากเจ้าของที่ดิน ชาวโรมันส่วนใหญ่ยึดอาชีพปิ้งขนมปัง ตัดเย็บเสื้อผ้า<span>  </span>ก่อสร้าง<span>  </span>ผลิตสินค้าฟุ่มเฟือย รับจ้างขนถ่ายสินค้าทางเรือ ศิลปิน รับจ้างในบ้านหรือราชสำนัก และทุกคนต้องเสียภาษีอากรให้แก่รัฐบาล</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>  </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">การค้าระหว่างประเทศสำหรับการค้าโดยทั่วไปใช้เงินเหรียญเป็นสื่อกลาง โรมันเด่นในด้านการทหารและเมื่อตีชนะดินแดนใดก็ให้ชาวโรมันบริหารครอบครองดินแดนและส่งผลผลิตสู่โรม จนมีคำกล่าวว่า สินค้าออกของโรม คือ กฎหมายและรัฐบาล ที่เป็นการค้าต่างแดนจริงๆ คงมีเป็นส่วนน้อย<span>  </span>สินค้าเข้าของโรม<span>  </span>คือ<span>  </span>เครื่องเทศ<span>  </span>น้ำหอม<span>  </span>ยา<span>  </span>ฝ้าย<span>  </span>เครื่องโลหะ<span>  </span>อัญมณีจากอินเดีย ไหมจากจีน</span></span></o:p></span> </p>\n', created = 1719513196, expire = 1719599596, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:635bb75ee22829394211a23615fc82d3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจและสังคมสมัยจักรวรรดิโรมัน

         ชาวโรมันเป็นชาวนามาตั้งแต่ดั้งเดิมอาศัยอยู่บริเวณลาติอุมมีแม่น้ำไทเบอร์ไหลผ่าน พืชที่ทำการปลูกมีข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต มะกอก องุ่น กระเทียม มีอุตสาหกรรมย่อยๆ เช่น การ ปั้นหม้อ เหมืองแร่ การทำเครื่องโลหะ  โรมมีเนื้อที่เพาะปลูกประมาณ 5 หมื่นตารางไมล์  แต่ไม่สามารถผลิตธัญพืชเลี้ยงประชากรได้อย่างเพียงพอ จึงอาศัยการค้ากับต่างแดนและการหาอาณานิคมเพื่อยึดพืชผล และทรัพย์สมบัติสู่กรุงโรม เช่น การรบชนะสงครามปิวนิคทำให้โรมได้ครอบครองซิซิลี คาร์เทจ  ซึ่งในคาร์เทจมีข้าวสาลี ปศุสัตว์ และไร่องุ่น

         โรมันได้รับเอาระบบเกษตรกรรมแบบลาติฟุนเดียม (Latifundium) ของกรีกมาใช้ในบริเวณภาคกลางและภาคใต้ ลักษณะของลาติฟุนเดียมมีลักษณะเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ มีบ้านหรูหราอยู่ตรงกลาง มีโรงทาส  คอกสัตว์  โรงทำผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น โรงเหล้า ทำเพื่อการค้าและ ใช้แรงงานทาส   พืชผลที่ปลูกส่วนใหญ่ได้แก่  องุ่นเพื่อทำเหล้าองุ่น  และมะกอกเพื่อทำน้ำมันมะกอก  ภายหลังการขยายระบบการใช้ที่ดินแบบนี้ทำให้ชาวนารายย่อยไม่มีที่ดินเท่ากับต้องอพยพเข้าสู่กรุงโรม

         ทางด้านสังคม ชาวโรมันเป็นคนเชื้อสายอินโด ยูโรเปียน ตามโครงสร้างสังคมแบ่งพลเมืองออกเป็น 2 กลุ่ม คือ พวกแพทริเชียน (Patricians) และพวกเพลเบียน (Plebeians)

         พวกแพทริเชียน คือ กลุ่มผู้ดีมีสกุล มีความมั่งคั่ง ร่ำรวย มีสิทธิในการปกครองสาธารณรัฐ และพยายามรักษาฐานะของตนไว้ด้วยการห้ามแต่งงานกับชนชั้นสามัญ

          พวกเพลเบี่ยน หรือสามัญชน คือ ประชาชนส่วนใหญ่ของชุมชน อันได้แก่ ชาวนา  พ่อค้า ช่างฝีมือ ฯลฯ ไม่มีอำนาจหรือสิทธิทางการเมืองและสังคมเลย  ดังนั้นพวกเพลเบียนได้พยายามยกฐานะของตนโดยการสมัครเข้าเป็นบริวารของพวกแพทริเซียน โดยการยอมรับภาระในการให้บริการแก่นาย และได้รับการพิทักษ์ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน  ตลอดจนโอกาสในการหาเลี้ยงตนเองและครอบครัวจากนาย  ต่อมาในช่วงปี 264 – 146 ก่อนคริสต์ศตวรรษ  การค้าเติบโตเจริญมากขึ้น พวกเพลเบี่ยนที่เป็นพ่อค้าและผู้รับเหมาก่อสร้างร่ำรวยมากขึ้น พวกนี้นิยม  เข้ารับราชการในกองทหารม้าของโรมัน เหตุนี้ทำให้พวกเพลเบี่ยนมีความสำคัญทางสังคม และทางการเมืองมากขึ้น ดังจะเห็นได้ว่าพวกเพลเบี่ยนที่ร่ำรวยได้รับการอนุญาตให้เข้าเป็นสมาชิกสภาเซเนทได้

การค้าภายในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ

 

         การค้าภายในของโรมันมีเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ รัฐเรียกเก็บกำไรหรือภาษีจาก พ่อค้าและเก็บค่าเช่าจากเจ้าของที่ดิน ชาวโรมันส่วนใหญ่ยึดอาชีพปิ้งขนมปัง ตัดเย็บเสื้อผ้า  ก่อสร้าง  ผลิตสินค้าฟุ่มเฟือย รับจ้างขนถ่ายสินค้าทางเรือ ศิลปิน รับจ้างในบ้านหรือราชสำนัก และทุกคนต้องเสียภาษีอากรให้แก่รัฐบาล  การค้าระหว่างประเทศสำหรับการค้าโดยทั่วไปใช้เงินเหรียญเป็นสื่อกลาง โรมันเด่นในด้านการทหารและเมื่อตีชนะดินแดนใดก็ให้ชาวโรมันบริหารครอบครองดินแดนและส่งผลผลิตสู่โรม จนมีคำกล่าวว่า สินค้าออกของโรม คือ กฎหมายและรัฐบาล ที่เป็นการค้าต่างแดนจริงๆ คงมีเป็นส่วนน้อย  สินค้าเข้าของโรม  คือ  เครื่องเทศ  น้ำหอม  ยา  ฝ้าย  เครื่องโลหะ  อัญมณีจากอินเดีย ไหมจากจีน

สร้างโดย: 
น.ส.นฤมล พิมพ์จันทร์ เลขที่ 1 ชั้น ม.6/3 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 370 คน กำลังออนไลน์