• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('#' หนังสือ', 'node/69782', '', '3.16.203.67', 0, 'a6f9686baf62ca319421bff5fefad3bd', 150, 1719626581) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:afa49a74c8aed94e07fab75854104bed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #6600ff\">การเกิดดิน</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"> อาศัยปัจจัยต่างๆ ดังนี้</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"> <br />\n</span><span style=\"color: #6633ff\">1. <span lang=\"TH\">วัตถุกำเนิดดิน </span></span><br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">วัตถุกำเนิดดินก็คือ หิน เมื่อหินเกิดการผุพังตามธรรมชาติด้วยกระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์และชีวะวิทยาจะทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย นอกจากนี้ยังมีอินทรียวัตถุพวกซากพืชซากสัตว์ที่สลายตัวโดยการกระทำของจุลินทรีย์และสัตว์ต่างๆ ในดิน</span> <br />\n</span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #6633ff\">2. <span lang=\"TH\">ลักษณะภูมิอากาศ </span></span><br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">ลักษณะภูมิอากาศที่มีอิทธิพลต่อการเกิดดิน คือ ความชื้น หือปริมาณน้ำฝนที่ช่วยกัดกร่อนหินให้กลายเป็นดิน อุณหภูมิ ช่วยให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ดี และยังช่วยกระตุ้นการทำงานของแบคทีเรียได้ดีด้วย นอกจากนี้ยังมีปัจจัยจากลมที่ช่วยกัดกร่อนหินและพัดพาดินจากบริเวณหนึ่งไปยังบริเวณหนึ่ง</span> <br />\n</span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #6633ff\">3. <span lang=\"TH\">กาลเวลา </span></span><br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">การเกิดดินจากการพังทลายของหิน ต้องอาศัยเวลา ถ้าเวลายิ่งนาน การพังทลายของหินยิ่งเกิดขึ้นมาก และเกิดการสะสมทับถมของอินทรียวัตถุยิ่งมาก ทำให้ส่วนประกอบของเนื้อดินเปลี่ยนไป ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น การสร้างดินใหม่หนา </span><st1:metricconverter ProductID=\"1 เซนติเมตร\" w:st=\"on\">1 <span lang=\"TH\">เซนติเมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> จากหินต้นกำเนิดต้องใช้เวลานับร้อยๆปี ดินในเขตอากาศ ชุ่มชื้น และมีพื้นที่เป็นทราย การจะพัฒนาเป็นดินได้ครบทุกขั้นต้องใช้เวลา </span>100-200 <span lang=\"TH\">ปี ดินในป่าดิบชื้นบางแห่งการพัฒนาดินอาจต้องใช้เวลาเป็นพันๆปี ก็ได้</span> <br />\n</span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #6633ff\">4. <span lang=\"TH\">สิ่งมีชีวิต </span></span><br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มีส่วนช่วยทำให้หินแตกสลายเป็นดิน เช่น สัตว์มาเหยียบย่ำ พืชมีรากที่ซอนไซลงไปตามรอยร้าวของหินและดันให้หินแตกออก นอกจากนี้เมื่อพืชและสัตว์ตายลง จะเกิดการเน่าเปื่อยผุพังเพื่อกลายเป็นฮิวมัสต่อไป ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้น</span> <br />\n</span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #6633ff\">5. <span lang=\"TH\">ลักษณะภูมิประเทศ </span></span><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นพื้นราบ จะมีชั้นดินหนากว่าภูมิประเทศลาดเอียง เนื่องจากเกิดการสะสมหรือทับถมของดินจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำตลอดเวลา ทำให้มีแร่ธาตุ สารอินทรีย์และเม็ดดินมากกว่า</span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1719626591, expire = 1719712991, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:afa49a74c8aed94e07fab75854104bed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ

รูปภาพของ plubplung

การเกิดดิน อาศัยปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1. วัตถุกำเนิดดิน
วัตถุกำเนิดดินก็คือ หิน เมื่อหินเกิดการผุพังตามธรรมชาติด้วยกระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์และชีวะวิทยาจะทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย นอกจากนี้ยังมีอินทรียวัตถุพวกซากพืชซากสัตว์ที่สลายตัวโดยการกระทำของจุลินทรีย์และสัตว์ต่างๆ ในดิน
2. ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศที่มีอิทธิพลต่อการเกิดดิน คือ ความชื้น หือปริมาณน้ำฝนที่ช่วยกัดกร่อนหินให้กลายเป็นดิน อุณหภูมิ ช่วยให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ดี และยังช่วยกระตุ้นการทำงานของแบคทีเรียได้ดีด้วย นอกจากนี้ยังมีปัจจัยจากลมที่ช่วยกัดกร่อนหินและพัดพาดินจากบริเวณหนึ่งไปยังบริเวณหนึ่ง
3. กาลเวลา
การเกิดดินจากการพังทลายของหิน ต้องอาศัยเวลา ถ้าเวลายิ่งนาน การพังทลายของหินยิ่งเกิดขึ้นมาก และเกิดการสะสมทับถมของอินทรียวัตถุยิ่งมาก ทำให้ส่วนประกอบของเนื้อดินเปลี่ยนไป ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น การสร้างดินใหม่หนา 1 เซนติเมตร จากหินต้นกำเนิดต้องใช้เวลานับร้อยๆปี ดินในเขตอากาศ ชุ่มชื้น และมีพื้นที่เป็นทราย การจะพัฒนาเป็นดินได้ครบทุกขั้นต้องใช้เวลา 100-200 ปี ดินในป่าดิบชื้นบางแห่งการพัฒนาดินอาจต้องใช้เวลาเป็นพันๆปี ก็ได้
4. สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มีส่วนช่วยทำให้หินแตกสลายเป็นดิน เช่น สัตว์มาเหยียบย่ำ พืชมีรากที่ซอนไซลงไปตามรอยร้าวของหินและดันให้หินแตกออก นอกจากนี้เมื่อพืชและสัตว์ตายลง จะเกิดการเน่าเปื่อยผุพังเพื่อกลายเป็นฮิวมัสต่อไป ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้น
5. ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นพื้นราบ จะมีชั้นดินหนากว่าภูมิประเทศลาดเอียง เนื่องจากเกิดการสะสมหรือทับถมของดินจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำตลอดเวลา ทำให้มีแร่ธาตุ สารอินทรีย์และเม็ดดินมากกว่า

สร้างโดย: 
พลึบพลึง
รูปภาพของ ahc8835

สวดยอดดดดดดดดดค่ะ55555555

อยากเก่งวิทยาศาสตร์จังCoolSmile

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 257 คน กำลังออนไลน์