• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e1006eeea01afdae525ad51fd050623e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ห้าม</b></span><span style=\"color: #ff0000\"><b>ลบ</b> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<b><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></b>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u4706/2.gif\" /><span style=\"color: #ff0000\"><b>  <span style=\"font-size: medium\"> <span style=\"font-size: large\">การสืบพันธุ์ของพืชดอก</span> </span></b></span> </span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #008000\">พืชมีดอก ( flower plant ) มีการสืบพันธุ์ได้ทั้งแบ</span><span style=\"color: #008000\">บอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศดอกไม้เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ ( reproductive organ ) ของพืชมีดอกซึ่งจัดอยู่ใน ดิวิชัน แอนโทไฟตา ( anthophyta ) ดอกไม้กำเนิดมาจากตาดอก   ( flower bud ) หรือ ตาผสม ( mixed bud ) บริเวณ ปลายยอด ปลายกิ่ง หรือบริเวณลำต้น โดยบริเวณนี้มีเนื้อเยื่อเจริญทำให้เกิดดอก โดยมีการเติบโตและพัฒนาไปเป็นส่วนต่างๆของดอกไม้ โดยมีส่วนที่อยู่นอกสุดคือ กลีบดอก ( sepal ) เจริญก่อนส่วนอื่นแล้วตามด้วย เกสรตัวผู้ ( stamen ) และเกสรตัวเมีย ( pistil ) ซึ่งอยู่ในสุดเป็นส่วนที่เจริญที่หลังส่วนประกอบอื่นๆการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอก</span></span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"200\" width=\"192\" src=\"/files/u4706/3.jpg\" />  <img height=\"200\" width=\"200\" src=\"/files/u4706/2.jpg\" />  <img height=\"200\" width=\"200\" src=\"/files/u4706/5.jpg\" /> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"26\" width=\"252\" src=\"/files/u4706/4_0.gif\" /> </span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u4706/yoyo-emoticon-1-010.gif\" /><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #ff0000\"><b>การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพื</b></span><span style=\"color: #ff0000\"><b>ชดอก</b></span></span><br />\n</span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff00ff\">ส่วนต่างๆของดอกมีโครโมโซม 2 ชุด ( diploid = 2n ) เสมอเมื่อถึงระยะสืบพันธุ์ เซลล์บางเซลล์จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซีส  ( meiosis ) เพื่อลดโครโมโซมลงครึ่งหนึ่งเหลือชุดเดียว ( haploid = n ) เซลล์ที่ได้จะมีการพัฒนาไปเป็นเซลล์เพศต่อไป</span></span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"431\" width=\"500\" src=\"/files/u4706/44.jpg\" /> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"15\" width=\"414\" src=\"/files/u4706/8.gif\" /> </span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff0000\"><b><span style=\"font-size: large\">การสร้างละอองเรณูหรือเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้</span> </b></span><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u4706/yoyo-emoticon-1-052.gif\" /> </span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\">ภายในอับละอองเรณูจะมีเซลล์กลุ่มหนึ่งเรียกว่าเซลล์แม่ไมโครสปอร์หรือไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ ( microsporemother cell ) มีโครโมโซม 2n ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์จะแบ่งตัวแบบไมโอซิสได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ เรียกว่า ไมโครสปอร์ ( microspore ) ซึ่งมีโครโมโซม n แต่ละไมโครสปอร์จะแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส 1 ครั้งได้ 2 นิวเคลียส คือ เจเนเรทิฟนิวเคลียส ( generative nucleus ) และ ทิวบ์นิวเคลียส ( tube nucleus ) ต่อจากนั้นเซลล์จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะภายนอกซึ่งแตกต่างกันตามชนิดของพืช ซึ่งเรียกว่าละอองเรณูหรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ ( malegametophyte )</span></span> </span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial black,avant garde; font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"113\" width=\"499\" src=\"/files/u4706/1.jpg\" /></span></span></span></span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"24\" width=\"233\" src=\"/files/u4706/12.gif\" /> </span></span>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n<span style=\"font-family: arial black,avant garde; font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #ff0000\"><b>การสร้างไข่หรือเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย</b></span><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u4706/yoyo-emoticon-1-055.gif\" /></span> </span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"> ภายในรังไข่มีออวุล ( ovule ) และภายในออวุลมีเนื้อเยื่อนิวเซลลัส ( nucellus ) ซึ่งจะเจริญไปเป็นเซลล์แม่ของเมกะสปอร์หรือเมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ ( megaspore mother cell ) ซึ่งมีโครโมโซม 2n เมกะ</span></span> </span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-family: arial black,avant garde; font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\">สปอร์มาเทอร์เซลล์จะแบ่งตัวแบบไมโอซิลได้ 4 เซลล์ แต่ละเซลล์เรียกว่า เมกะสปอร์ ( megaspore ) ซึ่งจะสลายไป 3 เซลล์ เซลล์ที่เหลือจะขยายขนาดขึ้นแล้วมีการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส 3 ครั้ง ได้ 8 นิวเคลีย</span><span style=\"color: #ff6600\">ส และจะมีการแยกย้ายของนิวเคลียสไปยังบริเวณต่างๆของเซลล์ดังนี้</span></span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"429\" width=\"500\" src=\"/files/u4706/777.jpg\" /> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\">1. แอนติโพแดล ( antipodal ) มี 3 นิวเคลียส อยู่ตรงข้ามกับรูไมโครไพล์ ( micropile )<br />\n2. โพลาร์นิวคลีไอ ( polar nuclei ) มี 2 นิวเคลียส อยู่บริเวณกลางเซลล์<br />\n3. ไข่ ( egg ) มี 1 นิวเคลียสอยู่บริเวณรูไมโครไพล์<br />\n4. ซินเนร์จิด ( synergid ) มี 2 นิวเคลียสอยู่ด้านข้างของไข่ เมกะสปอร์ในระยะนี้เรียกว่า ถุงเอมบริโอ ( embryo sac ) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย ( female gametophyte )</span><br />\n</span><br />\n</span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"30\" width=\"450\" src=\"/files/u4706/14.gif\" /> </span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u4706/yoyo-emoticon-2-007.gif\" /><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #ff0000\"><b>  การถ่ายละอองเรณู</b></span></span> </span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><b>การถ่ายละอองเรณู</b> ( pollination ) คือ การที่ละอองเรณูจากอับละอองเรณูมาตกที่ยอดเกสรตัวเมีย ( stigma ) ของเกสรตัวเมียแบ่งออกเป็น </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #993366\">1.<b> การถ่ายละอองเกสรในดอกเดียวกัน</b> พืชที่มีดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ คือ พืชที่มีเกสรตัวผู้และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกันละอองเกสรตัวผู้นั้นสามารถร่วงหรือปลิวมาตกบนยอดเกสรตัวเมียได้พืชที่ถ่ายละอองเกสรในดอกเดียวกัน ได้แก่ ถั่ว มะเขือ ฝ้ายและพืชที่มีดอกสมบูรณ์เพศอื่น ๆ</span></span> </span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial black,avant garde; font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #339966\"></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial black,avant garde; font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"80\" width=\"242\" src=\"/files/u4706/3.gif\" />  </span></span></span>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial black,avant garde; font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span></span>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial black,avant garde; font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span></span>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #993366\">2. <b>การถ่ายละอองเกสรข้ามดอกในต้นเดียวกัน</b> เกิดกับพืชที่มีดอกไม่สมบูรณ์เพศ ละอองเกสรตัวผู้จะต้องเคลื่อนที่ไปตกบนยอดเกสรตัวเมียของอีกดอกหนึ่งในต้นเดียวกัน พืชที่ต้องถ่ายละอองเกสรแบบนี้ ได้แก่ ฟักทอง แตงกวา เป็นต้น</span></span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"99\" width=\"242\" src=\"/files/u4706/4.gif\" />  </span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #993366\">3.  <b>การถ่ายละอองเกสรข้ามต้น</b> เกิดกับพืชที่มีดอกตัวผู้หรือดอกตัวเมียอยู่คนละต้น จึงต้องใช้วิธีการถ่ายละอองเกสรข้ามต้น พืชที่มีดอกสมบูรณ์เพศหรือพืชที่มีดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกันก็อาจจะถ่ายละอองเกสรข้ามต้นได้เหมือนกัน โดย อาศัย ลม มนุษย์ หรือ สัตว์พาไป</span>   </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"30\" width=\"400\" src=\"/files/u4706/5.gif\" /> </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #ff0000\"><b> การปฏิสนธิ  </b></span><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u4706/yoyo-emoticon-2-080.gif\" /></span> </span></span>\n</div>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #808000\">การปฏิสนธิ ( fertilization ) เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาวเรียกว่า พอลเลนทิวบ์ ( pollen  tube ) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียสจะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเนเรทิฟนิวเคลียส จะแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสได้สเปิร์มนิวเคลียส ( sperm nucleus ) 2 ตัว สเปิร์มนิวเคลียสตัวที่1 เข้าผสมกับนิวเคลียสของไข่ได้เป็นไซโกต ( 2n ) ซึ่งจะเจริญไปเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะเข้าผสมกับโพลาร์นิวคลีไอเป็นไ</span><span style=\"color: #808000\">พรมารีเอนโดสสเปิร์ม ( primary endosperm ) ซึ่งมีโครโมโซม 3n และจะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหาร</span><span style=\"color: #808000\">สำหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิดการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน ( double fertilization ) ซึ่งพบเฉพาะในดอกเท่านั้น</span></span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"146\" width=\"500\" src=\"/files/u4706/99.jpg\" />  </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\">หลังจากการปฏิสนธิแล้วออวุล ( ovule ) จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมล็ด ส่วนรังไข่จะเจริญไปเป็นผล ไซโกต เจริญไปเป็นเอมบริโอ เอนโดสเปิร์มเจริญไปเป็นอาหารสำหรับเลี้ยงเอมบริโอ ในพืชบางชนิดเอนโดสเปิร์มจะสลายไปก่อนที่เมล็ดจะเจริญ ดังนั้นอาหารสะสมจึงอยู่ภายในใบเลี้ยงของเอมบริโอ การปฏิสนธิซ้อนของพืชดอกมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการสร้างอาหารให้แก่สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น ผลไม้ที่เราใช้รับประทานก็เกิดตามมาจากการปฏิสนธิ อาหารพวกข้าว ข้าวโพด ก็เป็นส่วนของเอนโดสเปิร์ม อาหารในเมล็ดถั่วหลายชนิดก็เป็นอาหารที่สะสมอยู่ในใบเลี้ยงของเอมบริโอถั่ว </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"480\" width=\"274\" src=\"/files/u4706/11.jpg\" /> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"445\" width=\"500\" src=\"/files/u4706/22.jpg\" /> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"20\" width=\"400\" src=\"/files/u4706/18.gif\" /> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #808000\"></span><br />\n</span></span>\n</p>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span>\n</div>\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span>\n</p>\n', created = 1714648046, expire = 1714734446, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e1006eeea01afdae525ad51fd050623e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การสืบพันธุ์ของพืชดอก

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล

 


   การสืบพันธุ์ของพืชดอก 

พืชมีดอก ( flower plant ) มีการสืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศดอกไม้เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ ( reproductive organ ) ของพืชมีดอกซึ่งจัดอยู่ใน ดิวิชัน แอนโทไฟตา ( anthophyta ) ดอกไม้กำเนิดมาจากตาดอก   ( flower bud ) หรือ ตาผสม ( mixed bud ) บริเวณ ปลายยอด ปลายกิ่ง หรือบริเวณลำต้น โดยบริเวณนี้มีเนื้อเยื่อเจริญทำให้เกิดดอก โดยมีการเติบโตและพัฒนาไปเป็นส่วนต่างๆของดอกไม้ โดยมีส่วนที่อยู่นอกสุดคือ กลีบดอก ( sepal ) เจริญก่อนส่วนอื่นแล้วตามด้วย เกสรตัวผู้ ( stamen ) และเกสรตัวเมีย ( pistil ) ซึ่งอยู่ในสุดเป็นส่วนที่เจริญที่หลังส่วนประกอบอื่นๆการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอก

   

สร้างโดย: 
สมบูรณ์ กมลาสนางกูร

ขอบคุณนะสำหรับข้อมูล

เนื้อหาน้ารักดีนะ

 

 

อิๆ  ชอบๆ

ทำได้สวยน่าอ่านดี

เนื้อหาก้อเข้าใจง่าย มีการใช้รูปภาพเข้ามาประกอบทำให้ยิ่งศึกษา

ตัวอักษรก็มีการใช้สีที่ไม่แสบตา ทำให้อ่านแล้วสบายตาไม่ต้องเพ่ง

โดยรวมถือว่าดีมากทีเดียว

ยังไงก็ขอให้ได้รางวัลนะ สู้ๆ จะเอาใจช่วย ^^

ทำเก่งมากๆเลย

เนื้อหาสาระครบด้วย

อ่านแล้วได้ความเข้าใจเยอะเลย

^_^

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 492 คน กำลังออนไลน์