• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:26b9b0107a417d96a875cda220fafda6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">เรื่อง ดนตรีสากล</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"> </span><span style=\"font-size: x-small\">ดนตรีสากล เป็นมารดกทางวัฒนธรรมของชาวตะวันตก เริ่มจากการที่ชาวยุโรปมีการบันทึกทำนองเพลงที่เป็นแบบแผนเดียวกันโดยใช้สัญลักษณะที่เรียกว่า   โน้ตสากล และใช้กับเครื่องดนตรีสากลที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.tarad.com/ole_music/img-lib/spd_20070831100359_b.jpg&amp;imgrefurl=http://www.tarad.com/ole_music/product.detail.php%3Flang%3Dth%26cat%3D%26id%3D1205546&amp;usg=__jLOkqBb9HwqYXLXhtJtMMEnbZlw=&amp;h=500&amp;w=500&amp;sz=56&amp;hl=th&amp;start=3&amp;um=1&amp;tbnid=LaeQLe3TOHZpLM:&amp;tbnh=130&amp;tbnw=130&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2594%26um%3D1%26hl%3Dth\"><img width=\"130\" src=\"http://tbn0.google.com/images?q=tbn:LaeQLe3TOHZpLM:http://www.tarad.com/ole_music/img-lib/spd_20070831100359_b.jpg\" height=\"130\" style=\"border: 1px solid\" /></a>\n</p>\n<p>\nดนตรีก่อเกิดเพราะการได้ยินเสียงจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวของมนุษย์ มีการรับรู้ เลียนแบบ ศึกษาจังหวะ <br />\nระดับเสียงความดัง-เบา ความกลมกลืนและแตกต่างของเสียงแต่ละประเภท จากใกล้ตัวที่สุดคือชีพจรการเต้นของหัวใจ <br />\nการเคลื่อนไหวร่างกายไปถึงเสียงจากธรรมชาติและสัตว์นานา <br />\n <br />\nดนตรีสากลหรือดนตรีตะวันตกมีพื้นฐานจากความมุ่งหวังไปสู่ชีวิตที่ดีกว่า จากหลักปรัชญากรีกโบราณในราวช่วงปี 800 <br />\nก่อนคริสตกาล ที่เน้นความสำคัญของการสร้างร่างกายให้แข็งแรงด้วยการเล่นกีฬา และงดงามของจิตใจด้วยศิลปะ <br />\nบทกวี ดนตรี การละครและระบำรำฟ้อน เพื่อสร้างสรรค์ให้มนุษย์สมบูรณ์ <br />\n <br />\nปี 585-479 ก่อนคริสตกาล ชาวกรีกชื่อ ปิธากอรัส คิดค้นทฤษฎีการเกิดเสียงขึ้นจากการคำนวณรอบการสั่นสะเทือน <br />\nของสายเสียง ได้ข้อสรุปว่า &quot;ถ้าสายสั้นกว่าจะได้เสียงที่สูงกว่า ถ้าสายยาวกว่าจะได้เสียงที่ต่ำกว่า&quot; วิชาความรู้และ <br />\nแนวคิดนี้กระจายแพร่หลาย ชื่อเสียงปิธากอรัสเลื่องลือทั่วยุโรป <br />\n <br />\nมีการจำแนกเครื่องดนตรีเป็น 4 ประเภท <br />\n <br />\n1. เครื่องสาย-String ได้แก่ ไวโอลิน วิโอลา เชลโล ดับเบิลเบส พิณ กีตาร์ แบนโจ แมนโดลิน <br />\nบาลาไลกาสืบประวัติเครื่องตระกูลไวโอลินได้ว่ากำเนิดมาจากต้นตอคือ ซอรีเบ็คและซอวิแอล ซึ่งเป็นซอโบราณ <br />\nในสมัยกลาง และซอลิราดาบรัชโช สมัยเรอเนซองซ์ ค.ศ.1600-1750 นับเป็นยุคทองของการประดิษฐ์ <br />\nไวโอลินที่ได้รับการดัดแปลงปรับปรุงจนมีคุณภาพสูงถึงขีดสุดยอด <br />\n <br />\n2. เครื่องเป่าลมไม้ - Woodwind ได้แก่ ฟลุ้ต พิโคโล คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน อิงลิชฮอร์น แซ็กโซโฟน <br />\nรีคอร์เดอร์ แพนไปพ์ ปี่สกอต ออร์แกน(แบบดั้งเดิม) หีบเพลงปาก ยกตัวอย่างฟลุ้ต เครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุด <br />\nพัฒนามาพร้อมกับอารยธรรมมนุษย์ แรกเริ่มทีเดียวมนุษย์ในยุคหินคงหากระดูกสัตว์หรือเขากวางเป็นท่อนกลวง <br />\nหรือไม่ก็ปล้องไม้ไผ่มาเจาะรูแล้วเป่าให้เกิดเสียงต่างๆ วัตถุเหล่านี้เป็นต้นกำเนิดของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าลมไม้ <br />\n <br />\n3. เครื่องเป่าทองเหลือง - Brass ได้แก่ ทรัมเป็ต คอร์เนท เฟรนช์ฮอร์น ทรอมโบน ทูบา ซูซาโฟน ยูโฟเนียม <br />\nยกตัวอย่าง ทรัมเป็ต ประวัติมาไกลถึงแถบเอเชียซึ่งปรากฏหลักฐานว่าชาวจีนเคยใช้แตรที่มีลักษณะคล้ายทรัมเป็ต <br />\nมานานกว่า 4,000 ปี ขณะชาวยุโรปใช้แตรที่มีลำโพงงอเป็นขอในกองทัพ สมัยโบราณยุโรปถือว่าทรัมเป็ต <br />\nเป็นของสูง ผู้ที่จะมีได้หากไม่ใช่พระเจ้าแผ่นดิน เจ้านาย ก็เป็นนักรบชั้นแม่ทัพ <br />\n <br />\n4. เครื่องกระทบ - Percussion ได้แก่ กลองเล็ก กลองใหญ่ กลองเทเนอร์ กลองบองโก กลองทิมปานี ไชนีส <br />\nบ็อกซ์ กรับสเปน ฉาบ ไซไลโฟน ยกตัวอย่างกลองทิมปานี มีต้นกำเนิดแถวอาระเบีย ชาวอาหรับสมัยก่อนจะผูกกลอง 2 <br />\nลูกบนหลังอูฐ สำหรับตีประโคมเวลายกทัพออกศึกหรือยามเคลื่อนคาราวาน แขกมัวร์เป็นผู้นำกลองชนิดนี้เข้ายุโรป <br />\nกลายพันธุ์เป็นเครื่องดนตรีสากลด้วยประการฉะนั้น <br />\n <br />\nเปียโน [Piano] <br />\nเริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลายในปลายคริสตศตวรรษที่18เสียงของเปียโนเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย <br />\nที่ถูกฆ้อนเล็กๆตีสายซึ่งขึงอยู่ข้างในเมื่อผู้เล่นกดคีย์และเมือผู้เล่นยกนิ้วขึ้นสักหลาดชิ้นเล็กๆจะกลับ <br />\nทาบลงบนสายทำให้หยุดความสั่นสะเทือนเสียงก็จะหยุด เปียโนสามารถทำให้เสียงยาวได้โดย <br />\nเหยียบ Pedalเปียโนมีช่วงเสียงกว้างมากสามารถเล่นให้มีเสียงดัง-เบาได้ <br />\nตามความแรงของนิ้วที่กดลงบนคีย์ ชื่อเรียกเต็มคือ เปียโนฟอร์เต้ (Piano-forte) <br />\nเป็นภาษาอิตาเลี่ยน หมายความว่าเล่นได้ทั้งเบาและดัง (piano แปลว่าเบา forte แปลว่าดัง)\n</p>\n<p>\nฮาร์พซิคอร์ด [Harpsichord] <br />\nเป็นต้นตระกูลของเปียโนนิยมเล่นกันแพร่หลายในคริสตศตวรรษ ที่ 16, 17 และ18มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า <br />\nClaveein (ฝรั่งเศส) Clavicembalo (อิตาเลียน)และ Virginal (อังกฤษ) <br />\nมีคีย์คล้ายๆ เปียโนแต่โดยมากมักจะมี 2 ชั้นเสียงเกิดขึ้นเพราะวัตถุคล้าย Prectrum <br />\nของกีต้าร์ เมื่อเวลาผู้เล่นกดคีย์เสียงคล้ายเสียงของ สแปนิชกีต้าร์ สามารถเล่นได้รวดเร็วและชัดเจนแจ่มใส <br />\nแต่เสียงไม่ค่อยจะดังมากนัก\n</p>\n<p>\n<br />\nซินธิไซเซอร์ [Synthesizer] <br />\nซินธิไซเซอร์เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่จัดว่าเป็นเครื่องดนตรีอีเลคโทรนิคที่ปรับปรุงใหม่ซึ่งให้เสียงแตกต่างกันมากมาย <br />\nภายในเครื่องเดียวสร้างความสะดวกให้ผู้เล่นสามารถค้นหาเสียงได้มากมาย\n</p>\n<p>\n<br />\nแอคคอร์เดี้ยน [Accordian] <br />\nดัดแปลงมาจากออร์แกน ใช้หลักการสร้างลมเป่าในหลอดทำเสียงด้วยวิธีชักเข้าและชักออกของถุงลม <br />\nแล้วกดบังคับเสียงจากลิ่มนิ้วเหมือนออร์แกนหีบเพลงชักมีมากมายหลายแบบจนนับไม่ถ้วน\n</p>\n<p>\nรำมะนา [Tambourine] <br />\nมีรูปร่างคล้ายกลองแบนๆ <br />\nขึงด้วยหนังหน้าเดียวขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ10นิ้วรอบๆ ขอบมีลูกกระพรวนติดอยู่เป็นระยะๆ <br />\nเพื่อทำให้เกิดเสียงกรุ๋งกริ๋งเวลาผู้เล่นเขย่าเป็นเครื่องประกอบจังหวะที่พวกเสปน ยิปซี ใช้ประกอบการเต้นรำมาช้านาน <br />\nเป็นเสียงที่ให้ความรู้สึกครึกครื้น สนุกสนาน\n</p>\n<p>\n<br />\nฉาบ [Cymbals] <br />\nเป็นเครื่องประกอบจังหวะที่มีลักษณะเหมือนฉาบของไทย แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก เป็นจานทองเหลืองบางๆ 2 อัน <br />\nมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-24 นิ้ว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง15-16 นิ้ว เป็นขนาดที่ใช้ในวงดุริยางค์ ใช้ตีกระทบกัน <br />\nเป็นเครื่องประกอบจังหวะที่ให้เสียงอึกทึกที่สุด\n</p>\n<p>\n<br />\nกลองชุด [Drumkit] <br />\nประกอบด้วยกลองหลายใบรวมอยู่ด้วยกัน เช่น Bass,Tenor,Snare,Cymbals ใช้ผู้เล่น <br />\nคนเดียวสำหรับBass Drum และ Cymbals ผู้เล่นใช้เท้าเหยียบกระเดื่อง มือทั้งสองถือไม้ตีกลองใบอื่น <br />\nและฉาบด้วย\n</p>\n<p>\n<br />\nกลองทิมปานี [Timpani] <br />\nทิมปานีเป็นกลองที่ปรับระดับเสียงได้รูปร่างคล้ายกระทะ ตั้งอยู่บนฐาน ตัวกลองทำด้วยทองแดง <br />\nใช้หนังลูกวัวขึง มีสกรูอยู่รอบๆ ขอบกลองเพื่อใช้บังคับหนังกลองให้ตึงมากน้อยให้เกิดระดับเสียงที่ต้องการ <br />\nนอกจากสกรูแล้วที่ฐานยังมีกระเดื่องไว้ให้ผู้เล่นเหยียบเปลี่ยนระดับเสียงอุปกรณ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ <br />\nไม้ตีกลอง (Drum Sticks)ซึ่งมีขนาดแตกต่างกัน (ล็ก กลาง ใหญ่) หัวไม้ตีกลอง <br />\nมักจะหุ้มด้วยสักหลาด ผ้า สำลี ไม้ก๊อก หรือ ฟองน้ำเสียงของทิมปานี จะทุ้มมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับเส้นผ่าศูนย์กลาง <br />\nของหน้ากลอง ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางยาวมากเสียงก็จะทุ้มมากถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางสั้น เสียงจะมีความทุ้มน้อย <br />\nเสียงของกลองทิมปานี เทียบได้กับเสียงเบสเป็นเสียงที่แสดงอำนาจตื้นเต้น เร้าใจ กลองทิมปานีใช้ในวงซิม <br />\nโฟนีออร์เคสตร้ามานานแล้ว\n</p>\n<p>\n<br />\nระนาดฝรั่ง [Glockenspiel] <br />\nมีรูปร่างคล้าย Xylophone แต่เล็กกว่า บรรจุไว้ในกระเป๋าคล้ายกระเป๋าเดินทาง เวลาใช้ <br />\nจะตั้งบนโต๊ะผู้เล่นยืนเล่นลูกระนาดทำด้วยแผ่นเหล็กมีไม้ตี มีเสียงดังกังวาน คล้ายระฆังเล็กมีวิวัฒนาการมาจาก <br />\nระฆังในโบสถ์ หลายๆใบเรียงกัน\n</p>\n<p>\n<br />\nระนาดฝรั่ง [Xylophone] <br />\nลูกระนาดทำด้วยไม้ขนาดสั้นยาวลดหลั่นกัน วางตามแนวนอนมีขาตั้งติดมากับตัว ลูกระนาดวางราบบนรางที่มีหมุดตรึงไว้ <br />\nไม้ตีเป็นไม้นวมหรือไม้มีผ้าหุ้ม หรืออาจจะเป็นกระดาษพิเศษใต้ลูกระนาดจะมีหลอดยาวต่อลงมาเพื่อให้เสียงดังกังวาน <br />\nไพเราะเพิ่มขึ้นระนาดฝรั่งต่างจากระนาดไทยคือ ระนาดไทยจะเรียงติดกันเป็นพืดแต่ระนาดฝรั่งจะแบ่งออกเป็น 2 ชั้น <br />\nชั้นล่างเป็นเสียงปกติชั้นบนจะเป็นเสียงห่างครึ่งเสียงเหมือนKeyboard ชึ่งจะทำให้มีช่วงเสียงกว้างมากขึ้น <br />\nXylophone มีเสียงแกร่งสั้น ห้วน และชัดเจนมีขนาดใหญ่กว่า Glockenspiel\n</p>\n<p>\n<br />\nคลาริเนต [Clarinet] <br />\nเป็นเครื่องเป่าลมไม้ที่มีลิ้นเดี่ยว(Single Reed)ประดิษฐ์ขึ้นในเยอรมันนี เมื่อต้นคริสตศตวรรษ ที่ 17 <br />\nเสียงของคลาริเนตมีความกว้างมากหวานกังวานไม่แพ้เครื่องเป่าชนิดใดถือเป็นตัวเอกในบรรดาเครื่องลมไม้ <br />\nเป็นเครื่องเป่าสำคัญขนิดหนึ่งในวงออร์เคสตร้า และวงโยธวาทิต\n</p>\n<p>\n<br />\nแซกโซโฟน [Saxophone] <br />\nเป็นเครื่องเป่าลมไม้ที่มีลิ้นเดี่ยว(Single Reed)ปากทำด้วยไม้ แต่ตัวทำด้วยทองเหลือง <br />\nมีลักษณะผสมผสานระหว่างเครื่องเป่าลมไม้กับเครื่องทองเหลืองตามประวัติว่ามีนักเป่าคลาริเนตคนหนึ่ง <br />\nชื่อว่านายSaxเป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้นจึงให้ชื่อว่า Saxophone ใช้ในวงOrchestraในบางโอกาส <br />\nที่ใช้มากในวง Jazz , Big band และวงโยธวาทิตจริงแล้ว Saxophone มีหลายชนิด <br />\nคือ Soprano, alto, tenor, Baritone และ Bass ซึ่งเรียงลำดับ <br />\nจากเสียงสูงสุด จนถึงต่ำสุด\n</p>\n<p>\n<br />\nโอโบ [Oboe] <br />\nจัดอยู่ในจำพวกที่มีลิ้นคู่(Double Reed)มีเสียงที่ไพเราะ สะกดใจคนได้มาก <br />\nตามประวัติเกิดในฝรั่งเศสประมาณ ศตวรรษที่ 17ปัจจุบันเป็นเครื่องเป่าชั้นนำในวงออร์เคสตร้า <br />\nมีลักษณะคล้ายคลาริเนตยกเว้นตรงปากเป่าจะเป็นท่อยาว ตัวความยาวประมาณ 2 ฟุต <br />\nประโยชน์อย่างหนึ่งของโอโบคือ ใช้เป็นเครื่องเทียบหรือแต่งเสียงในวงออร์เคสตร้า\n</p>\n<p>\n<br />\nบาซูน [Bassoon] <br />\nเป็นเครื่องลมไม้ที่จัดอยู่ในประเภทลิ้นคู่ (Double Reed)และให้เสียงที่ต่ำที่สุด ไม่แจ่มใส ให้ความรู้สึกหม่นหมอง <br />\nเสียงแหบเหมือนผี มักไม่ค่อยมีใครนำมาบรรเลงเดี่ยวในประวัติมีเพียง โมสาร์ท เพียงคนเดียว <br />\nที่กล้านำมาใช้ในเพลงคอนแชร์โต้ส่วนใหญ่ใช้เป็นเสียงประสานหรือทำเสียงประหลาด ๆ <br />\nน่ากลัวบาสชูน มีท่อลมใหญ่ และมีความยาวถึง 109 นิ้ว ผู้ประดิษฐ์จึงเอามาทบกันจนมีความยาว <br />\nเหลือเพียง 50 นิ้ว และเนื่องจากมีน้ำหนักมาก จึงจำเป็นต้องใช้เชือกถักติดกับตัวปี่แล้วคล้องคอผู้เล่น\n</p>\n<p>\nพิคโคโล [Piccolo] <br />\nเป็นเครื่องเป่าลมไม้ที่จัดอยู่ในจำพวกไม่มีลิ้นลักษณะเหมือนฟลุตแต่เล็กกว่า ความยาวประมาณ 12 นิ้ว <br />\nจึงทำให้เสียงที่ออกมาสูง แหลมคมกว่าฟลุต ให้ความรู้สึกร่าเริง พริ้วไหวเสียงจะได้ยินชัดเจนแม้อยู่ในวงโยธวาทิต <br />\nซึ่งกำลังบรรเลงด้วยเครื่องเป่าอื่นๆ มากมาย วิธีการจับขลุ่ยปิคโคโล จับยึดด้วยมือทั้งสองให้ตัวขลุ่ย <br />\nปัดหางไปทางขวา เป่าลมไปที่รูอยู่เกือบริมซ้าย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nรีคอร์ดเดอร์ [Recorder] <br />\nเป็นเครื่องลมไม้ชนิดที่ไม่มีลิ้น มีหลายระดับเสียงมากมาย ตั้งแต่ Sopranino, Soprano, <br />\nAlto, Tenor และ Bass ขนาดก็จะลดหลั่นกันลงมาจากเสียงต่ำสุด จะใหญ่สุด <br />\nเสียงสูงสุดก็จะเป็นตัวที่เล็กสุด เวลาจะเป่าใช้ปากอมส่วนที่เป็นปากแล้วจึงเป่าออกไป <br />\nต้องการเสียงใดก็ขยับนิ้วที่ปิดรูอยู่ข้างๆ\n</p>\n<p>\n<br />\nเฟร้นช์ฮอร์น [French Horn] <br />\nทำเลียนแบบมาจากเขาสัตว์ที่นักล่าสัตว์และคนเลี้ยงแกะใช้เป่ามาแต่โบราณต่อมาทำด้วยทองเหลือง <br />\nได้มีการปรับปรุงทำเสียงให้กว้างนอกจากจะใช้ริมฝีปากแล้วยังมีเครื่องบังคับเสียงเป็นพิเศษ <br />\nอยู่ที่ตัวฮอร์นผู้บรรเลงจะใช้นิ้วกดลงบนแป้นเล็กๆเสียงสดใสและแหลมเล็กจะเล่นให้อ่อนหวานก็ได้ <br />\nให้เสียงกังวานสง่าก็ได้ให้ช้าและโศกเศร้าก็ได้กล่าวกันว่าเสียงของฮอร์นนั้นดังกังวานสง่าผ่าเผย <br />\nยากจะหาเครื่องดนตรีอื่นใดเทียบได้\n</p>\n<p>\n<br />\nทรัมเปต [Trumpet] <br />\nเสียงของทรัมเป็ตสูงที่สุดในประเภทเดียวกันมีพลัง ดังชัดแจ๋วและออกจะหนักไปทางแปร๊ดๆ อยู่สักหน่อย <br />\nถ้าเป่าให้ดังลั่นเต็มที่บางคนอาจรู้สึกแสบแก้วหูแต่ก็สามารถเป่าเบา ทำเสียงพร่าๆ เหมือนกระซิบก็ทำได้ <br />\nนับเป็นลักษณะพิเศษทีเดียวปัจจุบันทรัมเป็ตจัดเข้าอยู่ในวงออร์เคสตร้าวงแจ๊ส และอื่นๆ\n</p>\n<p>\n<br />\nทรอมโบน [Trombone] <br />\nประกอบด้วยหลอดยาวๆ เป็นปากเป่าและปากบาน มีหลอดซ้อนสำหรับชักเข้า-ออก ให้มีระยะยาวสั้น <br />\nเพื่อเปลี่ยนเสียงอย่างรวดเร็วฟังตื่นเต้นเร้าใจ ใช้บรรเลงในวงออร์เคสตร้า แจ๊ส และวงเครื่องทองเหลือง <br />\nเสียงของทรอมโบนดังคล้ายๆ ฮอร์น แต่มีช่วงกังวาน เนื่องจากเสียงไม่ค่อยจะสดใส จึงเหมาะที่จะทำเป็นเสียงแหบๆ <br />\nเหมือนคนเป็นหวัด หรือเสียงอ้อๆแอ้ๆได้ดีมาก ทรอมโบนมีเสียงที่ทุ้มกว่าทรัมเป็ต จึงมีคนกล่าวว่า <br />\nเป็นเบสของทรัมเปต\n</p>\n<p>\n<br />\nไวโอลิน [Violin] <br />\nเริ่มมีปรากฏใช้ในศตวรรษที่ 17 ไวโอลินมี 4 สายเสียงดังแหลมเล็กกังวาน เป็นเครื่องดนตรีเอก <br />\nในวงซิมโฟนีออร์เคสตร้าซึ่งจะใช้ไวโอลินมากที่สุดถึง 32 คันเป็นไวโอลินมือหนึ่ง(First Violin) <br />\n16 คันเป็นไวโอลินมือสอง (Second Violin) อีก 16 คันไวโอลินมือหนึ่งสีทำนอง <br />\nส่วนไวโอลินมือสองคอยประสาน\n</p>\n<p>\n<br />\nวิโอลา [Viola] <br />\nลักษณะเหมือนไวโอลินทุกประการ วิธีการเล่นก็เหมือนกันต้องสังเกตุจึงจะทราบว่ามีขนาดใหญ่กว่าเพียงเล็กน้อย <br />\nในแง่น้ำเสียงหรือสีสันของเสียง(Tone Color) เกือบเหมือนกันวิโอล่าใช้เล่นเดี่ยวน้อยกว่าไวโอลิน\n</p>\n<p>\n<br />\nกีต้าร์[Guitar] <br />\nตามประวัติมีกำเนิดจากสเปน แล้วแพร่ไปทั่วโลกปัจจุบันยังยอมรับว่ากีตาร์สเปนมีชื่อเสียงที่สุดนิยมบรรเลง <br />\nในวงดนตรีสมัยใหม่ กีตาร์มี 6 สายสายเอก (ที่มีเสียงสูงสุด) ทำด้วยเอ็น หรือไนล่อนสายอื่นๆ <br />\nจะทำด้วยไหมพิเศษหุ้มด้วยขดลวดเงินขนาดเล็กปลายสายจะตรึงด้วยหมุดมีปุ่มปรับสายให้ตึงหย่อนตามต้องการ <br />\nต่อมากีตาร์ได้ปรับปรุงเป็นกีตาร์ไฟฟ้า โดยต่อสายจากตัวกีตาร์ ไปยังลำโพงและเครื่องขยายเสียง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nประวัติความเป็นมาของกีตาร์\n</p>\n<p>\n<br />\nกีตาร์ถือเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่งของมนุษย์เพียงแต่ชื่อเรียกและรูปร่างย่อมแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย <br />\nซึ่งเริ่มเป็นที่นิยมในแถบเปอร์เซียและตะวันออกกลางหลายประเทศต่อมาได้เผยแพร่ไปยังกรุงโรมโดยชาวโรมันหรือชาวมัวร์ <br />\nจากนั้นก็เริ่มได้รับความนิยมในสเปน ในยุโรปกีตาร์มักเป็นที่นิยมในหมู่ชนชั้นสูง และมีเชื้อพระวงศ์หลายพระองค์ที่ให้ความสนใจ <br />\nและศึกษาอย่างเช่น Queen Elizabeth I ซึ่งโปรดกับ Lute ซึ่งถือว่าเป็นต้นแบบของกีตาร์ก็ว่าได้ <br />\nแต่การพัฒนาที่แท้จริงนั้นได้เกิดจากการที่นักดนตรีได้นำมันไปแสดงหรือเล่นร่วมกับวงดนตรีของประชาชนทั่ว ๆ ไปทำให้มีการ <br />\nเผยแพร่ไปยังระดับประชาชนจนได้มีการนำไปผสมผสานเข้ากับเพลงพื้นบ้านทั่ว ๆ ไปและเกิดแนวดนตรีในแบบต่าง ๆ มากขึ้น <br />\n <br />\nผู้หนึ่งที่สมควรจะกล่าวถึงเมื่อพูดถึงประวัติของกีตาร์ก็คือ Fernando Sor ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีความสำคัญ <br />\nและมีอิทธิพลต่อวงการกีตาร์เป็นอันมากเนื่องจาการอุทิศตนให้กับการพัฒนารูปแบบการเล่นกีตาร์เทคนิคต่าง ๆ และได้แต่งตำราไว้มากมาย <br />\nในปี 1813 เขาเดินทางไปยังปารีตซึ่งเขาได้รับความสำเร็จและความนิยมอย่างมาก จากนั้นก็ได้เดินทางไปยังลอนดอนโดย <br />\nพระราชูปถัมป์ของ Duke of Sussex และที่นั่นการแสดงของเขาทำให้กีตาร์เริ่มได้รับความนิยม จากอังกฤษเขาได้เดินทาง <br />\nไปยังปรัสเซีย รัสเซียและได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากชาวเมืองเซนต์ ปีเตอร์เบิร์ก ซึ่งที่นั่นเขาได้แต่งเพลงที่มีความสำคัญอย่างมาก <br />\nเพลงหนึ่งถวายแก่พระเจ้า Nicolus I จากนั้นเขาก็ได้กลับมายังปารีตจนกระทั่งเสียชีวิตเมื่อปี 1839 หลังจากนั้นได้มีการเรียนี <br />\nการสอนทฤษฎีกีตาร์ที่เด่นชัดและสมบูรณ์มากขึ้น ทำให้กีตาร์ได้รับการพัฒนาอย่างมาก <br />\n <br />\nหลังจากนั้นมีอีกผู้หนึ่งที่มีความสำคัญต่อกีตาร์เช่นกันคือ Francisco Tarrega (1854-1909) <br />\nซึ่งเกิดมาในครอบครัวที่ยากจนแต่ด้วยความสามารถด้านดนตรีของเขาก็ทำให้เขาประสบความสำเร็จจนได้จากการแสดง <br />\nณ Alhambra Theaterจากนั้นเขาได้เดินทางไปยัง Valencia, Lyons และ Paris <br />\nเขาได้รับการยกย่องว่าได้รวมเอาคุณสมบัติของเครื่องดนตรี 3 ชนิดมารวมกันคือ ไวโอลิน, เปียโน และ รวมเข้ากับเสียงของกีตาร์ <br />\nได้อย่างไพเราะกลมกลืน ทุกคนที่ได้ฟังเขาเล่นต่างบอกว่าเขาเล่นได้อย่างมีเอกลักษณ์และสำเนียงที่มีความไพเราะน่าทึ่ง หลังจาก <br />\nเขาประสบความสำเร็จใน London, Brussels, Berne และ Rome เขาก็ได้เดินทางกลับบ้าน <br />\nและได้เริ่มอุทิศตนให้กับการแต่งเพลงและสอนกีตาร์อย่างจริงจัง ซึ่งนักกีตาร์ในรุ่นหลัง ๆ ได้ยกย่องว่าเขาเป็นผู้ริเริ่มการสอนกีตาร์ยุคใหม่ <br />\n <br />\nอีกคนหนึ่งที่จะขาดไม่ได้คือ Andres Sergovia ผู้ซึ่งเดินทางแสดงและเผยแพร่กีตาร์มาแล้วเกือบทั่วโลกเพื่อให้ <br />\nคนได้รู้จักกีตาร์มากขึ้น (แต่คงไม่ได้มาเมืองไทยนะครับ) ทั้งการแสดงเดี่ยวหรือเล่นกับวงออเคสตร้า จนเป็นแรงบันดาลใจให้มีการแต่งตำรา <br />\nและบทเพลงของกีตาร์ขึ้นมาอีกมากมาย อันเนื่องมาจากการเผยแพร่ความรู้ในเรื่องกีตาร์อย่างเปิดเผยและจริงจังของเขาผู้นี้ <br />\nนอกจากนี้ผลงานต่าง ๆของเขาได้ทำให้ประวัติศาสตร์กีตาร์เปลี่ยนหน้าใหม่เพราะทำให้นักีตาร์ได้มีโอกาสแสดงใน concert hall <br />\nมากขึ้น และทำให้เกิดครูและหลักสูตรกีตาร์ขึ้นในโรงเรียนดนตรีอีกด้วย <br />\n <br />\nสำหรับการร้องไปพร้อมกับกีตาร์ได้เริ่มมีขึ้นเมื่อสามารถปรับให้ระดับเสียงของกีตาร์นั้นเข้ากับเสียงร้องได้ <br />\nซึ่งผมเข้าใจว่าในอดีตกีตาร์มีไว้บรรเลงมากกว่าแต่เมื่อสามารถผสมผสานเสียงของกีตาร์กับเสียงร้องได้การร้องคลอไปกับกีตาร์ <br />\nจึงเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้น นักร้องนักกีตาร์(คือทั้งเล่นทั้งร้อง) น่าจะมาจากนักร้องในยุคกลางซึ่งเป็นชนชั้นสูงได้ปลีกตัวไปทำงาน <br />\nในแบบที่เป็นอิสระและอยากจะทำจึงมีการผสมกันกับรูปแบบของดนตรีพื้นบ้านมากขึ้น ซึ่งงานดนตรีจึงแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ <br />\n1. เป็นงานประพันธ์เพื่อจรรโลกโลกหรือมีความจริงจังในทางดนตรีเพื่อการแสดงเป็นส่วนใหญ่ ก็คือเพลงคลาสสิกนั่นเอง <br />\n2. งานที่สร้างจากคนพื้นบ้านจากการถ่ายทอดจากพ่อสู่ลูกลูกสู่หลาน เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและสภาพความเป็นอยู่ <br />\nแสดงถึงวิถีการดำเนินชีวิต ใช้ในการผ่อนคลายจากการงานความทุกข์ความยากจน เล่าเหตุการณ์ต่าง ๆ อันได้มาจากประสบการณ์ <br />\nหรือสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวขณะนั้นจึงมีความเป็นธรรมชาติอยู่มากและโดยที่ทั้ง 2 ส่วนดังกล่าวได้มีการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้ <br />\nซึ่งกันและกันอยู่ตลอดเวลาจากอดีตถึงปัจจุบันจนมีการซึมซับเข้าไปยังเนื้อเพลงและทำนองเพลงทำให้เกิดรูปแบบของดนตรีในแบบใหม่ ๆ <br />\nมากขึ้นเรื่อย ๆ <br />\n <br />\nในอเมริกา ผู้ที่เข้าไปอาศัยได้นำเอาดนตรีและการเต้นรำของพวกเขาเข้ามาด้วยเช่นพวกทหาร นักสำรวจ พวกเคาบอยหรือคนงาน <br />\nเหมืองทำให้มีการผสมผสานกันในรูปแบบของดนตรีและที่สำคัญที่สุดคือพวก อเมริกัน นิโกร ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในฐานะทาสซึ่งเป็น <br />\nผู้ให้กำเนิดเพลงบลูส์นั่นเองซึ่งส่วนใหญ่แสดงถึงความยากลำบาก ความยากจนถ่ายทอดมาในบทเพลงสไตล์ของพวกเขาเพื่อได้ผ่อนคลาย <br />\nจากความเหนื่อยยากและเล่นง่าย ๆ ด้วยกีตาร์กับเม้าท์ออร์แกนเป็นต้น ซึ่งเพลงบลูส์นั่นเองที่เป็นพื้นฐานของดนตรีอีกหลาย ๆ ประเภท <br />\nไม่ว่าจะเป็นเพลงร็อคหรือแจ๊สในปัจจุบัน จนเดี๋ยวนี้กีตาร์มีความสำคัญกับดนตรีแทบทุกชนิด <br />\n <br />\nแม้ว่ากีตาร์จะถูกสร้างมาหลายรูปแบบแต่แบบที่ถือว่าดีที่สุดคงเป็นแบบ สแปนนิช 6 สาย ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาที่ดีอย่างมาก <br />\nทั้งด้านการประดิษฐ์และด้านเทคนิค ซึ่งสามารถใช้เล่นในงานแสดงคอนเสิร์ท(หมายถึงดนตรีคลาสสิก) หรือเล่นเพลงทั่ว ๆ ไป <br />\nทำให้รูปทรงกีตาร์แบบนี้เป็นที่นิยมจนปัจจุบัน เริ่มจากในศตวรรษที่ 18 ได้มีการเปลี่ยนจากสายที่เป็นสายคู่มาเป็นสายเดี่ยวและเปลี่ยนจาก <br />\n5 สายเป็น 6 สาย ช่างทำกีตาร์ในยุคศตวรรษที่ 19 ได้ขยายขนาดของ body เพิ่มส่วนโค้งของสะโพกลดส่วนผิวหน้าที่นูนออกมา <br />\nและเปลี่ยนแปลงโครงยึดภายใน ลูกบิดไม้แบบเก่าถูกเปลี่ยนเป็นแบบใหม่ ในยุคเดียวกันนี้ Fernando Sor ซึ่งได้กล่าวมา <br />\nในข้างต้นแล้วเป็นผูที่พัฒนาและทำให้เครื่องดนตรีนี้เป็นที่ยอมรับและใช้ในการแสดงได้จนกระทั่งมาถึงยุคของ Andres Segovia <br />\nได้คิดดัดแปลงให้สามารถใช้กับไฟฟ้าได้ ซึ่งเป็นความพัฒนาอีกระดับของเพลงป๊อปในอเมริกาในช่วง 1930 กีตาร์ไฟฟ้าต้นแบบช่วงนั้น <br />\nเป็นแบบทรงตันและหลักการนำเสียงจากกีตาร์ไปผสมกับกระแสไฟฟ้าแล้วขยายเสียงออกมานั้นทำให้นักดนตรีและนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน <br />\nซึ่งชื่อเขาพวกเรารู้จักกันดีในนามของโมเดลหนึ่งของกิ๊บสันนั่นก็คือ Les Paul ได้พัฒนาจากต้นแบบดังกล่าว มาเป็นแบบ <br />\nsolid body กีตาร์ หรือกีตาร์ไฟฟ้าที่เราเห็นในปัจจุบันนั่นแหละครับซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญมากของดนตรียุคนั้นและทำให้กีตาร์ <br />\nเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมอย่างมากในช่วงปี 1940 <br />\n <br />\nหลังจากนั้นในต้นปี 1940 นักประดิษฐ์ชาวแคลิฟอเนียอีกคนซึ่งเราก็รู้จักชื่อเขาในนามของยี่ห้อกีตาร์ที่สุดยอดอีกยี่ห้อหนึ่งนั่นก็คือ <br />\nLeo Fender เขาได้ประดิษฐ์กีตาร์และเครื่องขยายเสียงในร้านซ่อมวิทยุของเขา เขาได้สร้างเครื่องขยายเสียงแต่ขณะนั้นไม่มี <br />\nปุ่มคอนโทรลต่าง ๆ เช่นปัจจุบัน และใช้กับกีตาร์ของเขาซึ่งมีปุ่มควบคุมเสียงดังเบาและทุ้มแหลมซึ่งเป็นต้นแบบกีตาร์ไฟฟ้ายุคใหม่ <br />\nเขาไม่ได้หยุดแค่นั้นด้วยเทคโนโลยีขณะนั้นเขารู้ว่าเขาน่าจะดัดแปลงกีตาร์โปร่งให้สามารถใช้กับเครื่องขยายเสียงได้และความพยายาม <br />\nเขาก็สำเร็จจนได้ในปี 1948 และได้กีตาร์ที่ชื่อว่า Telecaster (คงคุ้นหูกันนะครับ) ซึ่งชื่อเดิมที่เขาใช้เรียกคือ <br />\nBroadcaster แต่คำว่า tele เป็นที่ติดปากกันมากกว่าและถือว่าเป็นกีตาร์ไฟฟ้าทรงตันในรูปทรงสแปนนิสรุ่นแรกที่ซื้อขายกัน <br />\nในเชิงพานิชย์และได้รับความนิยมอย่างมากจนกระทั่งปัจจุบัน <br />\n <br />\nปัจจุบันสำหรับกีตาร์มีพร้อมแล้วทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นรูปร่างรูปทรงประเภทต่าง ๆ ให้เลือกเล่นตามใจชอบ สไตล์เพลงหลากหลายสไตล์ <br />\nโรงเรียนสอน ตำราต่าง ๆ ให้ศึกษามากมายแต่แนนอนการพัฒนาย่อมไม่มีวันหยุดไม่แน่ในอนาคตคุณอาจเป็นคนหนึ่งที่สร้างอะไรใหม่ ๆ <br />\nให้กีตาร์จนโลกต้องบันทึกไว้ก็ได้\n</p>\n', created = 1726846843, expire = 1726933243, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:26b9b0107a417d96a875cda220fafda6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:64f51905eacfe5e8ef9456c665cc5223' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ทำไมไม่มีพวก</p>\n<p>ดับเบิ้ลเฟรชฮอร์น ออโตฮอร์น อิงลิชฮอร์น อีแฟล็ทอัลโตฮอร์น บีแฟรตฮอร์น </p>\n<p>อ่ะครับ</p>\n', created = 1726846843, expire = 1726933243, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:64f51905eacfe5e8ef9456c665cc5223' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดนตรีสากล

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


เรื่อง ดนตรีสากล

 ดนตรีสากล เป็นมารดกทางวัฒนธรรมของชาวตะวันตก เริ่มจากการที่ชาวยุโรปมีการบันทึกทำนองเพลงที่เป็นแบบแผนเดียวกันโดยใช้สัญลักษณะที่เรียกว่า   โน้ตสากล และใช้กับเครื่องดนตรีสากลที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง

ดนตรีก่อเกิดเพราะการได้ยินเสียงจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวของมนุษย์ มีการรับรู้ เลียนแบบ ศึกษาจังหวะ
ระดับเสียงความดัง-เบา ความกลมกลืนและแตกต่างของเสียงแต่ละประเภท จากใกล้ตัวที่สุดคือชีพจรการเต้นของหัวใจ
การเคลื่อนไหวร่างกายไปถึงเสียงจากธรรมชาติและสัตว์นานา
 
ดนตรีสากลหรือดนตรีตะวันตกมีพื้นฐานจากความมุ่งหวังไปสู่ชีวิตที่ดีกว่า จากหลักปรัชญากรีกโบราณในราวช่วงปี 800
ก่อนคริสตกาล ที่เน้นความสำคัญของการสร้างร่างกายให้แข็งแรงด้วยการเล่นกีฬา และงดงามของจิตใจด้วยศิลปะ
บทกวี ดนตรี การละครและระบำรำฟ้อน เพื่อสร้างสรรค์ให้มนุษย์สมบูรณ์
 
ปี 585-479 ก่อนคริสตกาล ชาวกรีกชื่อ ปิธากอรัส คิดค้นทฤษฎีการเกิดเสียงขึ้นจากการคำนวณรอบการสั่นสะเทือน
ของสายเสียง ได้ข้อสรุปว่า "ถ้าสายสั้นกว่าจะได้เสียงที่สูงกว่า ถ้าสายยาวกว่าจะได้เสียงที่ต่ำกว่า" วิชาความรู้และ
แนวคิดนี้กระจายแพร่หลาย ชื่อเสียงปิธากอรัสเลื่องลือทั่วยุโรป
 
มีการจำแนกเครื่องดนตรีเป็น 4 ประเภท
 
1. เครื่องสาย-String ได้แก่ ไวโอลิน วิโอลา เชลโล ดับเบิลเบส พิณ กีตาร์ แบนโจ แมนโดลิน
บาลาไลกาสืบประวัติเครื่องตระกูลไวโอลินได้ว่ากำเนิดมาจากต้นตอคือ ซอรีเบ็คและซอวิแอล ซึ่งเป็นซอโบราณ
ในสมัยกลาง และซอลิราดาบรัชโช สมัยเรอเนซองซ์ ค.ศ.1600-1750 นับเป็นยุคทองของการประดิษฐ์
ไวโอลินที่ได้รับการดัดแปลงปรับปรุงจนมีคุณภาพสูงถึงขีดสุดยอด
 
2. เครื่องเป่าลมไม้ - Woodwind ได้แก่ ฟลุ้ต พิโคโล คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน อิงลิชฮอร์น แซ็กโซโฟน
รีคอร์เดอร์ แพนไปพ์ ปี่สกอต ออร์แกน(แบบดั้งเดิม) หีบเพลงปาก ยกตัวอย่างฟลุ้ต เครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุด
พัฒนามาพร้อมกับอารยธรรมมนุษย์ แรกเริ่มทีเดียวมนุษย์ในยุคหินคงหากระดูกสัตว์หรือเขากวางเป็นท่อนกลวง
หรือไม่ก็ปล้องไม้ไผ่มาเจาะรูแล้วเป่าให้เกิดเสียงต่างๆ วัตถุเหล่านี้เป็นต้นกำเนิดของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าลมไม้
 
3. เครื่องเป่าทองเหลือง - Brass ได้แก่ ทรัมเป็ต คอร์เนท เฟรนช์ฮอร์น ทรอมโบน ทูบา ซูซาโฟน ยูโฟเนียม
ยกตัวอย่าง ทรัมเป็ต ประวัติมาไกลถึงแถบเอเชียซึ่งปรากฏหลักฐานว่าชาวจีนเคยใช้แตรที่มีลักษณะคล้ายทรัมเป็ต
มานานกว่า 4,000 ปี ขณะชาวยุโรปใช้แตรที่มีลำโพงงอเป็นขอในกองทัพ สมัยโบราณยุโรปถือว่าทรัมเป็ต
เป็นของสูง ผู้ที่จะมีได้หากไม่ใช่พระเจ้าแผ่นดิน เจ้านาย ก็เป็นนักรบชั้นแม่ทัพ
 
4. เครื่องกระทบ - Percussion ได้แก่ กลองเล็ก กลองใหญ่ กลองเทเนอร์ กลองบองโก กลองทิมปานี ไชนีส
บ็อกซ์ กรับสเปน ฉาบ ไซไลโฟน ยกตัวอย่างกลองทิมปานี มีต้นกำเนิดแถวอาระเบีย ชาวอาหรับสมัยก่อนจะผูกกลอง 2
ลูกบนหลังอูฐ สำหรับตีประโคมเวลายกทัพออกศึกหรือยามเคลื่อนคาราวาน แขกมัวร์เป็นผู้นำกลองชนิดนี้เข้ายุโรป
กลายพันธุ์เป็นเครื่องดนตรีสากลด้วยประการฉะนั้น
 
เปียโน [Piano]
เริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลายในปลายคริสตศตวรรษที่18เสียงของเปียโนเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย
ที่ถูกฆ้อนเล็กๆตีสายซึ่งขึงอยู่ข้างในเมื่อผู้เล่นกดคีย์และเมือผู้เล่นยกนิ้วขึ้นสักหลาดชิ้นเล็กๆจะกลับ
ทาบลงบนสายทำให้หยุดความสั่นสะเทือนเสียงก็จะหยุด เปียโนสามารถทำให้เสียงยาวได้โดย
เหยียบ Pedalเปียโนมีช่วงเสียงกว้างมากสามารถเล่นให้มีเสียงดัง-เบาได้
ตามความแรงของนิ้วที่กดลงบนคีย์ ชื่อเรียกเต็มคือ เปียโนฟอร์เต้ (Piano-forte)
เป็นภาษาอิตาเลี่ยน หมายความว่าเล่นได้ทั้งเบาและดัง (piano แปลว่าเบา forte แปลว่าดัง)

ฮาร์พซิคอร์ด [Harpsichord]
เป็นต้นตระกูลของเปียโนนิยมเล่นกันแพร่หลายในคริสตศตวรรษ ที่ 16, 17 และ18มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
Claveein (ฝรั่งเศส) Clavicembalo (อิตาเลียน)และ Virginal (อังกฤษ)
มีคีย์คล้ายๆ เปียโนแต่โดยมากมักจะมี 2 ชั้นเสียงเกิดขึ้นเพราะวัตถุคล้าย Prectrum
ของกีต้าร์ เมื่อเวลาผู้เล่นกดคีย์เสียงคล้ายเสียงของ สแปนิชกีต้าร์ สามารถเล่นได้รวดเร็วและชัดเจนแจ่มใส
แต่เสียงไม่ค่อยจะดังมากนัก


ซินธิไซเซอร์ [Synthesizer]
ซินธิไซเซอร์เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่จัดว่าเป็นเครื่องดนตรีอีเลคโทรนิคที่ปรับปรุงใหม่ซึ่งให้เสียงแตกต่างกันมากมาย
ภายในเครื่องเดียวสร้างความสะดวกให้ผู้เล่นสามารถค้นหาเสียงได้มากมาย


แอคคอร์เดี้ยน [Accordian]
ดัดแปลงมาจากออร์แกน ใช้หลักการสร้างลมเป่าในหลอดทำเสียงด้วยวิธีชักเข้าและชักออกของถุงลม
แล้วกดบังคับเสียงจากลิ่มนิ้วเหมือนออร์แกนหีบเพลงชักมีมากมายหลายแบบจนนับไม่ถ้วน

รำมะนา [Tambourine]
มีรูปร่างคล้ายกลองแบนๆ
ขึงด้วยหนังหน้าเดียวขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ10นิ้วรอบๆ ขอบมีลูกกระพรวนติดอยู่เป็นระยะๆ
เพื่อทำให้เกิดเสียงกรุ๋งกริ๋งเวลาผู้เล่นเขย่าเป็นเครื่องประกอบจังหวะที่พวกเสปน ยิปซี ใช้ประกอบการเต้นรำมาช้านาน
เป็นเสียงที่ให้ความรู้สึกครึกครื้น สนุกสนาน


ฉาบ [Cymbals]
เป็นเครื่องประกอบจังหวะที่มีลักษณะเหมือนฉาบของไทย แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก เป็นจานทองเหลืองบางๆ 2 อัน
มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-24 นิ้ว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง15-16 นิ้ว เป็นขนาดที่ใช้ในวงดุริยางค์ ใช้ตีกระทบกัน
เป็นเครื่องประกอบจังหวะที่ให้เสียงอึกทึกที่สุด


กลองชุด [Drumkit]
ประกอบด้วยกลองหลายใบรวมอยู่ด้วยกัน เช่น Bass,Tenor,Snare,Cymbals ใช้ผู้เล่น
คนเดียวสำหรับBass Drum และ Cymbals ผู้เล่นใช้เท้าเหยียบกระเดื่อง มือทั้งสองถือไม้ตีกลองใบอื่น
และฉาบด้วย


กลองทิมปานี [Timpani]
ทิมปานีเป็นกลองที่ปรับระดับเสียงได้รูปร่างคล้ายกระทะ ตั้งอยู่บนฐาน ตัวกลองทำด้วยทองแดง
ใช้หนังลูกวัวขึง มีสกรูอยู่รอบๆ ขอบกลองเพื่อใช้บังคับหนังกลองให้ตึงมากน้อยให้เกิดระดับเสียงที่ต้องการ
นอกจากสกรูแล้วที่ฐานยังมีกระเดื่องไว้ให้ผู้เล่นเหยียบเปลี่ยนระดับเสียงอุปกรณ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ
ไม้ตีกลอง (Drum Sticks)ซึ่งมีขนาดแตกต่างกัน (ล็ก กลาง ใหญ่) หัวไม้ตีกลอง
มักจะหุ้มด้วยสักหลาด ผ้า สำลี ไม้ก๊อก หรือ ฟองน้ำเสียงของทิมปานี จะทุ้มมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับเส้นผ่าศูนย์กลาง
ของหน้ากลอง ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางยาวมากเสียงก็จะทุ้มมากถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางสั้น เสียงจะมีความทุ้มน้อย
เสียงของกลองทิมปานี เทียบได้กับเสียงเบสเป็นเสียงที่แสดงอำนาจตื้นเต้น เร้าใจ กลองทิมปานีใช้ในวงซิม
โฟนีออร์เคสตร้ามานานแล้ว


ระนาดฝรั่ง [Glockenspiel]
มีรูปร่างคล้าย Xylophone แต่เล็กกว่า บรรจุไว้ในกระเป๋าคล้ายกระเป๋าเดินทาง เวลาใช้
จะตั้งบนโต๊ะผู้เล่นยืนเล่นลูกระนาดทำด้วยแผ่นเหล็กมีไม้ตี มีเสียงดังกังวาน คล้ายระฆังเล็กมีวิวัฒนาการมาจาก
ระฆังในโบสถ์ หลายๆใบเรียงกัน


ระนาดฝรั่ง [Xylophone]
ลูกระนาดทำด้วยไม้ขนาดสั้นยาวลดหลั่นกัน วางตามแนวนอนมีขาตั้งติดมากับตัว ลูกระนาดวางราบบนรางที่มีหมุดตรึงไว้
ไม้ตีเป็นไม้นวมหรือไม้มีผ้าหุ้ม หรืออาจจะเป็นกระดาษพิเศษใต้ลูกระนาดจะมีหลอดยาวต่อลงมาเพื่อให้เสียงดังกังวาน
ไพเราะเพิ่มขึ้นระนาดฝรั่งต่างจากระนาดไทยคือ ระนาดไทยจะเรียงติดกันเป็นพืดแต่ระนาดฝรั่งจะแบ่งออกเป็น 2 ชั้น
ชั้นล่างเป็นเสียงปกติชั้นบนจะเป็นเสียงห่างครึ่งเสียงเหมือนKeyboard ชึ่งจะทำให้มีช่วงเสียงกว้างมากขึ้น
Xylophone มีเสียงแกร่งสั้น ห้วน และชัดเจนมีขนาดใหญ่กว่า Glockenspiel


คลาริเนต [Clarinet]
เป็นเครื่องเป่าลมไม้ที่มีลิ้นเดี่ยว(Single Reed)ประดิษฐ์ขึ้นในเยอรมันนี เมื่อต้นคริสตศตวรรษ ที่ 17
เสียงของคลาริเนตมีความกว้างมากหวานกังวานไม่แพ้เครื่องเป่าชนิดใดถือเป็นตัวเอกในบรรดาเครื่องลมไม้
เป็นเครื่องเป่าสำคัญขนิดหนึ่งในวงออร์เคสตร้า และวงโยธวาทิต


แซกโซโฟน [Saxophone]
เป็นเครื่องเป่าลมไม้ที่มีลิ้นเดี่ยว(Single Reed)ปากทำด้วยไม้ แต่ตัวทำด้วยทองเหลือง
มีลักษณะผสมผสานระหว่างเครื่องเป่าลมไม้กับเครื่องทองเหลืองตามประวัติว่ามีนักเป่าคลาริเนตคนหนึ่ง
ชื่อว่านายSaxเป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้นจึงให้ชื่อว่า Saxophone ใช้ในวงOrchestraในบางโอกาส
ที่ใช้มากในวง Jazz , Big band และวงโยธวาทิตจริงแล้ว Saxophone มีหลายชนิด
คือ Soprano, alto, tenor, Baritone และ Bass ซึ่งเรียงลำดับ
จากเสียงสูงสุด จนถึงต่ำสุด


โอโบ [Oboe]
จัดอยู่ในจำพวกที่มีลิ้นคู่(Double Reed)มีเสียงที่ไพเราะ สะกดใจคนได้มาก
ตามประวัติเกิดในฝรั่งเศสประมาณ ศตวรรษที่ 17ปัจจุบันเป็นเครื่องเป่าชั้นนำในวงออร์เคสตร้า
มีลักษณะคล้ายคลาริเนตยกเว้นตรงปากเป่าจะเป็นท่อยาว ตัวความยาวประมาณ 2 ฟุต
ประโยชน์อย่างหนึ่งของโอโบคือ ใช้เป็นเครื่องเทียบหรือแต่งเสียงในวงออร์เคสตร้า


บาซูน [Bassoon]
เป็นเครื่องลมไม้ที่จัดอยู่ในประเภทลิ้นคู่ (Double Reed)และให้เสียงที่ต่ำที่สุด ไม่แจ่มใส ให้ความรู้สึกหม่นหมอง
เสียงแหบเหมือนผี มักไม่ค่อยมีใครนำมาบรรเลงเดี่ยวในประวัติมีเพียง โมสาร์ท เพียงคนเดียว
ที่กล้านำมาใช้ในเพลงคอนแชร์โต้ส่วนใหญ่ใช้เป็นเสียงประสานหรือทำเสียงประหลาด ๆ
น่ากลัวบาสชูน มีท่อลมใหญ่ และมีความยาวถึง 109 นิ้ว ผู้ประดิษฐ์จึงเอามาทบกันจนมีความยาว
เหลือเพียง 50 นิ้ว และเนื่องจากมีน้ำหนักมาก จึงจำเป็นต้องใช้เชือกถักติดกับตัวปี่แล้วคล้องคอผู้เล่น

พิคโคโล [Piccolo]
เป็นเครื่องเป่าลมไม้ที่จัดอยู่ในจำพวกไม่มีลิ้นลักษณะเหมือนฟลุตแต่เล็กกว่า ความยาวประมาณ 12 นิ้ว
จึงทำให้เสียงที่ออกมาสูง แหลมคมกว่าฟลุต ให้ความรู้สึกร่าเริง พริ้วไหวเสียงจะได้ยินชัดเจนแม้อยู่ในวงโยธวาทิต
ซึ่งกำลังบรรเลงด้วยเครื่องเป่าอื่นๆ มากมาย วิธีการจับขลุ่ยปิคโคโล จับยึดด้วยมือทั้งสองให้ตัวขลุ่ย
ปัดหางไปทางขวา เป่าลมไปที่รูอยู่เกือบริมซ้าย

 

รีคอร์ดเดอร์ [Recorder]
เป็นเครื่องลมไม้ชนิดที่ไม่มีลิ้น มีหลายระดับเสียงมากมาย ตั้งแต่ Sopranino, Soprano,
Alto, Tenor และ Bass ขนาดก็จะลดหลั่นกันลงมาจากเสียงต่ำสุด จะใหญ่สุด
เสียงสูงสุดก็จะเป็นตัวที่เล็กสุด เวลาจะเป่าใช้ปากอมส่วนที่เป็นปากแล้วจึงเป่าออกไป
ต้องการเสียงใดก็ขยับนิ้วที่ปิดรูอยู่ข้างๆ


เฟร้นช์ฮอร์น [French Horn]
ทำเลียนแบบมาจากเขาสัตว์ที่นักล่าสัตว์และคนเลี้ยงแกะใช้เป่ามาแต่โบราณต่อมาทำด้วยทองเหลือง
ได้มีการปรับปรุงทำเสียงให้กว้างนอกจากจะใช้ริมฝีปากแล้วยังมีเครื่องบังคับเสียงเป็นพิเศษ
อยู่ที่ตัวฮอร์นผู้บรรเลงจะใช้นิ้วกดลงบนแป้นเล็กๆเสียงสดใสและแหลมเล็กจะเล่นให้อ่อนหวานก็ได้
ให้เสียงกังวานสง่าก็ได้ให้ช้าและโศกเศร้าก็ได้กล่าวกันว่าเสียงของฮอร์นนั้นดังกังวานสง่าผ่าเผย
ยากจะหาเครื่องดนตรีอื่นใดเทียบได้


ทรัมเปต [Trumpet]
เสียงของทรัมเป็ตสูงที่สุดในประเภทเดียวกันมีพลัง ดังชัดแจ๋วและออกจะหนักไปทางแปร๊ดๆ อยู่สักหน่อย
ถ้าเป่าให้ดังลั่นเต็มที่บางคนอาจรู้สึกแสบแก้วหูแต่ก็สามารถเป่าเบา ทำเสียงพร่าๆ เหมือนกระซิบก็ทำได้
นับเป็นลักษณะพิเศษทีเดียวปัจจุบันทรัมเป็ตจัดเข้าอยู่ในวงออร์เคสตร้าวงแจ๊ส และอื่นๆ


ทรอมโบน [Trombone]
ประกอบด้วยหลอดยาวๆ เป็นปากเป่าและปากบาน มีหลอดซ้อนสำหรับชักเข้า-ออก ให้มีระยะยาวสั้น
เพื่อเปลี่ยนเสียงอย่างรวดเร็วฟังตื่นเต้นเร้าใจ ใช้บรรเลงในวงออร์เคสตร้า แจ๊ส และวงเครื่องทองเหลือง
เสียงของทรอมโบนดังคล้ายๆ ฮอร์น แต่มีช่วงกังวาน เนื่องจากเสียงไม่ค่อยจะสดใส จึงเหมาะที่จะทำเป็นเสียงแหบๆ
เหมือนคนเป็นหวัด หรือเสียงอ้อๆแอ้ๆได้ดีมาก ทรอมโบนมีเสียงที่ทุ้มกว่าทรัมเป็ต จึงมีคนกล่าวว่า
เป็นเบสของทรัมเปต


ไวโอลิน [Violin]
เริ่มมีปรากฏใช้ในศตวรรษที่ 17 ไวโอลินมี 4 สายเสียงดังแหลมเล็กกังวาน เป็นเครื่องดนตรีเอก
ในวงซิมโฟนีออร์เคสตร้าซึ่งจะใช้ไวโอลินมากที่สุดถึง 32 คันเป็นไวโอลินมือหนึ่ง(First Violin)
16 คันเป็นไวโอลินมือสอง (Second Violin) อีก 16 คันไวโอลินมือหนึ่งสีทำนอง
ส่วนไวโอลินมือสองคอยประสาน


วิโอลา [Viola]
ลักษณะเหมือนไวโอลินทุกประการ วิธีการเล่นก็เหมือนกันต้องสังเกตุจึงจะทราบว่ามีขนาดใหญ่กว่าเพียงเล็กน้อย
ในแง่น้ำเสียงหรือสีสันของเสียง(Tone Color) เกือบเหมือนกันวิโอล่าใช้เล่นเดี่ยวน้อยกว่าไวโอลิน


กีต้าร์[Guitar]
ตามประวัติมีกำเนิดจากสเปน แล้วแพร่ไปทั่วโลกปัจจุบันยังยอมรับว่ากีตาร์สเปนมีชื่อเสียงที่สุดนิยมบรรเลง
ในวงดนตรีสมัยใหม่ กีตาร์มี 6 สายสายเอก (ที่มีเสียงสูงสุด) ทำด้วยเอ็น หรือไนล่อนสายอื่นๆ
จะทำด้วยไหมพิเศษหุ้มด้วยขดลวดเงินขนาดเล็กปลายสายจะตรึงด้วยหมุดมีปุ่มปรับสายให้ตึงหย่อนตามต้องการ
ต่อมากีตาร์ได้ปรับปรุงเป็นกีตาร์ไฟฟ้า โดยต่อสายจากตัวกีตาร์ ไปยังลำโพงและเครื่องขยายเสียง

 

ประวัติความเป็นมาของกีตาร์


กีตาร์ถือเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่งของมนุษย์เพียงแต่ชื่อเรียกและรูปร่างย่อมแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย
ซึ่งเริ่มเป็นที่นิยมในแถบเปอร์เซียและตะวันออกกลางหลายประเทศต่อมาได้เผยแพร่ไปยังกรุงโรมโดยชาวโรมันหรือชาวมัวร์
จากนั้นก็เริ่มได้รับความนิยมในสเปน ในยุโรปกีตาร์มักเป็นที่นิยมในหมู่ชนชั้นสูง และมีเชื้อพระวงศ์หลายพระองค์ที่ให้ความสนใจ
และศึกษาอย่างเช่น Queen Elizabeth I ซึ่งโปรดกับ Lute ซึ่งถือว่าเป็นต้นแบบของกีตาร์ก็ว่าได้
แต่การพัฒนาที่แท้จริงนั้นได้เกิดจากการที่นักดนตรีได้นำมันไปแสดงหรือเล่นร่วมกับวงดนตรีของประชาชนทั่ว ๆ ไปทำให้มีการ
เผยแพร่ไปยังระดับประชาชนจนได้มีการนำไปผสมผสานเข้ากับเพลงพื้นบ้านทั่ว ๆ ไปและเกิดแนวดนตรีในแบบต่าง ๆ มากขึ้น
 
ผู้หนึ่งที่สมควรจะกล่าวถึงเมื่อพูดถึงประวัติของกีตาร์ก็คือ Fernando Sor ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีความสำคัญ
และมีอิทธิพลต่อวงการกีตาร์เป็นอันมากเนื่องจาการอุทิศตนให้กับการพัฒนารูปแบบการเล่นกีตาร์เทคนิคต่าง ๆ และได้แต่งตำราไว้มากมาย
ในปี 1813 เขาเดินทางไปยังปารีตซึ่งเขาได้รับความสำเร็จและความนิยมอย่างมาก จากนั้นก็ได้เดินทางไปยังลอนดอนโดย
พระราชูปถัมป์ของ Duke of Sussex และที่นั่นการแสดงของเขาทำให้กีตาร์เริ่มได้รับความนิยม จากอังกฤษเขาได้เดินทาง
ไปยังปรัสเซีย รัสเซียและได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากชาวเมืองเซนต์ ปีเตอร์เบิร์ก ซึ่งที่นั่นเขาได้แต่งเพลงที่มีความสำคัญอย่างมาก
เพลงหนึ่งถวายแก่พระเจ้า Nicolus I จากนั้นเขาก็ได้กลับมายังปารีตจนกระทั่งเสียชีวิตเมื่อปี 1839 หลังจากนั้นได้มีการเรียนี
การสอนทฤษฎีกีตาร์ที่เด่นชัดและสมบูรณ์มากขึ้น ทำให้กีตาร์ได้รับการพัฒนาอย่างมาก
 
หลังจากนั้นมีอีกผู้หนึ่งที่มีความสำคัญต่อกีตาร์เช่นกันคือ Francisco Tarrega (1854-1909)
ซึ่งเกิดมาในครอบครัวที่ยากจนแต่ด้วยความสามารถด้านดนตรีของเขาก็ทำให้เขาประสบความสำเร็จจนได้จากการแสดง
ณ Alhambra Theaterจากนั้นเขาได้เดินทางไปยัง Valencia, Lyons และ Paris
เขาได้รับการยกย่องว่าได้รวมเอาคุณสมบัติของเครื่องดนตรี 3 ชนิดมารวมกันคือ ไวโอลิน, เปียโน และ รวมเข้ากับเสียงของกีตาร์
ได้อย่างไพเราะกลมกลืน ทุกคนที่ได้ฟังเขาเล่นต่างบอกว่าเขาเล่นได้อย่างมีเอกลักษณ์และสำเนียงที่มีความไพเราะน่าทึ่ง หลังจาก
เขาประสบความสำเร็จใน London, Brussels, Berne และ Rome เขาก็ได้เดินทางกลับบ้าน
และได้เริ่มอุทิศตนให้กับการแต่งเพลงและสอนกีตาร์อย่างจริงจัง ซึ่งนักกีตาร์ในรุ่นหลัง ๆ ได้ยกย่องว่าเขาเป็นผู้ริเริ่มการสอนกีตาร์ยุคใหม่
 
อีกคนหนึ่งที่จะขาดไม่ได้คือ Andres Sergovia ผู้ซึ่งเดินทางแสดงและเผยแพร่กีตาร์มาแล้วเกือบทั่วโลกเพื่อให้
คนได้รู้จักกีตาร์มากขึ้น (แต่คงไม่ได้มาเมืองไทยนะครับ) ทั้งการแสดงเดี่ยวหรือเล่นกับวงออเคสตร้า จนเป็นแรงบันดาลใจให้มีการแต่งตำรา
และบทเพลงของกีตาร์ขึ้นมาอีกมากมาย อันเนื่องมาจากการเผยแพร่ความรู้ในเรื่องกีตาร์อย่างเปิดเผยและจริงจังของเขาผู้นี้
นอกจากนี้ผลงานต่าง ๆของเขาได้ทำให้ประวัติศาสตร์กีตาร์เปลี่ยนหน้าใหม่เพราะทำให้นักีตาร์ได้มีโอกาสแสดงใน concert hall
มากขึ้น และทำให้เกิดครูและหลักสูตรกีตาร์ขึ้นในโรงเรียนดนตรีอีกด้วย
 
สำหรับการร้องไปพร้อมกับกีตาร์ได้เริ่มมีขึ้นเมื่อสามารถปรับให้ระดับเสียงของกีตาร์นั้นเข้ากับเสียงร้องได้
ซึ่งผมเข้าใจว่าในอดีตกีตาร์มีไว้บรรเลงมากกว่าแต่เมื่อสามารถผสมผสานเสียงของกีตาร์กับเสียงร้องได้การร้องคลอไปกับกีตาร์
จึงเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้น นักร้องนักกีตาร์(คือทั้งเล่นทั้งร้อง) น่าจะมาจากนักร้องในยุคกลางซึ่งเป็นชนชั้นสูงได้ปลีกตัวไปทำงาน
ในแบบที่เป็นอิสระและอยากจะทำจึงมีการผสมกันกับรูปแบบของดนตรีพื้นบ้านมากขึ้น ซึ่งงานดนตรีจึงแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. เป็นงานประพันธ์เพื่อจรรโลกโลกหรือมีความจริงจังในทางดนตรีเพื่อการแสดงเป็นส่วนใหญ่ ก็คือเพลงคลาสสิกนั่นเอง
2. งานที่สร้างจากคนพื้นบ้านจากการถ่ายทอดจากพ่อสู่ลูกลูกสู่หลาน เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและสภาพความเป็นอยู่
แสดงถึงวิถีการดำเนินชีวิต ใช้ในการผ่อนคลายจากการงานความทุกข์ความยากจน เล่าเหตุการณ์ต่าง ๆ อันได้มาจากประสบการณ์
หรือสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวขณะนั้นจึงมีความเป็นธรรมชาติอยู่มากและโดยที่ทั้ง 2 ส่วนดังกล่าวได้มีการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้
ซึ่งกันและกันอยู่ตลอดเวลาจากอดีตถึงปัจจุบันจนมีการซึมซับเข้าไปยังเนื้อเพลงและทำนองเพลงทำให้เกิดรูปแบบของดนตรีในแบบใหม่ ๆ
มากขึ้นเรื่อย ๆ
 
ในอเมริกา ผู้ที่เข้าไปอาศัยได้นำเอาดนตรีและการเต้นรำของพวกเขาเข้ามาด้วยเช่นพวกทหาร นักสำรวจ พวกเคาบอยหรือคนงาน
เหมืองทำให้มีการผสมผสานกันในรูปแบบของดนตรีและที่สำคัญที่สุดคือพวก อเมริกัน นิโกร ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในฐานะทาสซึ่งเป็น
ผู้ให้กำเนิดเพลงบลูส์นั่นเองซึ่งส่วนใหญ่แสดงถึงความยากลำบาก ความยากจนถ่ายทอดมาในบทเพลงสไตล์ของพวกเขาเพื่อได้ผ่อนคลาย
จากความเหนื่อยยากและเล่นง่าย ๆ ด้วยกีตาร์กับเม้าท์ออร์แกนเป็นต้น ซึ่งเพลงบลูส์นั่นเองที่เป็นพื้นฐานของดนตรีอีกหลาย ๆ ประเภท
ไม่ว่าจะเป็นเพลงร็อคหรือแจ๊สในปัจจุบัน จนเดี๋ยวนี้กีตาร์มีความสำคัญกับดนตรีแทบทุกชนิด
 
แม้ว่ากีตาร์จะถูกสร้างมาหลายรูปแบบแต่แบบที่ถือว่าดีที่สุดคงเป็นแบบ สแปนนิช 6 สาย ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาที่ดีอย่างมาก
ทั้งด้านการประดิษฐ์และด้านเทคนิค ซึ่งสามารถใช้เล่นในงานแสดงคอนเสิร์ท(หมายถึงดนตรีคลาสสิก) หรือเล่นเพลงทั่ว ๆ ไป
ทำให้รูปทรงกีตาร์แบบนี้เป็นที่นิยมจนปัจจุบัน เริ่มจากในศตวรรษที่ 18 ได้มีการเปลี่ยนจากสายที่เป็นสายคู่มาเป็นสายเดี่ยวและเปลี่ยนจาก
5 สายเป็น 6 สาย ช่างทำกีตาร์ในยุคศตวรรษที่ 19 ได้ขยายขนาดของ body เพิ่มส่วนโค้งของสะโพกลดส่วนผิวหน้าที่นูนออกมา
และเปลี่ยนแปลงโครงยึดภายใน ลูกบิดไม้แบบเก่าถูกเปลี่ยนเป็นแบบใหม่ ในยุคเดียวกันนี้ Fernando Sor ซึ่งได้กล่าวมา
ในข้างต้นแล้วเป็นผูที่พัฒนาและทำให้เครื่องดนตรีนี้เป็นที่ยอมรับและใช้ในการแสดงได้จนกระทั่งมาถึงยุคของ Andres Segovia
ได้คิดดัดแปลงให้สามารถใช้กับไฟฟ้าได้ ซึ่งเป็นความพัฒนาอีกระดับของเพลงป๊อปในอเมริกาในช่วง 1930 กีตาร์ไฟฟ้าต้นแบบช่วงนั้น
เป็นแบบทรงตันและหลักการนำเสียงจากกีตาร์ไปผสมกับกระแสไฟฟ้าแล้วขยายเสียงออกมานั้นทำให้นักดนตรีและนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน
ซึ่งชื่อเขาพวกเรารู้จักกันดีในนามของโมเดลหนึ่งของกิ๊บสันนั่นก็คือ Les Paul ได้พัฒนาจากต้นแบบดังกล่าว มาเป็นแบบ
solid body กีตาร์ หรือกีตาร์ไฟฟ้าที่เราเห็นในปัจจุบันนั่นแหละครับซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญมากของดนตรียุคนั้นและทำให้กีตาร์
เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมอย่างมากในช่วงปี 1940
 
หลังจากนั้นในต้นปี 1940 นักประดิษฐ์ชาวแคลิฟอเนียอีกคนซึ่งเราก็รู้จักชื่อเขาในนามของยี่ห้อกีตาร์ที่สุดยอดอีกยี่ห้อหนึ่งนั่นก็คือ
Leo Fender เขาได้ประดิษฐ์กีตาร์และเครื่องขยายเสียงในร้านซ่อมวิทยุของเขา เขาได้สร้างเครื่องขยายเสียงแต่ขณะนั้นไม่มี
ปุ่มคอนโทรลต่าง ๆ เช่นปัจจุบัน และใช้กับกีตาร์ของเขาซึ่งมีปุ่มควบคุมเสียงดังเบาและทุ้มแหลมซึ่งเป็นต้นแบบกีตาร์ไฟฟ้ายุคใหม่
เขาไม่ได้หยุดแค่นั้นด้วยเทคโนโลยีขณะนั้นเขารู้ว่าเขาน่าจะดัดแปลงกีตาร์โปร่งให้สามารถใช้กับเครื่องขยายเสียงได้และความพยายาม
เขาก็สำเร็จจนได้ในปี 1948 และได้กีตาร์ที่ชื่อว่า Telecaster (คงคุ้นหูกันนะครับ) ซึ่งชื่อเดิมที่เขาใช้เรียกคือ
Broadcaster แต่คำว่า tele เป็นที่ติดปากกันมากกว่าและถือว่าเป็นกีตาร์ไฟฟ้าทรงตันในรูปทรงสแปนนิสรุ่นแรกที่ซื้อขายกัน
ในเชิงพานิชย์และได้รับความนิยมอย่างมากจนกระทั่งปัจจุบัน
 
ปัจจุบันสำหรับกีตาร์มีพร้อมแล้วทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นรูปร่างรูปทรงประเภทต่าง ๆ ให้เลือกเล่นตามใจชอบ สไตล์เพลงหลากหลายสไตล์
โรงเรียนสอน ตำราต่าง ๆ ให้ศึกษามากมายแต่แนนอนการพัฒนาย่อมไม่มีวันหยุดไม่แน่ในอนาคตคุณอาจเป็นคนหนึ่งที่สร้างอะไรใหม่ ๆ
ให้กีตาร์จนโลกต้องบันทึกไว้ก็ได้

สร้างโดย: 
นิพันธ์

ทำไมไม่มีพวก

ดับเบิ้ลเฟรชฮอร์น ออโตฮอร์น อิงลิชฮอร์น อีแฟล็ทอัลโตฮอร์น บีแฟรตฮอร์น

อ่ะครับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 423 คน กำลังออนไลน์