• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4fee2f05d413910fcece9c3770453fbf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">กรมพัฒนาที่ดินได้ศึกษาในบริเวณต่าง ๆ ของประเทศไทย และจัดทำแผนที่ดิน โดยจำแนกดิน</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ออกเป็นกลุ่มหลัก ๆ เรียกว่าชุดดิน ดังตัวอย่างในตาราง</span> <o:p></o:p></span></span></span></p>\n<table width=\"100%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" border=\"1\" class=\"MsoNormalTable\" style=\"width: 100%; border: #cccccc 1pt outset\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">เขตพื้นที่</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ลักษณะดิน</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ชุดดินที่สำคัญ</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">การใช้ประโยชน์</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">บริเวณที่ราบภาคกลางและที่ราบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นที่ราบน้ำขึ้นถึงและบริเวณริมแม่น้ำเป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">ดินมีการแบ่งชั้นไม่ชัดเจน มีหน้าตัดดินชั้น </span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">A - C <span lang=\"TH\">มีความอุดมสมบูรณ์พอสมควร</span><br />\n <span lang=\"TH\">บางแหล่งมีน้ำหนักมาก ดินมีความเป็น</span><br />\n <span lang=\"TH\">กรดจัด มีปริมาณเกลือปนอยู่มาก</span><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ชุดดินราชบุรี ชุดดินองครักษ์ ชุดดินพิมาย</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ส่วนใหญ่ใช้ทำนา ปลูกข้าว ปลูกไม้ผล เช่น ส้ม</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">บริเวณชายฝั่งทะเลและตะพักลำน้ำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">เป็นดินทราย ดินมีการแบ่งชั้นไม่ชัดเจน มีหน้าตัดดินชั้น </span><span style=\"font-family: Tahoma\">A-C <span lang=\"TH\">ความอุดมสมบูรณ์ต่ำมาก วัตถุต้นกำเนิดเป็นทรายและหินทราย ระบายน้ำได้ดีจนถึงดีเกินไป</span><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ชุดดินหัวหิน ชุดดินระยอง ชุดดินน้ำพอง</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ส่วนใหญ่ปลูกพืชไร่ เช่น มันสำปะหลัง สับปะรด</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">บริเวณลาดเขาหินปูนตามขอบที่ราบภาคกลาง และ ภูเขาตอนกลางของประเทศ</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ส่วนมากเป็นดินที่เกิดจากการผุพังของ หินปูนหรือดินมาร์ล มีหน้าตัดดินชั้น </span><span style=\"font-family: Tahoma\">A-C <span lang=\"TH\">หน้าดินจะมีสีดำ ร่วนและค่อนข้างหนา ดินชั้นล่างเป็นหินปูนที่ผุพัง มี </span>pH 7-8 <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ชุดดินตาคลี ชุดดินบึงชะนัง</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ปลูกพืชไร่ทั่วไป เช่นข้าวโพด อ้อย มันสำปะหลัง</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">บริเวณที่ราบและตะพัก ลำน้ำระดับสูง</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">เป็นดินที่มีการระบายน้ำไม่ดี มีสภาพน้ำขัง มีจุดประในเนื้อดิน มีหน้าตัดดินชั้น </span><span style=\"font-family: Tahoma\">A- C <span lang=\"TH\">ดินชั้นล่างมักจะเป็นชั้นดินลูกรัง มี </span>pH <span lang=\"TH\">ค่อนข้างต่ำ (</span> 4.5-5.5 )<o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ชุดดินเชียงราย ชุดดินลำปาง ชุดดินหล่มเก่า ชุดดินมโนรมย์</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ใช้ปลูกข้าว</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">บริเวณพื้นที่สูงที่เป็นป่าไม้และเชิงเขาทั่วไป</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">เป็นดินที่เกิดจากการผุพังของหินหลายประเภท มีการเรียงตัวของชั้น ดินตั้งแต่ </span><span style=\"font-family: Tahoma\">A -C <span lang=\"TH\">ดินชั้น </span>A <span lang=\"TH\">มีสีจางส่วนดินชั้น </span>B <span lang=\"TH\">มี สีแดงหรือเหลืองชัดเจน อาจมีเศษหิน เศษศิลาแลง ปะปนอยู่ด้วย มีค่า </span>pH <span lang=\"TH\">ปกติ ( </span>5-6 )<o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ชุดดินท่ายาง ชุดดินชุมพร ชุดดินหาดใหญ่ ชุดดินภูเก็ต ชุดดินโพนพิสัย ชุดดินเขาใหญ่</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"25%\" style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: #cccccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">มักใช้ปลูกพืชไม้ ยืนต้น เช่น ปาล์ม</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">จากตาราง จะเห็นว่าดินในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยมีลักษณะทั่วไปแตกต่างกัน เช่น ในเขตภาคกลางที่เป็นที่ราบลุ่ม ดินจะแบ่งชั้นไม่ชัดเจน บางเหล่ามีน้ำมากใช้ปลูกข้าวเป็นส่วนใหญ่ แต่ถ้าเป็นเขตภาคกลางที่เป็นบริเวณภูเขาจะเป็นดินเหนียวมีสีดำเข้ม ถ้าเปียกจะร่วนซุย ถ้าแห้งจะแตกกระแหง เหมาะในการปลูกพืชไร่ ส่วนดินในเขตพื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำส่วนใหญ่มีลักษระเป็นดินร่วนและดินร่วนค่อนข้างเหนียว ส่วนดินในเขตที่ราบสูงโคราชส่วนมากเป็นดินทรายที่เกิดจากผุพังของหินทรายและหินทรายแป้ง เป็นต้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">จากการสำรวจศึกษาสภาพดินในท้องถิ่นต่าง ๆ พบว่าดินแต่ละแห่งมีการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหา ต่างกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของดิน เช่น ดินบางแห่งชะล้างจากฝน สภาพพื้นผิวดินถูกเปลี่ยนแปลง อินทรีย์วัตถุในดินลดน้อยลงเรื่อย ๆ และมีการแก้ปัญหาโดยใส่ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยปรับโครงสร้างทางกายภาพของดินทำให้ดินร่วนซุยขึ้นจากข้อมูลเกี่ยวกับสภาพของดินในตาราง และจากการสำรวจดิน ทำให้ทราบว่าความอุดมสมบูรณ์ของดินอาจเปลี่ยนแปลงไปได้ส่วนหนึ่งเกิดจากกระบวนการตามธรรมชาติโดยการพัดพาของน้ำและลม อีกส่วนหนึ่งเกิดจากมนุษย์เข้าไปใช้ประโยชน์จนทำให้ดินเสื่อมสภาพ เช่น การปลูกพืชชนิดเดียวติดต่อกันเป็นเวลานาน การใส่สารเคมีได้แก่ปุ๋ยและสารปราบศัตรูพืชลงในดินมากเกินไป เป็นต้น ดังนั้นเราควรระมัดระวังการใช้ประโยชน์จากดินควรมีการดูแลปรับปรุงดินอยู่เสมอเพื่อให้ดินอยู่ในสภาพที่ดีสามารถเพาะปลูกได้ในระยะเวลายาวนาน</span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1727448538, expire = 1727534938, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4fee2f05d413910fcece9c3770453fbf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ

รูปภาพของ plubplung

กรมพัฒนาที่ดินได้ศึกษาในบริเวณต่าง ๆ ของประเทศไทย และจัดทำแผนที่ดิน โดยจำแนกดิน
ออกเป็นกลุ่มหลัก ๆ เรียกว่าชุดดิน ดังตัวอย่างในตาราง

เขตพื้นที่ ลักษณะดิน ชุดดินที่สำคัญ การใช้ประโยชน์
บริเวณที่ราบภาคกลางและที่ราบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ซึ่งเป็นที่ราบน้ำขึ้นถึงและบริเวณริมแม่น้ำเป็นต้น
ดินมีการแบ่งชั้นไม่ชัดเจน มีหน้าตัดดินชั้น A - C มีความอุดมสมบูรณ์พอสมควร
บางแหล่งมีน้ำหนักมาก ดินมีความเป็น
กรดจัด มีปริมาณเกลือปนอยู่มาก
ชุดดินราชบุรี ชุดดินองครักษ์ ชุดดินพิมาย ส่วนใหญ่ใช้ทำนา ปลูกข้าว ปลูกไม้ผล เช่น ส้ม
บริเวณชายฝั่งทะเลและตะพักลำน้ำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นดินทราย ดินมีการแบ่งชั้นไม่ชัดเจน มีหน้าตัดดินชั้น A-C ความอุดมสมบูรณ์ต่ำมาก วัตถุต้นกำเนิดเป็นทรายและหินทราย ระบายน้ำได้ดีจนถึงดีเกินไป ชุดดินหัวหิน ชุดดินระยอง ชุดดินน้ำพอง ส่วนใหญ่ปลูกพืชไร่ เช่น มันสำปะหลัง สับปะรด
บริเวณลาดเขาหินปูนตามขอบที่ราบภาคกลาง และ ภูเขาตอนกลางของประเทศ ส่วนมากเป็นดินที่เกิดจากการผุพังของ หินปูนหรือดินมาร์ล มีหน้าตัดดินชั้น A-C หน้าดินจะมีสีดำ ร่วนและค่อนข้างหนา ดินชั้นล่างเป็นหินปูนที่ผุพัง มี pH 7-8 ชุดดินตาคลี ชุดดินบึงชะนัง ปลูกพืชไร่ทั่วไป เช่นข้าวโพด อ้อย มันสำปะหลัง
บริเวณที่ราบและตะพัก ลำน้ำระดับสูง เป็นดินที่มีการระบายน้ำไม่ดี มีสภาพน้ำขัง มีจุดประในเนื้อดิน มีหน้าตัดดินชั้น A- C ดินชั้นล่างมักจะเป็นชั้นดินลูกรัง มี pH ค่อนข้างต่ำ ( 4.5-5.5 ) ชุดดินเชียงราย ชุดดินลำปาง ชุดดินหล่มเก่า ชุดดินมโนรมย์ ใช้ปลูกข้าว
บริเวณพื้นที่สูงที่เป็นป่าไม้และเชิงเขาทั่วไป เป็นดินที่เกิดจากการผุพังของหินหลายประเภท มีการเรียงตัวของชั้น ดินตั้งแต่ A -C ดินชั้น A มีสีจางส่วนดินชั้น B มี สีแดงหรือเหลืองชัดเจน อาจมีเศษหิน เศษศิลาแลง ปะปนอยู่ด้วย มีค่า pH ปกติ ( 5-6 ) ชุดดินท่ายาง ชุดดินชุมพร ชุดดินหาดใหญ่ ชุดดินภูเก็ต ชุดดินโพนพิสัย ชุดดินเขาใหญ่ มักใช้ปลูกพืชไม้ ยืนต้น เช่น ปาล์ม


จากตาราง จะเห็นว่าดินในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยมีลักษณะทั่วไปแตกต่างกัน เช่น ในเขตภาคกลางที่เป็นที่ราบลุ่ม ดินจะแบ่งชั้นไม่ชัดเจน บางเหล่ามีน้ำมากใช้ปลูกข้าวเป็นส่วนใหญ่ แต่ถ้าเป็นเขตภาคกลางที่เป็นบริเวณภูเขาจะเป็นดินเหนียวมีสีดำเข้ม ถ้าเปียกจะร่วนซุย ถ้าแห้งจะแตกกระแหง เหมาะในการปลูกพืชไร่ ส่วนดินในเขตพื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำส่วนใหญ่มีลักษระเป็นดินร่วนและดินร่วนค่อนข้างเหนียว ส่วนดินในเขตที่ราบสูงโคราชส่วนมากเป็นดินทรายที่เกิดจากผุพังของหินทรายและหินทรายแป้ง เป็นต้น
จากการสำรวจศึกษาสภาพดินในท้องถิ่นต่าง ๆ พบว่าดินแต่ละแห่งมีการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหา ต่างกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของดิน เช่น ดินบางแห่งชะล้างจากฝน สภาพพื้นผิวดินถูกเปลี่ยนแปลง อินทรีย์วัตถุในดินลดน้อยลงเรื่อย ๆ และมีการแก้ปัญหาโดยใส่ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยปรับโครงสร้างทางกายภาพของดินทำให้ดินร่วนซุยขึ้นจากข้อมูลเกี่ยวกับสภาพของดินในตาราง และจากการสำรวจดิน ทำให้ทราบว่าความอุดมสมบูรณ์ของดินอาจเปลี่ยนแปลงไปได้ส่วนหนึ่งเกิดจากกระบวนการตามธรรมชาติโดยการพัดพาของน้ำและลม อีกส่วนหนึ่งเกิดจากมนุษย์เข้าไปใช้ประโยชน์จนทำให้ดินเสื่อมสภาพ เช่น การปลูกพืชชนิดเดียวติดต่อกันเป็นเวลานาน การใส่สารเคมีได้แก่ปุ๋ยและสารปราบศัตรูพืชลงในดินมากเกินไป เป็นต้น ดังนั้นเราควรระมัดระวังการใช้ประโยชน์จากดินควรมีการดูแลปรับปรุงดินอยู่เสมอเพื่อให้ดินอยู่ในสภาพที่ดีสามารถเพาะปลูกได้ในระยะเวลายาวนาน

สร้างโดย: 
พลึบพลึง
รูปภาพของ ahc8835

สวดยอดดดดดดดดดค่ะ55555555

อยากเก่งวิทยาศาสตร์จังCoolSmile

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 275 คน กำลังออนไลน์