• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:916234d9a7b20f8d8ae0f33ff13b6773' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\" style=\"color: #9900ff\">การผุพังอยู่กับที่</span><span style=\"color: #9900ff\"> (Weathering)</span><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">กระบวนการเกิดภูเขาทำให้หินต่าง ๆ ปรากฏตัวขึ้นบนโลก หลังจากนั้นหินเหล่านี้ก็จะเกิดการผุพังอยู่กับที่</span><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"color: #9966ff\">ความหมายและสาเหตุของการผุพังอยู่กับที่</span><br />\n<span lang=\"TH\" style=\"color: lime\">การผุพังอยู่กับที่</span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> เป็นกระบวนการที่ทำให้หินและสสารอื่น ๆ บนพื้นโลกแตกสลายออกเป็นชิ้น ๆ</span><br />\n<span lang=\"TH\">สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น น้ำ น้ำแข็ง แก๊สออกซิเจน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ</span><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"color: #9966ff\">ประเภทของการผุพังอยู่กับที่</span><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">การผุพังอยู่กับที่แบ่งได้เป็น</span> 2 <span lang=\"TH\">ประเภท คือการผุพังอยู่กับที่เชิงกลและการผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี ซึ่งการผุพังทั้งสองประเภทนี้จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ก็ทำให้หินหรือสสารอื่น ๆ พังทลายลงได้</span><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"color: #99ccff\">การผุพังอยู่กับที่เชิงกล ( </span><span style=\"color: #99ccff\">Mechanical Weathering)</span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\">คือกระบวนการผุพังอยู่กับที่ที่ทำให้หินหรือสารอื่น ๆ แตกออกเป็นชิ้น ๆ ได้</span><br />\n<span lang=\"TH\">ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงกล ได้แก่</span><br />\n1 ) <span lang=\"TH\">ความร้อนและความเย็น โดยความร้อนจากดวงอาทิตย์หรือไฟป่าทำให้ด้านนอกของหินร้อนกว่าด้านในของหิน ทำให้ด้านนอกของหินหลุดออกเป็นแผ่น ๆ ส่วนความเย็นได้มาจากฝน ซึ่งทำให้หินที่ร้อนเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว จึงทำให้หินแตกออกเป็นรอยแยกได้</span><br />\n* <span lang=\"TH\">รูปปั้นหินบนหลังคาโบสถ์นอเทรอดาม ในกรุงปารีสประเทศฝรั่งเศลกำลังสึกหรอเนื่อง มาจากการผุพังอยู่กับที่</span><br />\n2 ) <span lang=\"TH\">การแข็งตัวและการละลาย เกิดจากน้ำที่อยู่ในรอยแตกของหินแข็งตัว น้ำจะขยายตัวทำให้รอยแยกของหินใหญ่มากขึ้น และทำให้พื้นถนนเกิดเป็นหลุมเป็นบ่อ</span><br />\n3 ) <span lang=\"TH\">การเจริญเติบโตของต้นไม้ โดยเกิดจากการไซซอนของรากต้นไม้ไปตามรอยแยกของหิน เมื่อรากต้นไม้ใหญ่ขึ้น ก็สามารถทำให้หินแตกออกได้</span><br />\n4 ) <span lang=\"TH\">การครูดถู เป็นการเสียดสีกันระหว่างหินกับทรายและเศษหินเล็ก ๆ ที่มากับน้ำ น้ำแข็ง ลมและแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้หินที่ถูกเสียดสีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้</span><br />\n5 ) <span lang=\"TH\">การกระทำของสัตว์ พบว่าสัตว์ที่ขุดรูอยู่ในพื้นดิน เช่น หนู ตัวตุ่น แมลงบางชนิดช่วยทำให้หินในดินเกิดการแตกทลายออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ได้</span><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"color: #99ccff\">การผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี ( </span><span style=\"color: #99ccff\">Chemical Weathering)</span></span><span style=\"color: #000000; font-size: small\"> <span lang=\"TH\">เป็นกระบวนการที่ทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมี</span><br />\n<span lang=\"TH\">ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี ได้แก่</span><br />\n1) <span lang=\"TH\">น้ำ เป็นตัวการสำคัญที่สุด ทำให้เกิดการผุพังได้โดยการละลาย</span><br />\n2) <span lang=\"TH\">แก๊สออกซิเจน หินที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบจะทำปฏิกริยากับแก๊สออกซิเจนในสภาวะที่มีน้ำอยู่ด้วย และเกิดเป็นสนิม สนิมทำให้หินอ่อนตัวลงและแตกเป็นชิ้นเล็กๆ และให้สีน้ำตาลหรือสีแดง</span> <br />\n3) <span lang=\"TH\">แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สนี้จะละลายรวมตัวกับน้ำฝนและน้ำที่อยู่ในช่องอากาศในดิน ทำให้เกิดเป็นกรดอ่อน เรียกว่า กรดคาร์บอนิก ซึ่งทำให้หินประเภทหินปูนและหินอ่อนผุพังได้</span><br />\n4) <span lang=\"TH\">สิ่งมีชีวิต พบว่ารากพืชเมื่อเติบโตขึ้นจะผลิตกรดอ่อนที่สามารถละลายหินรอบ ๆ รากได้ และสิ่งมีชีวิตที่คล้ายพืช เรียกว่า ไลเคน ( </span>Lichens ) <span lang=\"TH\">ที่เติบโตบนหิน จะสร้างกรดอ่อนที่ทำให้หินผุพังได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<i><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">ทราบหรือไม่ การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่าง ๆ จะก่อให้เกิดสารประกอบจำพวกซัลเฟอร์ คาร์บอน และไนโตรเจน ซึ่งทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศ และสารประกอบเหล่านี้จะทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีกับไอน้ำในเมฆ ทำให้เกิดเป็นกรด และเมื่อกรดเหล่านี้รวมตัวกับเม็ดฝน ก็จะตกลงมากลายเป็นฝนกรด ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงเคมีได้อย่างรวดเร็ว</span></span></i>\n</p>\n', created = 1719979380, expire = 1720065780, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:916234d9a7b20f8d8ae0f33ff13b6773' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ

รูปภาพของ plubplung

การผุพังอยู่กับที่ (Weathering)
กระบวนการเกิดภูเขาทำให้หินต่าง ๆ ปรากฏตัวขึ้นบนโลก หลังจากนั้นหินเหล่านี้ก็จะเกิดการผุพังอยู่กับที่
ความหมายและสาเหตุของการผุพังอยู่กับที่
การผุพังอยู่กับที่
เป็นกระบวนการที่ทำให้หินและสสารอื่น ๆ บนพื้นโลกแตกสลายออกเป็นชิ้น ๆ
สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น น้ำ น้ำแข็ง แก๊สออกซิเจน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ
ประเภทของการผุพังอยู่กับที่
การผุพังอยู่กับที่แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือการผุพังอยู่กับที่เชิงกลและการผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี ซึ่งการผุพังทั้งสองประเภทนี้จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ก็ทำให้หินหรือสสารอื่น ๆ พังทลายลงได้
การผุพังอยู่กับที่เชิงกล ( Mechanical Weathering)
คือกระบวนการผุพังอยู่กับที่ที่ทำให้หินหรือสารอื่น ๆ แตกออกเป็นชิ้น ๆ ได้
ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงกล ได้แก่
1 ) ความร้อนและความเย็น โดยความร้อนจากดวงอาทิตย์หรือไฟป่าทำให้ด้านนอกของหินร้อนกว่าด้านในของหิน ทำให้ด้านนอกของหินหลุดออกเป็นแผ่น ๆ ส่วนความเย็นได้มาจากฝน ซึ่งทำให้หินที่ร้อนเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว จึงทำให้หินแตกออกเป็นรอยแยกได้
* รูปปั้นหินบนหลังคาโบสถ์นอเทรอดาม ในกรุงปารีสประเทศฝรั่งเศลกำลังสึกหรอเนื่อง มาจากการผุพังอยู่กับที่
2 ) การแข็งตัวและการละลาย เกิดจากน้ำที่อยู่ในรอยแตกของหินแข็งตัว น้ำจะขยายตัวทำให้รอยแยกของหินใหญ่มากขึ้น และทำให้พื้นถนนเกิดเป็นหลุมเป็นบ่อ
3 ) การเจริญเติบโตของต้นไม้ โดยเกิดจากการไซซอนของรากต้นไม้ไปตามรอยแยกของหิน เมื่อรากต้นไม้ใหญ่ขึ้น ก็สามารถทำให้หินแตกออกได้
4 ) การครูดถู เป็นการเสียดสีกันระหว่างหินกับทรายและเศษหินเล็ก ๆ ที่มากับน้ำ น้ำแข็ง ลมและแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้หินที่ถูกเสียดสีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้
5 ) การกระทำของสัตว์ พบว่าสัตว์ที่ขุดรูอยู่ในพื้นดิน เช่น หนู ตัวตุ่น แมลงบางชนิดช่วยทำให้หินในดินเกิดการแตกทลายออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ได้
การผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี ( Chemical Weathering)
เป็นกระบวนการที่ทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี ได้แก่
1) น้ำ เป็นตัวการสำคัญที่สุด ทำให้เกิดการผุพังได้โดยการละลาย
2) แก๊สออกซิเจน หินที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบจะทำปฏิกริยากับแก๊สออกซิเจนในสภาวะที่มีน้ำอยู่ด้วย และเกิดเป็นสนิม สนิมทำให้หินอ่อนตัวลงและแตกเป็นชิ้นเล็กๆ และให้สีน้ำตาลหรือสีแดง
3) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สนี้จะละลายรวมตัวกับน้ำฝนและน้ำที่อยู่ในช่องอากาศในดิน ทำให้เกิดเป็นกรดอ่อน เรียกว่า กรดคาร์บอนิก ซึ่งทำให้หินประเภทหินปูนและหินอ่อนผุพังได้
4) สิ่งมีชีวิต พบว่ารากพืชเมื่อเติบโตขึ้นจะผลิตกรดอ่อนที่สามารถละลายหินรอบ ๆ รากได้ และสิ่งมีชีวิตที่คล้ายพืช เรียกว่า ไลเคน ( Lichens ) ที่เติบโตบนหิน จะสร้างกรดอ่อนที่ทำให้หินผุพังได้

ทราบหรือไม่ การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่าง ๆ จะก่อให้เกิดสารประกอบจำพวกซัลเฟอร์ คาร์บอน และไนโตรเจน ซึ่งทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศ และสารประกอบเหล่านี้จะทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีกับไอน้ำในเมฆ ทำให้เกิดเป็นกรด และเมื่อกรดเหล่านี้รวมตัวกับเม็ดฝน ก็จะตกลงมากลายเป็นฝนกรด ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงเคมีได้อย่างรวดเร็ว

สร้างโดย: 
พลึบพลึง
รูปภาพของ ahc8835

สวดยอดดดดดดดดดค่ะ55555555

อยากเก่งวิทยาศาสตร์จังCoolSmile

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 371 คน กำลังออนไลน์