• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('Google', 'node/114442', '', '3.141.193.148', 0, '29ebc911ba5eec69357ca50178c9e287', 143, 1716271911) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1c745613188c307b0de89b4f736aa777' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p> เริ่มหน้า 6<br />\n<span><strong><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\"><span style=\"font-size: 26pt; color: blue; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"60\" src=\"/files/u4064/EarthAnim.gif\" height=\"60\" />โลก (</span><strong><span style=\"font-size: 26pt; color: blue; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\">The Earth)</span></strong><br />\n<marquee behavior=\"alternate\" lang=\"TH\">&quot;ดาวเคราะห์สีน้ำเงิน”<br />\n</marquee><span style=\"font-size: 10pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span><span>                       </span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจรซึ่งใช้เวลา </span><span style=\"font-size: 12pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\">365.25 <span lang=\"TH\">วัน</span>  <span lang=\"TH\">เพื่อให้ครบ </span>1 <span lang=\"TH\">รอบ ปฏิทินแต่ละปีมี </span>365 <span lang=\"TH\">วัน ซึ่งหมายความว่าจะมี </span>1/4 <span lang=\"TH\">ของวันที่เหลือในแต่ละปี ซึ่งทุกๆปีสี่ปีจะมีวันพิเศษ คือจะมี </span>366 <span lang=\"TH\">วัน กล่าวคือเดือนกุมภาพันธ์จะมี </span>29 <span lang=\"TH\">วัน แทนที่จะมี </span>28 <span lang=\"TH\">วันเหมือนปกติ ตามที่เคปเลอร์ค้นพบวงโคจรของโลกไม่เป็นวงกลม ในเดือนธันวาคมจะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าเดือนมิถุนายน ซึ่งจะอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุด โลกจะเอียงไปตามเส้นแกน ในเดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือจะเอียงไปทางดวงอาทิตย์ ดังนั้นซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูร้อน และซีกโลกใต้จะเป็นฤดูหนาว ในเดือนธันวาคมจะเอียงจากดวงอาทิตย์ ทำให้ซีกโลกเหนือเป็นฤดูหนาวและซีกโลกใต้เป็นฤดูร้อน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้งสองไม่เอียงไปยังดวงอาทิตย์ กลางวันและกลางคืนจึงมีความยาวเท่ากัน ในเดือนมีนาคม ซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูใบไม้ผลิ และซีกโลกใต้เป็นฤดูใบไม้ร่วง ในเดือนกันยายน สถานการณ์จะกลับกัน</span> <br />\n               <span lang=\"TH\">โลกมีอายุประมาณ </span>4,700 <span lang=\"TH\">ปี</span>   <span lang=\"TH\">โลกไม่ได้มีรูปร่างกลมโดยสิ้นเชิง เส้นรอบวงที่เส้นศูนย์สูตรยาว </span><st1:metricconverter ProductID=\"40,077 กิโลเมตร\" w:st=\"on\">40,077 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร</span></st1:metricconverter> (<st1:metricconverter ProductID=\"24,903 ไมล์\" w:st=\"on\">24,903 <span lang=\"TH\">ไมล์</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\">) และที่ขั้วโลกยาว </span><st1:metricconverter ProductID=\"40,009 กิโลเมตร\" w:st=\"on\">40,009 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> (</span><st1:metricconverter ProductID=\"24,861 ไมล์\" w:st=\"on\">24,861 <span lang=\"TH\">ไมล์</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\">)<br />\n</span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></strong></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"60\" src=\"/files/u4064/earth.jpg\" height=\"60\" style=\"width: 112px; height: 120px\" /><img border=\"0\" width=\"120\" src=\"/files/u4064/earthinterior_0.jpg\" height=\"120\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n<span> </span><span>               </span>ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ จะมีฤดูกาลเป็นของตนเองและระยะของการโคจร ความยาวของปีดาวเคราะห์เป็นเวลาที่มันหมุนรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบ ถ้าอยู่บนดาวพุธ ปีจะมีเพียง 88 <span lang=\"TH\">วันของโลก บนดาวพูลโตซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่นอกสุดหนึ่งปีจะเท่ากับ </span>248 <span lang=\"TH\">วันบนโลก</span><b><span style=\"font-size: 12pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><br />\n<img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />ดวงจันทร์</span></b><span style=\"font-size: 12pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span lang=\"TH\"><span> </span><span>               </span>ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก โคจรรอบโลกทุกๆ </span>27 <span lang=\"TH\">วัน </span>8 <span lang=\"TH\">ชั่งโมง และขณะเดียวกันก็หมุนรอบแกนตัวเองได้ครบหนึ่งรอบพอดีด้วย ทำให้เรามองเห็นดวงจันทร์ด้านเดียว ไม่ว่าจะมองจากส่วนไหนของโลก ส่วนอีกครึ่งหนึ่ง มนุษย์เพิ่งจะได้เห็นภาพ เมื่อสามารถส่งยานอวกาศไปในอวกาศได้ บนพื้นผิวดวงจันทร์ร้อนมากในบริเวณที่ถูกแสงอาทิตย์ และเย็นจัดในบริเวณเงามืด ที่พื้นผิวของดวงจันทร์มีปล่องหลุมมากมาย เป็นหมื่นๆหลุม ตั้งแต่หลุมเล็กไปจนถึงหลุมใหญ่มีภูเขาไฟและทะเลทรายแห้งแล้ง</span> <br />\n             <span>   </span><span lang=\"TH\">ดวงจันทร์เป็นดวงดาวใหญ่ที่สุด  และสว่างที่สุดในท้องฟ้ากลางคืน</span>  <span lang=\"TH\">ดวงจันทร์ส่องแสง  แต่แสงที่ส่องนั้นมิได้เปล่งออกมาจากดวงจันทร์เอง</span>  <span lang=\"TH\">ดวงจันทร์เมื่อได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ก็จะสะท้อนแสงนั้นออกมา</span>  <span lang=\"TH\">ดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกมากที่สุด  แต่ก็ยังเป็นระยะทางไกลมากคือ</span>  <span lang=\"TH\">ระยะสิบเท่าของเส้นรอบโลกยังสั้นกว่าระยะทางจากโลกไปดวงจันทร์</span></span><b><span style=\"font-size: 12pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />วัฏจักรของดวงจันทร์</span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: 12pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\">                <span lang=\"TH\">ถ้านับเดือนทางจันทรคติ แล้วดวงจันทร์จะโคจรรอบโลกหนึ่งรอบ กินเวลา </span>29 1/2 <span lang=\"TH\">วัน ถ้านับจุดเริ่มต้นของดวงจันทร์ที่วันเดือนดับ (</span>New moon) <span lang=\"TH\">เป็นช่วงที่ดวงจันทร์ อยู่เป็นเส้นตรงระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ทำให้ดวงจันทร์ทึบแสง คนบนโลกจึงมองไม่เห็นดวงจันทร์ แล้วก็เป็นวันข้างขึ้นทีละน้อย เราจะเห็นดวงจันทร์สว่างเป็นเสี้ยวทางขอบฟ้าตะวันตก และจะเห็นดวงจันทร์ขึ้นสูงจากขอบฟ้าทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออก พร้อมกับมีเสี้ยวสว่างมากขึ้น พอถึงช่วงวันขึ้น </span>7-8 <span lang=\"TH\">ค่ำ ดวงจันทร์จะสว่างครึ่งซีกอยู่ตรงกลางท้องฟ้าพอดี (</span>Quarter) <span lang=\"TH\">วันต่อมาจะเพิ่มเสี้ยวสว่างเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งวันขึ้น </span>14-15 <span lang=\"TH\">ค่ำ ดวงจันทร์จะมาอยู่ตรงเส้น ระหว่างดวงอาทิตย์และโลก ทำให้ดวงจันทร์เกิดสว่างเต็มดวง</span> (Full moon) <span lang=\"TH\">หลังจากนั้นดวงจันทร์กลายเป็นข้างแรม ดวงจันทร์จะขึ้นช้าไปเรื่อยๆ จนหายไปในท้องฟ้าจะเห็นเดือนดับ แล้วก็เริ่มต้นใหม่ เป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก </span>1 <span lang=\"TH\">รอบ เท่ากับมันโคจรรอบตัวเอง </span>1 <span lang=\"TH\">รอบพอดี ซึ่งใช้เวลาประมาณ </span>1 <span lang=\"TH\">เดือน ดังนั้นเราจึงเห็นดวงจันทร์เพียงซีกเดียวตลอดเวลา</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\nหมดหน้า 6</p>\n', created = 1716271922, expire = 1716358322, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1c745613188c307b0de89b4f736aa777' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

universe

เริ่มหน้า 6
โลก (The Earth)
"ดาวเคราะห์สีน้ำเงิน”
                        โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจรซึ่งใช้เวลา 365.25 วัน  เพื่อให้ครบ 1 รอบ ปฏิทินแต่ละปีมี 365 วัน ซึ่งหมายความว่าจะมี 1/4 ของวันที่เหลือในแต่ละปี ซึ่งทุกๆปีสี่ปีจะมีวันพิเศษ คือจะมี 366 วัน กล่าวคือเดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันเหมือนปกติ ตามที่เคปเลอร์ค้นพบวงโคจรของโลกไม่เป็นวงกลม ในเดือนธันวาคมจะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าเดือนมิถุนายน ซึ่งจะอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุด โลกจะเอียงไปตามเส้นแกน ในเดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือจะเอียงไปทางดวงอาทิตย์ ดังนั้นซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูร้อน และซีกโลกใต้จะเป็นฤดูหนาว ในเดือนธันวาคมจะเอียงจากดวงอาทิตย์ ทำให้ซีกโลกเหนือเป็นฤดูหนาวและซีกโลกใต้เป็นฤดูร้อน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้งสองไม่เอียงไปยังดวงอาทิตย์ กลางวันและกลางคืนจึงมีความยาวเท่ากัน ในเดือนมีนาคม ซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูใบไม้ผลิ และซีกโลกใต้เป็นฤดูใบไม้ร่วง ในเดือนกันยายน สถานการณ์จะกลับกัน
               โลกมีอายุประมาณ 4,700 ปี   โลกไม่ได้มีรูปร่างกลมโดยสิ้นเชิง เส้นรอบวงที่เส้นศูนย์สูตรยาว 40,077 กิโลเมตร (24,903 ไมล์) และที่ขั้วโลกยาว 40,009 กิโลเมตร (24,861 ไมล์)


                ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ จะมีฤดูกาลเป็นของตนเองและระยะของการโคจร ความยาวของปีดาวเคราะห์เป็นเวลาที่มันหมุนรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบ ถ้าอยู่บนดาวพุธ ปีจะมีเพียง 88 วันของโลก บนดาวพูลโตซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่นอกสุดหนึ่งปีจะเท่ากับ 248 วันบนโลก
ดวงจันทร์

                ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก โคจรรอบโลกทุกๆ 27 วัน 8 ชั่งโมง และขณะเดียวกันก็หมุนรอบแกนตัวเองได้ครบหนึ่งรอบพอดีด้วย ทำให้เรามองเห็นดวงจันทร์ด้านเดียว ไม่ว่าจะมองจากส่วนไหนของโลก ส่วนอีกครึ่งหนึ่ง มนุษย์เพิ่งจะได้เห็นภาพ เมื่อสามารถส่งยานอวกาศไปในอวกาศได้ บนพื้นผิวดวงจันทร์ร้อนมากในบริเวณที่ถูกแสงอาทิตย์ และเย็นจัดในบริเวณเงามืด ที่พื้นผิวของดวงจันทร์มีปล่องหลุมมากมาย เป็นหมื่นๆหลุม ตั้งแต่หลุมเล็กไปจนถึงหลุมใหญ่มีภูเขาไฟและทะเลทรายแห้งแล้ง
                ดวงจันทร์เป็นดวงดาวใหญ่ที่สุด  และสว่างที่สุดในท้องฟ้ากลางคืน  ดวงจันทร์ส่องแสง  แต่แสงที่ส่องนั้นมิได้เปล่งออกมาจากดวงจันทร์เอง  ดวงจันทร์เมื่อได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ก็จะสะท้อนแสงนั้นออกมา  ดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกมากที่สุด  แต่ก็ยังเป็นระยะทางไกลมากคือ  ระยะสิบเท่าของเส้นรอบโลกยังสั้นกว่าระยะทางจากโลกไปดวงจันทร์

วัฏจักรของดวงจันทร์

                ถ้านับเดือนทางจันทรคติ แล้วดวงจันทร์จะโคจรรอบโลกหนึ่งรอบ กินเวลา 29 1/2 วัน ถ้านับจุดเริ่มต้นของดวงจันทร์ที่วันเดือนดับ (New moon) เป็นช่วงที่ดวงจันทร์ อยู่เป็นเส้นตรงระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ทำให้ดวงจันทร์ทึบแสง คนบนโลกจึงมองไม่เห็นดวงจันทร์ แล้วก็เป็นวันข้างขึ้นทีละน้อย เราจะเห็นดวงจันทร์สว่างเป็นเสี้ยวทางขอบฟ้าตะวันตก และจะเห็นดวงจันทร์ขึ้นสูงจากขอบฟ้าทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออก พร้อมกับมีเสี้ยวสว่างมากขึ้น พอถึงช่วงวันขึ้น 7-8 ค่ำ ดวงจันทร์จะสว่างครึ่งซีกอยู่ตรงกลางท้องฟ้าพอดี (Quarter) วันต่อมาจะเพิ่มเสี้ยวสว่างเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งวันขึ้น 14-15 ค่ำ ดวงจันทร์จะมาอยู่ตรงเส้น ระหว่างดวงอาทิตย์และโลก ทำให้ดวงจันทร์เกิดสว่างเต็มดวง (Full moon) หลังจากนั้นดวงจันทร์กลายเป็นข้างแรม ดวงจันทร์จะขึ้นช้าไปเรื่อยๆ จนหายไปในท้องฟ้าจะเห็นเดือนดับ แล้วก็เริ่มต้นใหม่ เป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบ เท่ากับมันโคจรรอบตัวเอง 1 รอบพอดี ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 เดือน ดังนั้นเราจึงเห็นดวงจันทร์เพียงซีกเดียวตลอดเวลา

หมดหน้า 6

สร้างโดย: 
nuye

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 335 คน กำลังออนไลน์