• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:44df4d705fd4d8e5c323a61444eea3d7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table border=\"0\" align=\"center\" width=\"580\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td><img width=\"580\" src=\"http://www.hrh84yrs.org/kw_rip/images/08.jpg\" height=\"273\" /></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"35\"><strong class=\"bigtour\">การบรรเลงดนตรีไทยในงานพระศพ</strong></td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"125\" colSpan=\"7\" vAlign=\"top\" class=\"normal\">\n<p>\n การบรรเลงดนตรีไทยในงานพระราชพิธี ถือว่าเป็นเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศขององค์พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ และเป็นส่วนหนึ่งในของงานพระราชพิธีที่บรรเลงตามขั้นตอนของงานพระราชพิธี คู่กับวงประโคมของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวัง\n </p>\n<p>\n แต่เดิมการประโคมดนตรีที่เป็น<strong>ลักษณะประโคมย่ำยาม</strong> มีเฉพาะของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวัง เท่านั้น ประกอบด้วยวงแตรสังข์และวงปี่ไฉนกลองชนะ มีการประโคมย่ำยามทุก ๓ ชั่วโมง คือ\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"132\" width=\"46\" vAlign=\"top\" class=\"normal\"> </td>\n<td width=\"68\" vAlign=\"top\" class=\"normal\">\n<p>\n ยาม ๑ <br />\n ยาม ๒ <br />\n ยาม ๓ <br />\n ยาม ๔ <br />\n ยาม ๕ <br />\n ยาม ๖ <br />\n ยาม ๗\n </p>\n</td>\n<td colSpan=\"5\" vAlign=\"top\" class=\"normal\">\n<p>\n เวลา ๐๖.๐๐ น.<br />\n เวลา ๐๙.๐๐ น.<br />\n เวลา ๑๒.๐๐ น.<br />\n เวลา ๑๕.๐๐ น.<br />\n เวลา ๑๘.๐๐ น.<br />\n เวลา ๒๑.๐๐ น.<br />\n เวลา ๒๔.๐๐ น.\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"159\" colSpan=\"7\" vAlign=\"top\" class=\"normal\">\n<p>\n <br />\n ในการประโคมงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กรมศิลปากรได้รับมอบหมายให้เข้าร่วมในการประโคมย่ำยามด้วย ดังนั้น จึงมี ๒ หน่วยงานเข้าร่วมประโคม คือ\n </p>\n<ul>\n<li>วงประโคมของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวัง (วงแตรสังข์และวงปี่ไฉนกลองชนะ) </li>\n<li><strong>วงปี่พาทย์นางหงส์ ของกลุ่มดุริยางค์ไทย สำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม</strong> </li>\n</ul>\n<p>\n <strong>การประโคมย่ำยาม</strong> มีขั้นตอนเรียงลำดับ ดังนี้\n </p>\n<p>\n <strong>วงประโคมลำดับที่ ๑</strong> คือ วงแตรสังข์ ประกอบด้วยเครื่องดนตรี สังข์ แตรงอน แตรฝรั่ง ประโคม “เพลงสำหรับบท” จบแล้ว วงประโคมวงที่ ๒ จึงเริ่มขึ้น\n </p>\n<p>\n <strong>วงประโคมลำดับที่ ๒</strong> คือ วงปี่ไฉนกลองชนะ (หรือเรียกว่า วงเปิงพรวด) ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ปี่ไฉน กลองชนะ เปิงมาง “ประโคมเพลงพญาโศกลอยลม” จบแล้ว วงประโคมวงที่ ๓ จึงเริ่มขึ้น\n </p>\n<p>\n <strong>วงประโคมลำดับที่ ๓ </strong>คือ วงปี่พาทย์นางหงส์ ประกอบด้วย ปี่ชวา ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง “ประโคมเพลงชุดนางหงส์”\n </p>\n<p>\n เมื่อประโคม ครบทั้ง ๓ วงแล้ว ก็ถือว่าเสร็จการประโคมย่ำยาม ๑ ครั้ง\n </p>\n<p>\n การที่กรมศิลปากร นำวงปี่พาทย์นางหงส์มา<strong>ประโคมย่ำยาม</strong>นั้น\n </p>\n<p>\n <strong>แต่เดิม</strong> แต่โบราณไม่ได้มี “วงปี่พาทย์” ร่วมประโคมย่ำยาม จะมีแต่เฉพาะ “วงแตรสังข์ และ วงปี่ไฉนกลองชนะ” ของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวังและวงกลองสี่ปีหนึ่ง (ปัจจุบันไม่ได้ใช้แล้ว) ประโคมในงานพระบรมศพ พระศพ เท่านั้น\n </p>\n<p>\n เมื่อครั้งงานพระบรมศพของสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระประสงค์ให้นำวงปี่พาทย์นางหงส์ ของกรมศิลปากรมาประโคมย่ำยาม ต่อจากวงประโคมของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวัง นับเป็นครั้งแรกที่ได้นำวงปี่พาทย์นางหงส์มาประโคมย่ำยามด้วย\n </p>\n<p>\n <strong>แต่เดิม</strong> บทบาท “วงปี่พาทย์นางหงส์” เป็นวงที่บรรเลงในงานศพของสามัญชน ต่อมาได้นำมาบรรเลงในงานสวดพระอภิธรรมศพเจ้านาย และใช้ในตอนถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ <strong>(ไม่ใช่ประโคมย่ำยาม)</strong>\n </p>\n<p>\n วงปี่พาทย์นางหงส์ เกิดจากการนำ<strong>วงปี่พาทย์ไทย</strong> ประกอบด้วย ปี่ใน ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ประสมกับ <strong>วงบัวลอย</strong> ซึ่งใช้ในงานเผาศพของสามัญชน (ประกอบด้วย ปี่ชวา ๑ เลา กลองมลายู ๒ ใบ เหม่ง) <em>(วงบัวลอย มาจาก วงกลองสี่ปี่หนึ่ง ซึ่งใช้เฉพาะงานพระบรมศพ พระศพ ของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์)</em>\n </p>\n<p>\n วงปี่พาทย์นางหงส์ จึงประกอบด้วย <strong>ปี่ชวา ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง</strong> (เครื่องคู่) สาเหตุที่เรียกว่า วงปี่พาทย์นางหงส์ นั้น เกิดจากการบรรเลงที่เริ่มด้วยเพลงนางหงส์ (เพลงพราหมณ์เก็บหัวแหวน) จึงเรียกชื่อวงและชื่อเพลงชุดนี้ว่า “วงปี่พาทย์นางหงส์และเพลงชุดนางหงส์&quot;\n </p>\n<p>\n สาเหตุที่นำวงปี่พาทย์นางหงส์มาใช้ในงานอวมงคล<strong> เกิดจาก การจัดระเบียบวัฒนธรรมการจัดวงการบรรเลงดนตรีไทย มีระเบียบแบบแผนการจัดวงดนตรีไว้ให้เหมาะกับกาลเทศะ </strong>เช่น\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"88\" vAlign=\"top\" class=\"normal\"> </td>\n<td colSpan=\"3\" vAlign=\"top\" class=\"normal\">งานมงคล<br />\n งานประกอบพิธีกรรม<br />\n งานรื่นเริงการบรรเลงเพื่อการฟัง <br />\n และสำหรับ<strong>งานอวมงคล</strong> </td>\n<td colSpan=\"3\" vAlign=\"top\" class=\"normal\">ใช้วงมโหรี วงเครื่องสาย<br />\n ใช้วงปี่พาทย์(ไทย)<br />\n ใช้วงปี่พาทย์เสภา<br />\n <strong>ใช้วงปี่พาทย์นางหงส์</strong></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"49\" colSpan=\"7\" vAlign=\"top\" class=\"normal\">\n<p>\n <strong><br />\n ความหมายของเพลงที่บรรเลง </strong>\n </p>\n<p>\n เพลงที่บรรเลง เรียกว่า “ เพลงชุดนางหงส์” ประกอบด้วยเพลง\n </p>\n<ul>\n<li>เพลงนางหงส์ (หรือเพลงพราหมณ์เก็บหัวแหวน) </li>\n<li>เพลงสาวสอดแหวน </li>\n<li>เพลงแสนสุดสวาท </li>\n<li>เพลงแมลงปอ </li>\n<li>เพลงแมลงวันทอง </li>\n</ul>\n<p>\n การเรียงร้อยเพลงชุดนี้ โบราณจารย์ท่านเรียบเรียงไว้ ใช้เฉพาะงานอวมงคล ด้วยลักษณะทำนองเพลงบ่งบอกถึงความสงบ ณ สัมปรายภพ\n </p>\n<p>\n การคัดเลือกเพลงที่ใช้บรรเลงนั้น โบราณจารย์ได้จัดระเบียบแบบแผนการใช้เพลงไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น กลุ่มเพลงที่ใช้งานมงคลและกลุ่มเพลงที่ใช้งานอวมงคล จะไม่นำมาใช้ปะปนกัน\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"normal\">\n<p>\n <span class=\"white\">ที่มา</span>\n </p>\n<ul>\n<li>บทความโดย สำนักการสังคีต กรมศิลปากร <br />\n <a href=\"http://203.153.176.79/th/SisterKing9/Sister06/RoyalCar.htm\" title=\"http://203.153.176.79/th/SisterKing9/Sister06/RoyalCar.htm\">http://203.153.176.79/th/SisterKing9/Sister06/RoyalCar.htm</a> </li>\n<li>การบรรเลงดนตรีไทยในงานพระศพ คอลัมน์ ไลฟ์สไตส์ หนังสือพิมพ์คมชัดลึก ฉบับวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๑<br />\n <a href=\"http://www.komchadluek.net/2008/01/08/s001_184562.php?news_id=184562\" title=\"http://www.komchadluek.net/2008/01/08/s001_184562.php?news_id=184562\">http://www.komchadluek.net/2008/01/08/s001_184562.php?news_id=184562</a> </li>\n</ul>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p align=\"center\">\n<script type=\"text/javascript\">\n<!--\ngoogle_ad_client = \"pub-4345580538062578\";\n/* 468x60, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 10/1/08 */\ngoogle_ad_slot = \"2401687297\";\ngoogle_ad_width = 468;\ngoogle_ad_height = 60;\n//--><!--\ngoogle_ad_client = \"pub-4345580538062578\";\n/* 468x60, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 10/1/08 */\ngoogle_ad_slot = \"2401687297\";\ngoogle_ad_width = 468;\ngoogle_ad_height = 60;\n//--></script><script type=\"text/javascript\" src=\"http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js\">\n</script></p>\n', created = 1714216167, expire = 1714302567, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:44df4d705fd4d8e5c323a61444eea3d7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การบรรเลงดนตรีไทยในงานพระศพ

การบรรเลงดนตรีไทยในงานพระศพ

การบรรเลงดนตรีไทยในงานพระราชพิธี ถือว่าเป็นเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศขององค์พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ และเป็นส่วนหนึ่งในของงานพระราชพิธีที่บรรเลงตามขั้นตอนของงานพระราชพิธี คู่กับวงประโคมของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวัง

แต่เดิมการประโคมดนตรีที่เป็นลักษณะประโคมย่ำยาม มีเฉพาะของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวัง เท่านั้น ประกอบด้วยวงแตรสังข์และวงปี่ไฉนกลองชนะ มีการประโคมย่ำยามทุก ๓ ชั่วโมง คือ

 

ยาม ๑
ยาม ๒
ยาม ๓
ยาม ๔
ยาม ๕
ยาม ๖
ยาม ๗

เวลา ๐๖.๐๐ น.
เวลา ๐๙.๐๐ น.
เวลา ๑๒.๐๐ น.
เวลา ๑๕.๐๐ น.
เวลา ๑๘.๐๐ น.
เวลา ๒๑.๐๐ น.
เวลา ๒๔.๐๐ น.


ในการประโคมงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กรมศิลปากรได้รับมอบหมายให้เข้าร่วมในการประโคมย่ำยามด้วย ดังนั้น จึงมี ๒ หน่วยงานเข้าร่วมประโคม คือ

  • วงประโคมของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวัง (วงแตรสังข์และวงปี่ไฉนกลองชนะ)
  • วงปี่พาทย์นางหงส์ ของกลุ่มดุริยางค์ไทย สำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

การประโคมย่ำยาม มีขั้นตอนเรียงลำดับ ดังนี้

วงประโคมลำดับที่ ๑ คือ วงแตรสังข์ ประกอบด้วยเครื่องดนตรี สังข์ แตรงอน แตรฝรั่ง ประโคม “เพลงสำหรับบท” จบแล้ว วงประโคมวงที่ ๒ จึงเริ่มขึ้น

วงประโคมลำดับที่ ๒ คือ วงปี่ไฉนกลองชนะ (หรือเรียกว่า วงเปิงพรวด) ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ปี่ไฉน กลองชนะ เปิงมาง “ประโคมเพลงพญาโศกลอยลม” จบแล้ว วงประโคมวงที่ ๓ จึงเริ่มขึ้น

วงประโคมลำดับที่ ๓ คือ วงปี่พาทย์นางหงส์ ประกอบด้วย ปี่ชวา ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง “ประโคมเพลงชุดนางหงส์”

เมื่อประโคม ครบทั้ง ๓ วงแล้ว ก็ถือว่าเสร็จการประโคมย่ำยาม ๑ ครั้ง

การที่กรมศิลปากร นำวงปี่พาทย์นางหงส์มาประโคมย่ำยามนั้น

แต่เดิม แต่โบราณไม่ได้มี “วงปี่พาทย์” ร่วมประโคมย่ำยาม จะมีแต่เฉพาะ “วงแตรสังข์ และ วงปี่ไฉนกลองชนะ” ของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวังและวงกลองสี่ปีหนึ่ง (ปัจจุบันไม่ได้ใช้แล้ว) ประโคมในงานพระบรมศพ พระศพ เท่านั้น

เมื่อครั้งงานพระบรมศพของสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระประสงค์ให้นำวงปี่พาทย์นางหงส์ ของกรมศิลปากรมาประโคมย่ำยาม ต่อจากวงประโคมของงานเครื่องสูง สำนักพระราชวัง นับเป็นครั้งแรกที่ได้นำวงปี่พาทย์นางหงส์มาประโคมย่ำยามด้วย

แต่เดิม บทบาท “วงปี่พาทย์นางหงส์” เป็นวงที่บรรเลงในงานศพของสามัญชน ต่อมาได้นำมาบรรเลงในงานสวดพระอภิธรรมศพเจ้านาย และใช้ในตอนถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ (ไม่ใช่ประโคมย่ำยาม)

วงปี่พาทย์นางหงส์ เกิดจากการนำวงปี่พาทย์ไทย ประกอบด้วย ปี่ใน ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ประสมกับ วงบัวลอย ซึ่งใช้ในงานเผาศพของสามัญชน (ประกอบด้วย ปี่ชวา ๑ เลา กลองมลายู ๒ ใบ เหม่ง) (วงบัวลอย มาจาก วงกลองสี่ปี่หนึ่ง ซึ่งใช้เฉพาะงานพระบรมศพ พระศพ ของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์)

วงปี่พาทย์นางหงส์ จึงประกอบด้วย ปี่ชวา ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง (เครื่องคู่) สาเหตุที่เรียกว่า วงปี่พาทย์นางหงส์ นั้น เกิดจากการบรรเลงที่เริ่มด้วยเพลงนางหงส์ (เพลงพราหมณ์เก็บหัวแหวน) จึงเรียกชื่อวงและชื่อเพลงชุดนี้ว่า “วงปี่พาทย์นางหงส์และเพลงชุดนางหงส์"

สาเหตุที่นำวงปี่พาทย์นางหงส์มาใช้ในงานอวมงคล เกิดจาก การจัดระเบียบวัฒนธรรมการจัดวงการบรรเลงดนตรีไทย มีระเบียบแบบแผนการจัดวงดนตรีไว้ให้เหมาะกับกาลเทศะ เช่น

  งานมงคล
งานประกอบพิธีกรรม
งานรื่นเริงการบรรเลงเพื่อการฟัง
และสำหรับงานอวมงคล
ใช้วงมโหรี วงเครื่องสาย
ใช้วงปี่พาทย์(ไทย)
ใช้วงปี่พาทย์เสภา
ใช้วงปี่พาทย์นางหงส์


ความหมายของเพลงที่บรรเลง

เพลงที่บรรเลง เรียกว่า “ เพลงชุดนางหงส์” ประกอบด้วยเพลง

  • เพลงนางหงส์ (หรือเพลงพราหมณ์เก็บหัวแหวน)
  • เพลงสาวสอดแหวน
  • เพลงแสนสุดสวาท
  • เพลงแมลงปอ
  • เพลงแมลงวันทอง

การเรียงร้อยเพลงชุดนี้ โบราณจารย์ท่านเรียบเรียงไว้ ใช้เฉพาะงานอวมงคล ด้วยลักษณะทำนองเพลงบ่งบอกถึงความสงบ ณ สัมปรายภพ

การคัดเลือกเพลงที่ใช้บรรเลงนั้น โบราณจารย์ได้จัดระเบียบแบบแผนการใช้เพลงไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น กลุ่มเพลงที่ใช้งานมงคลและกลุ่มเพลงที่ใช้งานอวมงคล จะไม่นำมาใช้ปะปนกัน

 

ที่มา

สร้างโดย: 
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 410 คน กำลังออนไลน์