• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:59efbfc840a5c14e8adcb723151414ba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium; color: #0000ff\">.....<span style=\"color: #cc0000; font-family: MS Sans Serif\">คุณสมบัติของเสียง</span>.....</span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #008000\">การสะท้อนของเสียง<span lang=\"en-us\"> (Reflection of sound)</span></span></span></span></span></span></strong> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span lang=\"en-us\"><span style=\"font-size: small\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\">          </span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #800080\"><strong>นักเรียนและเพื่อน</strong></span>คงเคยอยู่ในถ้ำที่ลึกและมืด เสียงทุกๆ เสียงที่นักเรียนทำขึ้นมาดูเหมือนว่าจะสะท้อนกลับมาหาตัวนักเรียนเองทุกครั้ง เพื่อความสนุกสนาน นักเรียนกับเพื่อนต่างช่วยกันตะโกน และกรีดร้อง แล้วรอฟังเสียงก้องที่สะท้อนจากรอบๆ ถ้ำ<br />\n </span></span></span><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #cc0000\"><b><span style=\"font-size: small; color: #000000\">การสะท้อนของเสียง</span></b></span><br />\n <br />\n           <span style=\"font-size: small; color: #000000\">เมื่อเสียงตกกระทบกับพื้นผิวที่เสียงไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านไปได้ เสียงจะสะท้อนกลับมา เสียงที่สะท้อนกลับมานี้เราเรียกว่า </span></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small; color: #000000\"> เสียงก้อง (<span lang=\"en-us\">echo</span>)</span> </span></b></span><br />\n<span style=\"font-size: small\"> <br />\n           <span style=\"font-size: small; color: #000000\">บางครั้งเสียงก้องที่สะท้อนกลับมาก็อาจจะเบากว่าเสียงจากต้นกำเนิด ทั้งนี้เพราะว่าพลังงานของคลื่นถูกดูดกลืนไประหว่างทางที่เสียงเคลื่อนที่ วัสดุบางชนิดสะท้อนเสียงออกมาได้เป็นอย่างดี ในขณะที่บางชนิดก็ดูดกลืนเสียงเป็นส่วนใหญ่ การประยุกต์ในเรื่องของเสียงโดยมากจะใช้หลักการของการสะท้อนของเสียงจากพื้นผิว</span><br />\n</span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span lang=\"en-us\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"></span></span></span></span></span></span></p>\n<table border=\"0\" width=\"83%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" height=\"188\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"15\" width=\"806\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: small\"><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"605\" src=\"file:///F:/stou.ac.th/Thesisaew/webวิทยานิพนธ์sound/ใบความรู้/know041.gif\" height=\"315\" style=\"width: 573px; height: 301px\" /> </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"15\" width=\"806\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: small\"></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"15\" width=\"806\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #cc0000\"><b><span style=\"font-size: small; color: #008000\">โซนาร์</span></b></span>\n<p>           <span style=\"font-size: small; color: #000000\">หลักการของเสียงสะท้อนได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากมาย เช่นใช้ในการหาความลึกของน้ำ ใช้ในการหาเรือที่จมอยู่ใต้ทะเล ใช้หากลุ่มฝูงปลา หรือใช้ในการหาเรือที่ลอยอยู่ในมหาสมุทร</span><br />\n   </p></span>\n<table border=\"0\" width=\"100%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" id=\"AutoNumber1\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"50%\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\">         <span style=\"font-size: small\"> <span style=\"color: #0000ff\"><b>โซนาร์ (<span lang=\"en-us\">sonar) </span></b></span>เป็นระบบที่ใช้ตรวจวัดเสียงที่สะท้อนกลับมา คำว่า <span lang=\"en-us\">sonar </span>มาจากตัวอักษรตัวแรกของคำว่า <span lang=\"en-us\"><span style=\"color: #0000ff\"><b>So</b></span>und <b><span style=\"color: #0000ff\">na</span></b>vigation and ranging </span>ศัพท์คำว่า &quot;<span lang=\"en-us\">navigation</span>&quot; หมายถึง การหาเส้นทางเดินรอบๆ มหาสมุทร (หรือในอากาศ) ส่วนคำว่า &quot;<span lang=\"en-us\">ranging</span>&quot; หมายถึง การหาระยะทางระหว่างวัตถุ เรือดำน้ำและเรือทั่วๆ ไปใช้โซนาร์เพื่อเสาะหาเรือดำน้ำอื่นๆ หรือเรือลำอื่นๆ โดยการส่งคลื่นเสียงผ่านน้ำลงไป เมื่อคลื่นกระทบกับเรืออีกลำหนึ่งที่อยู่ใกล้ผิวน้ำ คลื่นจะสะท้อนกลับมาและถูกวัดได้ด้วยเครื่องโซนาร์</span><br />\n  </span></span></td>\n<td width=\"50%\"><span style=\"font-size: small\"><img border=\"0\" width=\"409\" src=\"file:///F:/stou.ac.th/Thesisaew/webวิทยานิพนธ์sound/ใบความรู้/know042.gif\" height=\"236\" style=\"width: 371px; height: 201px\" /></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"font-size: small\"> </span></td>\n<td><span style=\"font-size: small\">  </span>\n<p align=\"right\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #0000ff\"><b>รูปที่ </b></span><span lang=\"en-us\"><span style=\"color: #0000ff\"><b>1</b></span> </span>โซนาร์ถูกนำมาใช้ในการหาระยะทางและบอกตำแหน่งวัตถุที่อยู่ใต้น้ำ<br />\n <span style=\"color: #ff0000\"><b>ประยุกต์ใช้แนวคิด </b></span> ในการคำนวณหาว่าคลื่นเสียงเดินทางได้เป็นระยะทางเท่าไรนั้น นักเรียนจำเป็นต้องรูปปริมาณสองปริมาณคืออะไรบ้าง</span> </span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #000000\">  </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #800080\"><b>โซนาร์ทำงานอย่างไร</b></span><br />\n  <br />\n            เครื่องโซนาร์หรือเครื่องหาระยะทางจะสร้างคลื่นที่มีความถี่สูงมากหรือคลื่นเหนือเสียงขึ้นมาเพื่อให้เดินทางในน้ำ เมื่อคลื่นนี้กระทบกับวัตถุหรือก้นทะเล คลื่นจะสะท้อนกลับ คลื่นที่สะท้อนกลับออกมาจะวัดได้ด้วยเครื่องโซนาร์ <span style=\"color: #0000ff\"><b>เครื่องโซนาร์จะวัดเวลาตั้งแต่ปล่อยคลื่นเสียงจนกระทั่งได้รับคลื่นสะท้อนกลับมา</b></span> ข้อมูลที่ได้นี้จะใช้ในการคำนวณหาระยะทางที่คลื่นเสียงเดินทาง ความเข้มของเสียงที่สะท้อนกลับบ่งบอกถึงขนาด และรูปร่างของวัตถุที่สะท้อนคลื่นกลับออกมา</span> </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #800080\"><b>คำนวณหาระยะทาง</b></span><br />\n  <br />\n            คลื่นเสียงเดินทางยิ่งไกลเท่าใดก่อนที่จะสะท้อนกับสิ่งกีดขวาง ก็ยิ่งใช้เวลานานเท่นั้นในการที่จะย้อนกลับ การคำนวณหาความลึกของน้ำ เครื่องโซนาร์จะคำนวณระยะทางที่เสียงเดินทางได้โดย การวัดเวลาที่คลื่นใช้ในการเดินทางไปและย้อนกลับ เครื่องโซนาร์จะนำเอาอัตราเร็วของเสียงในน้ำมาคูณกับเวลาที่วัดได้ ก็จะได้ระยะทางที่เสียงเดินทางทั้งหมด ซึ่งเป็นสองเท่าของความลึกของน้ำ เนื่องจากคลื่นเดินทางสู่ก้นทะเลและย้อนกลับ เครื่องโซนาร์จะหารระยะทางที่คำนวณได้ด้วยสองเพื่อให้เป็นความลึกจริง </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> <span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\">          </span><span style=\"font-size: medium; color: #008000; font-family: Wingdings\"><span lang=\"en\">þ</span> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #ff0000\"><b>จุดตรวจสอบ</b></span>  ให้บอกประโยชน์ของการใช้โซนาร์มา  <span lang=\"en-us\">3  </span>อย่าง</span> </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"> <span style=\"font-size: small\">การหักเหของเสียง<span lang=\"en-us\"> (Refraction of sound)</span></span></span></span></strong> </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"en-us\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: medium\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #cc0000\">การหักเหของเสียง</span><br />\n  <br />\n  </span></span></strong></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\">          เนื่องจากอัตราเร็วในอากาศขึ้นกับอุณหภูมิ เมื่อบริเวณ <span lang=\"en-us\">2 </span>แห่ง มีอุณหภูมิของอากาศแตกต่างกัน เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งจะเกิดการหักเหทำให้คลื่นเสียงเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น <span style=\"color: #0000ff\"><strong>การที่เราเห็นฟ้าแลบ บางครั้งไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง</strong></span> เพราะเสียงได้หักเหไปทางอื่น จึงมาไม่ถึงหูผู้ฟัง<br />\n  <br />\n            <span style=\"color: #0000ff\"><strong>การหักเหของเสียง</strong></span>  เมื่อเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน หรือตัวกลางชนิดเดียวกันแต่อุณหภูมิต่างกัน จะมีเงื่อนไขเหมือนกับคลื่นน้ำ</span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"en-us\"></span></span></span></span></p>\n<table border=\"0\" align=\"center\" width=\"775\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" height=\"340\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><br />\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\">          ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยไปสู่ตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก ทำให้<b><span style=\"color: #0000ff\">คลื่นมีทิศทางเบนออกจากเส้นปกติ</span></b> และถ้าเสียงเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำไปบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงจะทำให้คลื่นเบนออกจากเส้นปกติ ซึ่งจะนำไปอธิบายปรากฏการณ์การเกิดฟ้าแลบฟ้าร้องในธรรมชาติได้ดังนี้\n<p>         <span style=\"color: #008000\">  </span><b><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"en-us\">1. </span>การหักเหของเสียงตอนกลางวัน</span></span></b><br />\n           <br />\n <span style=\"color: #000000\">          เสียงจะหักเหขึ้นสู่อากาศเบื้องบนเพราะอากาศที่พื้นดินมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศเบื้องบน ดังรูป</span><br />\n  </p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"11\" width=\"775\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><img border=\"0\" width=\"351\" src=\"file:///F:/stou.ac.th/Thesisaew/webวิทยานิพนธ์sound/ใบความรู้/know051.gif\" height=\"116\" /> </span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #008000\">        <span lang=\"en-us\">2. </span>การหักเหของเสียงตอนกลางคืน</span></b><br />\n           <br />\n           เสียงจะหักเหลงสู่พื้นดินเพราะอากาศเบื้องบนมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นดิน ดังรูป<br />\n  </span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><img border=\"0\" width=\"363\" src=\"file:///F:/stou.ac.th/Thesisaew/webวิทยานิพนธ์sound/ใบความรู้/know052.gif\" height=\"117\" /> </span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #008000\">        <span lang=\"en-us\">3. </span>การที่ฟ้าแลบแล้วไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง</span></b><br />\n           <br />\n           เพราะในขณะที่เกิดฟ้าแลบ อากาศเบื้องบนจะมีอุณหภูมิต่ำกว่าเบื้องล่าง ทำให้เสียงจากฟ้าแลบเคลื่อนที่จากอากาศอุณหภูมิต่ำไปสู่อุณหภูมิสูง <b><span style=\"color: #0000ff\">โดยเบนจากเส้นปกติ</span></b> เมื่ออากาศมีลักษณะต่างกันมาก จะทำให้<b><span style=\"color: #0000ff\">เกิดการสะท้อนกลับหมดได้</span></b>ดังรูป ทำให้<span style=\"color: #0000ff\"><b>ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง</b></span><br />\n  </span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"file:///F:/stou.ac.th/Thesisaew/webวิทยานิพนธ์sound/ใบความรู้/know053.gif\" height=\"115\" /> </span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><img border=\"0\" width=\"227\" src=\"file:///F:/stou.ac.th/Thesisaew/webวิทยานิพนธ์sound/ใบความรู้/wpeA.gif\" height=\"258\" /> </span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\"><strong><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> <span style=\"font-size: small; color: #cc0000\">การเลี้ยวเบนของเสียง<span lang=\"en-us\"> (Diffraction of sound)</span></span></span></span></span></strong></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc0000\">การเลี้ยวเบนของเสียง</span><br />\n  <br />\n  </span></b><span style=\"font-size: medium\">          คลื่นเสียงสามารถเลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางทึบ ที่เป็นมุมหรือช่องเล็กๆ ได้ เหมือนกับคลื่นอื่นๆ ในชีวิตประจำวันที่เราพบเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์เลี้ยวเบน ได้แก่ การได้ยินเสียงแตรรถอ้อมผ่านมุมตึก ทำให้ผู้ฟังที่อยู่อีกด้านหนึ่งได้ยิน หรือเสียงลอดช่องจากห้องหนึ่งไปยังอีกห้องหนึ่ง เป็นต้น</span></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"12\" width=\"775\" vAlign=\"top\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\">          <b><span style=\"color: #0000ff\">การเลี้ยวเบนจะเกิดได้ดี</span></b>  เมื่อ  ช่องแคบมีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่น<br />\n                                                      หรือ  ความยาวคลื่นต้องใหญ่กว่าช่องแคบ นั่นเอง</span></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></span>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"en-us\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Times New Roman\"><strong><span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"> การแทรกสอดของเสียง<span lang=\"en-us\"> (Interference of sound)</span></span></span></strong><span style=\"position: relative; top: 21pt\"> </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"> </span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"en-us\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Times New Roman\"><span style=\"position: relative; top: 21pt\"><span style=\"color: #000000\"><strong> ก</strong></span><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #cc0000\"><strong>ารแทรกสอดของคลื่นเสียง</strong></span><br />\n  <br />\n            นักเรียนคงเคยได้ยินเสียงที่เกิดจากการแทรกสอดซึ่งกันและกัน เพียงแต่ไม่รู้ว่าเสียงนั้นเป็นเสียงที่เกิดจากการแทรกสอด <span style=\"color: #0000ff\"><b>การแทรกสอดเกิดขึ้นเมื่อคลื่นมากกว่าสองคลื่นมากระทำซึ่งกันและกัน</b></span> แอมพลิจูดของคลื่นทั้งสองคลื่นจะมารวมกันทำให้ความดังของเสียงเปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีการแทรกสอดแบบเสริม ส่วนอัดของคลื่นจะเกิดที่ตำแหน่งตรงกัน ทำให้แอมพลิจูดรวมเพิ่มขึ้น เสียงที่ได้ยินจะเป็นเสียงที่ดังมากขึ้นกว่าเสียงเดิม ถ้าการแทรกสอดเป็นแบบหักล้าง ส่วนอัดของคลื่นลูกหนึ่งจะตรงกับส่วนขยายของคลื่นอีกลูกหนึ่งพอดี ทำให้แอมพลิจูดหักล้างกันไป เสียงที่ได้ยินจะเป็นเสียงค่อย หรือบางครั้งอาจจะไม่ได้ยินเลย</span><span style=\"color: #000000\"><br />\n   </span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #cc0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"en-us\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Times New Roman\"><span style=\"position: relative; top: 21pt\"></span></span></span></span></span></span></p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #000000\"></span>\n </div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #000000\"></span>\n </div>\n<p> </p>\n<table border=\"0\" width=\"100%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" id=\"AutoNumber1\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"50%\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><img border=\"0\" width=\"388\" src=\"file:///F:/stou.ac.th/Thesisaew/webวิทยานิพนธ์sound/ใบความรู้/know071.jpg\" height=\"265\" /></span></span></td>\n<td rowSpan=\"2\" width=\"50%\"><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #800080\"><b>อะคูสติก</b></span>\n<p>           การที่เสียงเกิดการกระทำซึ่งกันและกันนั้นมีบทบาทสำคัญอย่างมาก ในการออกแบบห้องแสดงคอนเสิร์ต ในห้องแสดงคอนเสิร์ต คลื่นเสียงจากหลายๆ ความถี่เดินทางมาถึงหูผู้ฟังจากหลายๆ ทิศทางในเวลาพร้อมกัน เสียงนี้อาจจะมาจากวงออร์เคสตร้าโดยตรง หรือมาจากการสะท้อนกับกำแพง หรือฝาผนังก่อนที่จะถึงหูผู้ฟัง ผู้ฟังที่นั่งในตำแหน่งต่างกัน อาจจะได้ยินเสียงที่ต่างกัน ทั้งนี้เพราะว่าการกระทำของคลื่นเสียงที่ตำแหน่งต่างๆ เป็นลักษณะเฉพาะตัว ห้องแสดงคอนเสิร์ตที่ออกแบบได้ไม่ดี ที่นั่งของผู้ฟังอาจจะอยู่ในตำแหน่งที่ทำให้เสียงเกิดการแทรกสอดกันแบบหักล้าง เสียงที่ได้ยินจึงเป็นเสียงที่ไม่ชัดเจน</p></span>\n<p>           </p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"50%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #0000ff\"><b><br />\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\">รูปที่ </span></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"en-us\"><span style=\"color: #0000ff\"><b>1</b></span> </span>ห้องแสดงคอนเสิร์ตจะถูกออกแบบมาเพื่อให้ได้คุณภาพเสียงที่ดีที่สุด<br />\n การออกแบบจะคำนึงถึงการกำจัดเสียงก้องและเสียงสะท้อน<br />\n ที่ทำให้เกิดการแทรกสอดแบบหักล้าง</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n <br />\n <span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800080\">          <b>อะคูสติก (<span lang=\"en-us\">Acoustics</span>)</b></span> เป็นการศึกษาการได้ยินของเสียงในห้องทั่วๆ ไป หรือในห้องแสดงคอนเสิร์ตว่าเป็นอย่างไรในการออกแบบหอประชุม วิศวกรทางด้านเสียงจำเป็นต้องพิจารณาอย่างพิถีพิถันถึงรูปร่างของหอประชุม และวัสดุที่จะใช้ในการติดผนัง พื้น เพดานและที่นั่ง เพราะว่าต้องการให้วัสดุเหล่านี้ดูดกลืนพลังงานเสียงแทนที่จะสะท้อนเสียงกลับออกมา ซึ่งทำให้เกิดการแทรกสอดของเสียงได้</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><br />\n <span style=\"font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-size: medium; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #cc0000\"><b>เชื่อมโยงกับเทคโนโลยี <span lang=\"en-us\">: </span>การกำจัดเสียงรบกวน</b></span><br />\n  <br />\n            บางครั้งการแทรกสอดแบบหักล้างก็ถูกนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ผู้โดยสารบนเครื่องบินใช้หูฟังเพื่อฟังเสียงดนตรี แต่จริงๆ แล้วเสียงเครื่องยนต์ของเครื่องบินเองก็ดังพอสมควร ซึ่งอาจทำให้ได้ยินเสียงดนตรีไม่ชัดเจน ดังนั้นหูฟังของบางสายการบินจะใช้หลักการการแทรกสอดแบบหักล้างกัน เพื่อกำจัดเสียงรบกวนจากเครื่องยนต์ที่ดังตลอดเวลา โดยหูฟังจะผลิตเสียงที่ทำให้เกิดการแทรกสอดแบบหักล้างกับเสียงของเครื่องยนต์ ดังนั้นหูฟังของผู้โดยสารจึงได้รับสัญญาณเสียงจากทั้งเสียงเครื่องยนต์และคลื่นเสียงที่ผลิตจากหูฟัง คลื่นสองคลื่นนี้จะหักล้างกันออกไป ทำให้ผู้โดยสารไม่ได้ยินเสียงทั้งสองคลื่นนี้ แต่จะได้ยินเฉพาะเสียงดนตรี เทคโนโลยีในลักษณะนี้ได้ถูกนำมาใช้ในโรงงาน ทำให้คนงานในโรงงานสามารถลดการได้ยินเสียงดังจากเสียงรบกวน เพื่อสุขภาพที่ดี</span></span></span>\n </p>\n<p> </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p>\n', created = 1714612892, expire = 1714699292, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:59efbfc840a5c14e8adcb723151414ba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คุณสมบัติของเสียง

รูปภาพของ krooaew

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


.....คุณสมบัติของเสียง.....

การสะท้อนของเสียง (Reflection of sound)

           นักเรียนและเพื่อนคงเคยอยู่ในถ้ำที่ลึกและมืด เสียงทุกๆ เสียงที่นักเรียนทำขึ้นมาดูเหมือนว่าจะสะท้อนกลับมาหาตัวนักเรียนเองทุกครั้ง เพื่อความสนุกสนาน นักเรียนกับเพื่อนต่างช่วยกันตะโกน และกรีดร้อง แล้วรอฟังเสียงก้องที่สะท้อนจากรอบๆ ถ้ำ
 
การสะท้อนของเสียง
 
           เมื่อเสียงตกกระทบกับพื้นผิวที่เสียงไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านไปได้ เสียงจะสะท้อนกลับมา เสียงที่สะท้อนกลับมานี้เราเรียกว่า

 เสียงก้อง (echo)

 
           บางครั้งเสียงก้องที่สะท้อนกลับมาก็อาจจะเบากว่าเสียงจากต้นกำเนิด ทั้งนี้เพราะว่าพลังงานของคลื่นถูกดูดกลืนไประหว่างทางที่เสียงเคลื่อนที่ วัสดุบางชนิดสะท้อนเสียงออกมาได้เป็นอย่างดี ในขณะที่บางชนิดก็ดูดกลืนเสียงเป็นส่วนใหญ่ การประยุกต์ในเรื่องของเสียงโดยมากจะใช้หลักการของการสะท้อนของเสียงจากพื้นผิว

โซนาร์

          หลักการของเสียงสะท้อนได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากมาย เช่นใช้ในการหาความลึกของน้ำ ใช้ในการหาเรือที่จมอยู่ใต้ทะเล ใช้หากลุ่มฝูงปลา หรือใช้ในการหาเรือที่ลอยอยู่ในมหาสมุทร
 

          โซนาร์ (sonar) เป็นระบบที่ใช้ตรวจวัดเสียงที่สะท้อนกลับมา คำว่า sonar มาจากตัวอักษรตัวแรกของคำว่า Sound navigation and ranging ศัพท์คำว่า "navigation" หมายถึง การหาเส้นทางเดินรอบๆ มหาสมุทร (หรือในอากาศ) ส่วนคำว่า "ranging" หมายถึง การหาระยะทางระหว่างวัตถุ เรือดำน้ำและเรือทั่วๆ ไปใช้โซนาร์เพื่อเสาะหาเรือดำน้ำอื่นๆ หรือเรือลำอื่นๆ โดยการส่งคลื่นเสียงผ่านน้ำลงไป เมื่อคลื่นกระทบกับเรืออีกลำหนึ่งที่อยู่ใกล้ผิวน้ำ คลื่นจะสะท้อนกลับมาและถูกวัดได้ด้วยเครื่องโซนาร์
 
   

รูปที่ 1 โซนาร์ถูกนำมาใช้ในการหาระยะทางและบอกตำแหน่งวัตถุที่อยู่ใต้น้ำ
ประยุกต์ใช้แนวคิด  ในการคำนวณหาว่าคลื่นเสียงเดินทางได้เป็นระยะทางเท่าไรนั้น นักเรียนจำเป็นต้องรูปปริมาณสองปริมาณคืออะไรบ้าง

   โซนาร์ทำงานอย่างไร
 
           เครื่องโซนาร์หรือเครื่องหาระยะทางจะสร้างคลื่นที่มีความถี่สูงมากหรือคลื่นเหนือเสียงขึ้นมาเพื่อให้เดินทางในน้ำ เมื่อคลื่นนี้กระทบกับวัตถุหรือก้นทะเล คลื่นจะสะท้อนกลับ คลื่นที่สะท้อนกลับออกมาจะวัดได้ด้วยเครื่องโซนาร์ เครื่องโซนาร์จะวัดเวลาตั้งแต่ปล่อยคลื่นเสียงจนกระทั่งได้รับคลื่นสะท้อนกลับมา ข้อมูลที่ได้นี้จะใช้ในการคำนวณหาระยะทางที่คลื่นเสียงเดินทาง ความเข้มของเสียงที่สะท้อนกลับบ่งบอกถึงขนาด และรูปร่างของวัตถุที่สะท้อนคลื่นกลับออกมา

 คำนวณหาระยะทาง
 
           คลื่นเสียงเดินทางยิ่งไกลเท่าใดก่อนที่จะสะท้อนกับสิ่งกีดขวาง ก็ยิ่งใช้เวลานานเท่นั้นในการที่จะย้อนกลับ การคำนวณหาความลึกของน้ำ เครื่องโซนาร์จะคำนวณระยะทางที่เสียงเดินทางได้โดย การวัดเวลาที่คลื่นใช้ในการเดินทางไปและย้อนกลับ เครื่องโซนาร์จะนำเอาอัตราเร็วของเสียงในน้ำมาคูณกับเวลาที่วัดได้ ก็จะได้ระยะทางที่เสียงเดินทางทั้งหมด ซึ่งเป็นสองเท่าของความลึกของน้ำ เนื่องจากคลื่นเดินทางสู่ก้นทะเลและย้อนกลับ เครื่องโซนาร์จะหารระยะทางที่คำนวณได้ด้วยสองเพื่อให้เป็นความลึกจริง

           þ จุดตรวจสอบ  ให้บอกประโยชน์ของการใช้โซนาร์มา  อย่าง

 การหักเหของเสียง (Refraction of sound)

 การหักเหของเสียง
 
 
          เนื่องจากอัตราเร็วในอากาศขึ้นกับอุณหภูมิ เมื่อบริเวณ 2 แห่ง มีอุณหภูมิของอากาศแตกต่างกัน เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งจะเกิดการหักเหทำให้คลื่นเสียงเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น การที่เราเห็นฟ้าแลบ บางครั้งไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง เพราะเสียงได้หักเหไปทางอื่น จึงมาไม่ถึงหูผู้ฟัง
 
           การหักเหของเสียง  เมื่อเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน หรือตัวกลางชนิดเดียวกันแต่อุณหภูมิต่างกัน จะมีเงื่อนไขเหมือนกับคลื่นน้ำ


          ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยไปสู่ตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก ทำให้คลื่นมีทิศทางเบนออกจากเส้นปกติ และถ้าเสียงเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำไปบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงจะทำให้คลื่นเบนออกจากเส้นปกติ ซึ่งจะนำไปอธิบายปรากฏการณ์การเกิดฟ้าแลบฟ้าร้องในธรรมชาติได้ดังนี้

          1. การหักเหของเสียงตอนกลางวัน
         
          เสียงจะหักเหขึ้นสู่อากาศเบื้องบนเพราะอากาศที่พื้นดินมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศเบื้องบน ดังรูป
 

        2. การหักเหของเสียงตอนกลางคืน
         
          เสียงจะหักเหลงสู่พื้นดินเพราะอากาศเบื้องบนมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นดิน ดังรูป
 

        3. การที่ฟ้าแลบแล้วไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง
         
          เพราะในขณะที่เกิดฟ้าแลบ อากาศเบื้องบนจะมีอุณหภูมิต่ำกว่าเบื้องล่าง ทำให้เสียงจากฟ้าแลบเคลื่อนที่จากอากาศอุณหภูมิต่ำไปสู่อุณหภูมิสูง โดยเบนจากเส้นปกติ เมื่ออากาศมีลักษณะต่างกันมาก จะทำให้เกิดการสะท้อนกลับหมดได้ดังรูป ทำให้ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง
 

 การเลี้ยวเบนของเสียง (Diffraction of sound)
 การเลี้ยวเบนของเสียง
 
 
          คลื่นเสียงสามารถเลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางทึบ ที่เป็นมุมหรือช่องเล็กๆ ได้ เหมือนกับคลื่นอื่นๆ ในชีวิตประจำวันที่เราพบเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์เลี้ยวเบน ได้แก่ การได้ยินเสียงแตรรถอ้อมผ่านมุมตึก ทำให้ผู้ฟังที่อยู่อีกด้านหนึ่งได้ยิน หรือเสียงลอดช่องจากห้องหนึ่งไปยังอีกห้องหนึ่ง เป็นต้น
           การเลี้ยวเบนจะเกิดได้ดี  เมื่อ  ช่องแคบมีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่น
                                                     หรือ  ความยาวคลื่นต้องใหญ่กว่าช่องแคบ นั่นเอง

 การแทรกสอดของเสียง (Interference of sound) 

 การแทรกสอดของคลื่นเสียง
 
           นักเรียนคงเคยได้ยินเสียงที่เกิดจากการแทรกสอดซึ่งกันและกัน เพียงแต่ไม่รู้ว่าเสียงนั้นเป็นเสียงที่เกิดจากการแทรกสอด การแทรกสอดเกิดขึ้นเมื่อคลื่นมากกว่าสองคลื่นมากระทำซึ่งกันและกัน แอมพลิจูดของคลื่นทั้งสองคลื่นจะมารวมกันทำให้ความดังของเสียงเปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีการแทรกสอดแบบเสริม ส่วนอัดของคลื่นจะเกิดที่ตำแหน่งตรงกัน ทำให้แอมพลิจูดรวมเพิ่มขึ้น เสียงที่ได้ยินจะเป็นเสียงที่ดังมากขึ้นกว่าเสียงเดิม ถ้าการแทรกสอดเป็นแบบหักล้าง ส่วนอัดของคลื่นลูกหนึ่งจะตรงกับส่วนขยายของคลื่นอีกลูกหนึ่งพอดี ทำให้แอมพลิจูดหักล้างกันไป เสียงที่ได้ยินจะเป็นเสียงค่อย หรือบางครั้งอาจจะไม่ได้ยินเลย

 

อะคูสติก

          การที่เสียงเกิดการกระทำซึ่งกันและกันนั้นมีบทบาทสำคัญอย่างมาก ในการออกแบบห้องแสดงคอนเสิร์ต ในห้องแสดงคอนเสิร์ต คลื่นเสียงจากหลายๆ ความถี่เดินทางมาถึงหูผู้ฟังจากหลายๆ ทิศทางในเวลาพร้อมกัน เสียงนี้อาจจะมาจากวงออร์เคสตร้าโดยตรง หรือมาจากการสะท้อนกับกำแพง หรือฝาผนังก่อนที่จะถึงหูผู้ฟัง ผู้ฟังที่นั่งในตำแหน่งต่างกัน อาจจะได้ยินเสียงที่ต่างกัน ทั้งนี้เพราะว่าการกระทำของคลื่นเสียงที่ตำแหน่งต่างๆ เป็นลักษณะเฉพาะตัว ห้องแสดงคอนเสิร์ตที่ออกแบบได้ไม่ดี ที่นั่งของผู้ฟังอาจจะอยู่ในตำแหน่งที่ทำให้เสียงเกิดการแทรกสอดกันแบบหักล้าง เสียงที่ได้ยินจึงเป็นเสียงที่ไม่ชัดเจน

         


รูปที่
1 ห้องแสดงคอนเสิร์ตจะถูกออกแบบมาเพื่อให้ได้คุณภาพเสียงที่ดีที่สุด
การออกแบบจะคำนึงถึงการกำจัดเสียงก้องและเสียงสะท้อน
ที่ทำให้เกิดการแทรกสอดแบบหักล้าง


           อะคูสติก (Acoustics) เป็นการศึกษาการได้ยินของเสียงในห้องทั่วๆ ไป หรือในห้องแสดงคอนเสิร์ตว่าเป็นอย่างไรในการออกแบบหอประชุม วิศวกรทางด้านเสียงจำเป็นต้องพิจารณาอย่างพิถีพิถันถึงรูปร่างของหอประชุม และวัสดุที่จะใช้ในการติดผนัง พื้น เพดานและที่นั่ง เพราะว่าต้องการให้วัสดุเหล่านี้ดูดกลืนพลังงานเสียงแทนที่จะสะท้อนเสียงกลับออกมา ซึ่งทำให้เกิดการแทรกสอดของเสียงได้


 
เชื่อมโยงกับเทคโนโลยี : การกำจัดเสียงรบกวน
 
           บางครั้งการแทรกสอดแบบหักล้างก็ถูกนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ผู้โดยสารบนเครื่องบินใช้หูฟังเพื่อฟังเสียงดนตรี แต่จริงๆ แล้วเสียงเครื่องยนต์ของเครื่องบินเองก็ดังพอสมควร ซึ่งอาจทำให้ได้ยินเสียงดนตรีไม่ชัดเจน ดังนั้นหูฟังของบางสายการบินจะใช้หลักการการแทรกสอดแบบหักล้างกัน เพื่อกำจัดเสียงรบกวนจากเครื่องยนต์ที่ดังตลอดเวลา โดยหูฟังจะผลิตเสียงที่ทำให้เกิดการแทรกสอดแบบหักล้างกับเสียงของเครื่องยนต์ ดังนั้นหูฟังของผู้โดยสารจึงได้รับสัญญาณเสียงจากทั้งเสียงเครื่องยนต์และคลื่นเสียงที่ผลิตจากหูฟัง คลื่นสองคลื่นนี้จะหักล้างกันออกไป ทำให้ผู้โดยสารไม่ได้ยินเสียงทั้งสองคลื่นนี้ แต่จะได้ยินเฉพาะเสียงดนตรี เทคโนโลยีในลักษณะนี้ได้ถูกนำมาใช้ในโรงงาน ทำให้คนงานในโรงงานสามารถลดการได้ยินเสียงดังจากเสียงรบกวน เพื่อสุขภาพที่ดี

สร้างโดย: 
krooaew

ดีครับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 505 คน กำลังออนไลน์