• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:35dfe0860e6fb212ad60fc7746d81906' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #0066ff\">ภูเขาไฟ</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #00ccff\"><span style=\"font-size: small\">1. <span lang=\"TH\">การเกิดภูเขาไฟ</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">เกิดจากหินหนืดในชั้นแมนเทิลที่มีอุณหภูมิและความดันสูงมาก ทำให้หินหนืดถูกแรงอัดให้แทรกรอยแตกขึ้นสู่ผิวโลก โดยมีแรงประทุหรือแรงระเบิดเกิดขึ้น</span><o:p></o:p></span></span></span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #00ccff\"><span style=\"font-size: small\">2. <span lang=\"TH\">สิ่งที่พุ่งออกมาจากภูเขาไฟเมื่อภูเขาไฟระเบิด ได้แก่</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">1) <span lang=\"TH\">หินหนืด ซึ่งหินหนืดที่เปล่งออกจากปล่องภูเขาไฟ เรียกว่า ลาวา</span> ( Lava ) <span lang=\"TH\">โดยลาวาจะไหลลงสู่บริเวณ ที่อยู่ในระดับต่ำ แผ่เป็นบริเวณกว้างใหญ่ ส่วนหินหนืดที่ยังไม่ออกมาสู่พื้นผิวโลกเรียกว่า แมกมา ( </span>Magma )<br />\n2) <span lang=\"TH\">เถ้าถ่าน ฝุ่นละออง ไอน้ำ เศษหิน และแก๊สต่าง ๆ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ( </span>Co2 ) <span lang=\"TH\">แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ( </span>CO ) <span lang=\"TH\">แก๊สไนโตรเจน ( </span>N2 ) <span lang=\"TH\">และแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( </span>SO2 ) <span lang=\"TH\">เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ จะล่องลอยขึ้นสู่ท้องฟ้ามืดมัวเป็นหมอกดำ</span><o:p></o:p></span></span></span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #00ccff\"><span style=\"font-size: small\">3. <span lang=\"TH\">บริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟ ได้แก่</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">3) <span lang=\"TH\">แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก จะมีโอกาสเกิดขึ้นมากที่สุด ทั้งนี้เพราะแผ่นเปลือกโลกที่อยู่ใต้พื้นมหาสมุทรมีความหนาน้อยกว่าเปลือกโลกส่วนที่เป็นพื้นทวีป ได้มุดตัวลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีป แผ่นเปลือกโลกที่มุดลงไปนี้จะหลอมเหลวกลายเป็นหินหนืดที่มีอุณหภูมิและความดนสูงมาก ทำให้ดันแทรกตัวมาตามรอยต่อได้ง่ายกว่าบริเวณอื่น ๆ</span> <br />\n2) <span lang=\"TH\">บริเวณที่อยู่ห่างจากรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก ซึ่งมีโอกาสเกิดได้น้อย ในประเทศไทยเคยเกิดขึ้นที่จังหวัดลำปางและบุรีรัมย์ประมาณว่ามีการระเบิดของภูเขาไฟเกิดขึ้นเมื่อล้านปีมาแล้ว แต่การระเบิดไม่รุนแรงนัก</span><o:p></o:p></span></span></span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #00ccff\"><span style=\"font-size: small\">4. <span lang=\"TH\">ผลกระทบจากการระเบิดของภูเขาไฟ มีดังนี้</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ก่อให้เกิดความเสียหายให้กับมนุษย์สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมอย่างมาก โดยเกิดจากลาวาพุ่งขึ้นมาจากการระเบิดของภูเขาไฟไหลลงสู่ในบริเวณที่อยู่ระดับต่ำกว่า</span><o:p></o:p></span></span></span> <span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00ccff\">5. <span lang=\"TH\">รูปแบบของภูเขาไฟ</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"> ขึ้นอยู่กับชนิดของลาวา ซึ่งได้แก่ ความใกล้ไกลที่ลาวาไหลไปและความรุนแรงของ การประทุ ซึ่งจำแนกออกได้เป็น</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"> 3 <span lang=\"TH\">แบบ ดังนี้</span><br />\n1. <span lang=\"TH\">แบบกรวยกรวดภูเขาไฟ ( </span>Cinder cone )<br />\n- <span lang=\"TH\">เหมือนกรวยสูงที่คว่ำอยู่</span><br />\n- <span lang=\"TH\">เกิดจากการประทุของหินหลอมเหลวที่อยู่ใต้ผิวโลกถูกดันประทุออกมาทางปล่องโดยแรง ทำให้ ชิ้นส่วนของหินที่ร้อนจัดลุกเป็นไฟประทุขึ้นไปในอากาศ และเย็นตัวอย่างรวดเร็ว</span><br />\n- <span lang=\"TH\">เป็นภูเขาไฟที่มีขนาดเล็กที่สุด</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ตัวอย่างที่พบ ภูเขาไฟที่พบทั่วไปส่วนใหญ่จะเป็นแบบนี้</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">แบบกรวยภูเขาไฟสลับชั้น ( </span>Composite coe <span lang=\"TH\">หรือ </span>Stratovolcano )<br />\n- <span lang=\"TH\">คล้ายแบบกรวยกรวดภูเขาไฟ แต่มีฐานแผ่ขยายใหญ่ และมีความลาดจากปากปล่องมาที่ฐานมากกว่า เพราะหินหนืดที่ไหลออกมาจากปากปล่องมีความหนืดสูง จึงทำให้ไหลไปได้ไม่ไกลนัก ทำให้เกิดการทับถมของหินหนืดที่เย็นตัวลงผสมกับหินที่แข็งตัวและขี้เถ้าจากการปะทุครั้งแล้วครั้งเล่าจนเกิดเป็นภูเขากรวยคว่ำขนาดใหญ่ขึ้น</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ตัวอย่างที่พบ ภูเขาไฟฟูจิในประเทศญี่ปุ่น</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ภูเขาไฟรูปโล่ ( </span>Shield volcano )<br />\n- <span lang=\"TH\">คล้ายรูปโล่คว่ำ กว้าง เตี้ย</span><br />\n- <span lang=\"TH\">เกิดจากหินหนืดที่มีอุณหภูมิสูงมากไหลออกจากปล่องด้วยอัตราการไหลที่เร็วมากจึงทำให้ไหลไปได้ไกลจากปากปล่องมากทำให้ไม่เกิดการทับถมของเถ้าถ่านเป็นรูปกรวย แต่จะแผ่ขยายกว้างออกไป จึงกลายเป็นภูเขาไฟที่มีรูปร่างกว้างใหญ่ที่สุด</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ตัวอย่างที่พบ ภูเขาไฟที่อยู่ในแถบหมู่เกาะฮาวาย</span></span></span><o:p></o:p></span> </p>\n', created = 1720173144, expire = 1720259544, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:35dfe0860e6fb212ad60fc7746d81906' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ

รูปภาพของ plubplung

ภูเขาไฟ 1. การเกิดภูเขาไฟ
เกิดจากหินหนืดในชั้นแมนเทิลที่มีอุณหภูมิและความดันสูงมาก ทำให้หินหนืดถูกแรงอัดให้แทรกรอยแตกขึ้นสู่ผิวโลก โดยมีแรงประทุหรือแรงระเบิดเกิดขึ้น
2. สิ่งที่พุ่งออกมาจากภูเขาไฟเมื่อภูเขาไฟระเบิด ได้แก่
1) หินหนืด ซึ่งหินหนืดที่เปล่งออกจากปล่องภูเขาไฟ เรียกว่า ลาวา ( Lava ) โดยลาวาจะไหลลงสู่บริเวณ ที่อยู่ในระดับต่ำ แผ่เป็นบริเวณกว้างใหญ่ ส่วนหินหนืดที่ยังไม่ออกมาสู่พื้นผิวโลกเรียกว่า แมกมา ( Magma )
2) เถ้าถ่าน ฝุ่นละออง ไอน้ำ เศษหิน และแก๊สต่าง ๆ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ( Co2 ) แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ( CO ) แก๊สไนโตรเจน ( N2 ) และแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 ) เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ จะล่องลอยขึ้นสู่ท้องฟ้ามืดมัวเป็นหมอกดำ
3. บริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟ ได้แก่
3) แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก จะมีโอกาสเกิดขึ้นมากที่สุด ทั้งนี้เพราะแผ่นเปลือกโลกที่อยู่ใต้พื้นมหาสมุทรมีความหนาน้อยกว่าเปลือกโลกส่วนที่เป็นพื้นทวีป ได้มุดตัวลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีป แผ่นเปลือกโลกที่มุดลงไปนี้จะหลอมเหลวกลายเป็นหินหนืดที่มีอุณหภูมิและความดนสูงมาก ทำให้ดันแทรกตัวมาตามรอยต่อได้ง่ายกว่าบริเวณอื่น ๆ
2) บริเวณที่อยู่ห่างจากรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก ซึ่งมีโอกาสเกิดได้น้อย ในประเทศไทยเคยเกิดขึ้นที่จังหวัดลำปางและบุรีรัมย์ประมาณว่ามีการระเบิดของภูเขาไฟเกิดขึ้นเมื่อล้านปีมาแล้ว แต่การระเบิดไม่รุนแรงนัก
4. ผลกระทบจากการระเบิดของภูเขาไฟ มีดังนี้
ก่อให้เกิดความเสียหายให้กับมนุษย์สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมอย่างมาก โดยเกิดจากลาวาพุ่งขึ้นมาจากการระเบิดของภูเขาไฟไหลลงสู่ในบริเวณที่อยู่ระดับต่ำกว่า
5. รูปแบบของภูเขาไฟ ขึ้นอยู่กับชนิดของลาวา ซึ่งได้แก่ ความใกล้ไกลที่ลาวาไหลไปและความรุนแรงของ การประทุ ซึ่งจำแนกออกได้เป็น 3 แบบ ดังนี้
1. แบบกรวยกรวดภูเขาไฟ ( Cinder cone )
- เหมือนกรวยสูงที่คว่ำอยู่
- เกิดจากการประทุของหินหลอมเหลวที่อยู่ใต้ผิวโลกถูกดันประทุออกมาทางปล่องโดยแรง ทำให้ ชิ้นส่วนของหินที่ร้อนจัดลุกเป็นไฟประทุขึ้นไปในอากาศ และเย็นตัวอย่างรวดเร็ว
- เป็นภูเขาไฟที่มีขนาดเล็กที่สุด
- ตัวอย่างที่พบ ภูเขาไฟที่พบทั่วไปส่วนใหญ่จะเป็นแบบนี้
2. แบบกรวยภูเขาไฟสลับชั้น ( Composite coe หรือ Stratovolcano )
- คล้ายแบบกรวยกรวดภูเขาไฟ แต่มีฐานแผ่ขยายใหญ่ และมีความลาดจากปากปล่องมาที่ฐานมากกว่า เพราะหินหนืดที่ไหลออกมาจากปากปล่องมีความหนืดสูง จึงทำให้ไหลไปได้ไม่ไกลนัก ทำให้เกิดการทับถมของหินหนืดที่เย็นตัวลงผสมกับหินที่แข็งตัวและขี้เถ้าจากการปะทุครั้งแล้วครั้งเล่าจนเกิดเป็นภูเขากรวยคว่ำขนาดใหญ่ขึ้น
- ตัวอย่างที่พบ ภูเขาไฟฟูจิในประเทศญี่ปุ่น
3. ภูเขาไฟรูปโล่ ( Shield volcano )
- คล้ายรูปโล่คว่ำ กว้าง เตี้ย
- เกิดจากหินหนืดที่มีอุณหภูมิสูงมากไหลออกจากปล่องด้วยอัตราการไหลที่เร็วมากจึงทำให้ไหลไปได้ไกลจากปากปล่องมากทำให้ไม่เกิดการทับถมของเถ้าถ่านเป็นรูปกรวย แต่จะแผ่ขยายกว้างออกไป จึงกลายเป็นภูเขาไฟที่มีรูปร่างกว้างใหญ่ที่สุด
- ตัวอย่างที่พบ ภูเขาไฟที่อยู่ในแถบหมู่เกาะฮาวาย

สร้างโดย: 
พลึบพลึง
รูปภาพของ ahc8835

สวดยอดดดดดดดดดค่ะ55555555

อยากเก่งวิทยาศาสตร์จังCoolSmile

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 719 คน กำลังออนไลน์