• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:adc4d0639cdcfd1cb088b4f0b6dbd00d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: small\">5)  ผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม(............คาบ )</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p>\n<br />\n <em>ขั้นนำ<br />\n</em>    1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้เดิมเรื่องประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมี เคมีเพื่อนำเข้าสู่เรื่องผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม\n</p>\n<p>\n<br />\n<em>ขั้นสอน<br />\n</em>   2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5-6 คน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เป็นนักเรียนที่มี     <br />\nผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน คือมีทั้ง เก่ง ปานกลาง และอ่อน<br />\n   3. นักเรียนแต่ละกลุ่ม คัดเลือกสมาชิกกลุ่มเป็น ประธาน เลขา และกรรมการ<br />\n   4. ครูแจกใบงานที่ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม พร้อมแจ้งเรื่อง จุดประสงค์ของกิจกรรมให้นักเรียนได้รู้<br />\n   5. ครูอธิบายขั้นตอน กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมดังนี้นักเรียนเขียนชื่อเรื่อง, วัน-เดือน-ปี , สมาชิกกลุ่ม , จุดประสงค์ของกิจกรรมสื่อลงในใบงาน<br />\n   6. นักเรียนภายในกลุ่มร่วมมือกันศึกษา ค้นคว้า หรือ ทำกิจกรรมตามขั้นตอนในใบงานอภิปรายผลร่วมกัน และบันทึกผล<br />\n   7.นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอ ผลของการศึกษา ค้นคว้าหรือทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน\n</p>\n<p>\n<br />\n<em>ขั้นสรุป</em><br />\n   8. ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายผล จากการนำเสนอเพื่อหาข้อสรุป<br />\n   9. นักเรียนแต่ละคนศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่องผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม<br />\n 10. วัดผลการเรียนรู้\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong>6 )   อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี   (............คาบ )<br />\n</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><em>ขั้นนำ</em><br />\n   1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้เดิมเรื่องผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเพื่อนำเข้าสู่เรื่อง  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี<br />\nขั้นสอน<br />\n   2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5-6 คน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เป็นนักเรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน คือมีทั้ง เก่ง ปานกลาง และอ่อน<br />\n   3. นักเรียนแต่ละกลุ่ม คัดเลือกสมาชิกกลุ่มเป็น ประธาน เลขา และกรรมการ<br />\n   4. ครูแจกใบงานที่ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม พร้อมแจ้งเรื่อง จุดประสงค์ของกิจกรรมให้นักเรียนได้รู้<br />\n   5. ครูอธิบายขั้นตอน กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ดังนี้นักเรียนเขียนชื่อเรื่อง, วัน-เดือน-ปี , สมาชิกกลุ่ม , จุดประสงค์ของกิจกรรมสื่อลงในใบงาน<br />\n   6. นักเรียนภายในกลุ่มร่วมมือกันศึกษา ค้นคว้า หรือ ทำกิจกรรมตามขั้นตอนในใบงานอภิปรายผลร่วมกัน และบันทึกผล<br />\n   7. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอ ผลของการศึกษา ค้นคว้าหรือทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<em>ขั้นสรุป<br />\n</em>   8. ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายผล จากการนำเสนอเพื่อหาข้อสรุป<br />\n   9. นักเรียนแต่ละคนศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่องอัตรากา\n</p>\n<p>\n  10. วัดผลการเรียนรู้\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: small\"><strong>9.  การวัดผลและประเมินผล</strong></span><span style=\"font-size: small\"><strong><br />\n</strong>  <em>วิธีการ<br />\n</em>  1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน<br />\n  2. สังเกตการมีส่วนร่วมและความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน<br />\n  3. สังเกตการนำเสนอผลงานทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน การบอกเล่าหรือการอธิบาย<br />\n  4. สังเกตการตอบคำถามและการอภิปรายในชั้นเรียน<br />\n  5. ประเมินชิ้นงานที่มอบหมายให้ทำ<br />\n  6. ประเมินผลที่ได้จากการทำกิจกรรมต่างๆ<br />\n เครื่องมือ<br />\n  1.  แบบประเมินความรู้<br />\n  2.  แบบสังเกตุพฤติกรรม<br />\n  3.  แบบประเมินชิ้นงาน<br />\n  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">ใบความรู้</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">เรื่องปฏิกิริเคมีในชีวิตประจำวัน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"font-size: x-small\">   รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน                                             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">ภาคเรียนที่ 2        ปีการศึกษา 2551<br />\n                                                                              </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">  ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ( NaHCO3 )<br />\n โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือโซเดียมไบคาร์บอเนต หรือเรียกกันทั่วไปว่า โซดาทำขนม เป็นสารเคมีที่นำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น ทำคาราเมล ใส่ในน้ำต้มผักทำให้ผักมีสีเขียว ใช้เป็นส่วนผสมของผงฟู  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">มีการนำผงฟูไปใช้ทำขนมอะไรได้บ้าง เพราะเหตุใดขนมจึงฟูได้                                                              </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">ผงฟูเมื่อได้รับความร้อน โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจะสลายให้ CO2 ดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">        2NaHCO3     ความร้อน     Na2CO3   +   H2O   +   CO2 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตนอกจากใช้ทำขนมหลายชนิดแล้ว ยังใช้ประโยชน์ในการดับ<br />\nไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า ความร้อนจากไฟป่าจะทำให้สาร NaHCO3 สลายตัวให้แก๊ส CO2 ดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">2NaHCO3     ความร้อน     Na2CO3   +   H2O   +   CO2 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"> แก๊ส CO2 ที่เกิดขึ้นเป็นแก๊สที่หนักกว่าอากาศ จึงปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทำให้บรรเทาหรือหยุดการเผาไหม้ลงได้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">  ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ( H2O2 )<br />\nไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เป็นสารใช้ฟอกสีผมและฆ่าเชื้อโรค โดยปกติจะสลายตัวไปเองอย่างช้า ๆ ให้น้ำและออกซิเจนเกิดขึ้น ดังสมการ แสงสว่างและความร้อนจะช่วยเร่งให้เกิดการสลายตัวเร็วขึ้น ดังนั้นจึงต้องเก็บไว้ในที่มืด หรือในภาชนะสีน้ำตาลเข้ม และในที่เย็น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">2H2O2                  2H2O   +   O2 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">      ปฏิกิริยาการสลายตัวของแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)<br />\n    ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3) ด้วยความร้อน ให้แก๊ส CO2  และปูนขาว ( CaO) นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต์ ซึ่งมีปูนขาวเป็นส่วนผสมหลัก ปฏิกิริยาระหว่างหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดกำมะถันหรือกรดดินประสิว ซึ่งมีอยู่ในฝนกรด เกิดเป็นแคลเซียมซัลเฟต ( CaSO4) หรือแคลเซียมไนเตรต Ca(NO3)2 และแก๊ส CO2 ดังสมการ ปฏิกิริยานี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้รูปปั้น รูปแกะสลัก ตึมรามบ้านช่อง และสิ่งก่อสร้างที่ทำด้วยหินปูนหรือหินอ่อนเกิดการสึกกร่อน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">CaCO3   +   H2SO4     CaSO4   +   CO2   +   H2O<br />\nCaCO3   +   2HNO3  Ca(NO3)2   +   CO2   +   H2O </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"font-size: x-small\">   ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 ) และออกไซด์ของไนโตรเจน<br />\nซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นแก๊สที่ไม่มีสี มีกลิ่น                  <br />\nกรด มีจุดเดือด –10 องศาเซลเซียส แหล่งที่มาของ<br />\nซัลเฟอร์ไดออกไซด์มาจากสองแหล่งคือ จากการ<br />\nกระทำของมนุษย์ และจากธรรมชาติ แหล่งจากการ<br />\nกระทำของมนุษย์สูงถึง    ของปริมาณที่มาจาก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">แหล่งธรรมชาติ สำคัญที่สุดได้แก่ การเผา<br />\nไหม้เชื้อเพลิง (fossil fuel) เช่นถ่านหิน และน้ำมัน<br />\nปิโตรเลียม เพราะเชื้อเพลิงเหล่านี้มีสารประกอบ<br />\nของซัลเฟอร์ (S) ปะปนอยู่ด้วย ถ่านหินจากบาง<br />\nแหล่งมีปริมาณกำมะถันสูงถึงร้อยละ 3 โดยมวล ส่วนน้ำมันปิโตรเลียมมีประมาณร้อยละ 0.5 โดยมวลฉะนั้นเมื่อเผาไหม้เชื้อเพลงที่มีกำมะถัน จึงได้แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ดังสมการ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">S  +   O2                        SO2 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">การเผาไหม้บางครั้งอาจเกิดซัลเฟอร์ไตรออกไซด์  ( SO3 )  ขึ้นบ้างแต่ปริมาณไม่มากนัก ถ้าอากาศชื้นมาก SO2 อาจรวมกับ H2O ไปเป็นกรดซัลฟิวรัสซึ่งสามารถเปลี่ยนไปเป็นกรดซัลฟิวริกได้ H2SO4 ถ้ากรด H2SO4 ที่รวมกับน้ำ กลายเป็นฝนและตกลงมาบนพื้นดินก็จะกลายเป็นฝนกรด<br />\n ไนโตรเจนสามารถรวมกับออกซิเจนเกิดเป็นออกไซด์ได้หลายออกไซด์ ในบรรดาออกไซด์ทั้งหมดของไนโตรเจน มีเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ NO และ NO2 ที่ปล่อยสู่บรรยากาศเป็นปริมาณโดยน้ำมือของมนุษย์ ได้แก่ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง เช่น การเผาไหม้น้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์หรือเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม แก๊ส NO ที่เกิดขึ้น สามารถเกิดปฏิกิริยากับ O2  หรือ O3 ไปเป็นแก๊ส NO2 ซึ่งรวมกับละอองน้ำในอากาศหรือน้ำฝนไปเป็นกรดไนตริก HNO3 ซึ่งเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้น้ำฝนมีสมบัติเป็นกรด จึงก่อให้เกิดมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับกรดซัลฟิวริก<br />\n    <br />\n  ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก<br />\n    สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ เมื่อเหล็กสัมผัสกับน้ำและความชื้น จะค่อย ๆ สึกกร่อน กลายเป็นเหล็กออกไซด์ หรือที่เรารู้จักกันว่า สนิมเหล็ก (Fe2O3.H2O )<br />\nดังสมการ   <br />\n4Fe   +   3O2   +  H2O                    2Fe2O3.H2O </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\">       </span><a href=\"http://salc.swu.ac.th/\"><span style=\"font-size: x-small\">http://salc.swu.ac.th</span></a><span style=\"font-size: x-small\">       <br />\n    </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"131\" width=\"113\" src=\"/files/u3230/camee1.jpg\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000; font-size: x-small\">www.rmutphysics.com</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"font-size: small\">  </span>\n</p>\n', created = 1714939124, expire = 1715025524, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:adc4d0639cdcfd1cb088b4f0b6dbd00d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แผนการสอนวิทยาศาตร์พื้นฐาน(เคมี)

รูปภาพของ pattana

5)  ผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม(............คาบ )


 ขั้นนำ
    1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้เดิมเรื่องประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมี เคมีเพื่อนำเข้าสู่เรื่องผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม


ขั้นสอน
   2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5-6 คน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เป็นนักเรียนที่มี     
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน คือมีทั้ง เก่ง ปานกลาง และอ่อน
   3. นักเรียนแต่ละกลุ่ม คัดเลือกสมาชิกกลุ่มเป็น ประธาน เลขา และกรรมการ
   4. ครูแจกใบงานที่ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม พร้อมแจ้งเรื่อง จุดประสงค์ของกิจกรรมให้นักเรียนได้รู้
   5. ครูอธิบายขั้นตอน กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมดังนี้นักเรียนเขียนชื่อเรื่อง, วัน-เดือน-ปี , สมาชิกกลุ่ม , จุดประสงค์ของกิจกรรมสื่อลงในใบงาน
   6. นักเรียนภายในกลุ่มร่วมมือกันศึกษา ค้นคว้า หรือ ทำกิจกรรมตามขั้นตอนในใบงานอภิปรายผลร่วมกัน และบันทึกผล
   7.นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอ ผลของการศึกษา ค้นคว้าหรือทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน


ขั้นสรุป
   8. ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายผล จากการนำเสนอเพื่อหาข้อสรุป
   9. นักเรียนแต่ละคนศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่องผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 10. วัดผลการเรียนรู้

6 )   อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี   (............คาบ )
 

ขั้นนำ
   1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้เดิมเรื่องผลของปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเพื่อนำเข้าสู่เรื่อง  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ขั้นสอน
   2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5-6 คน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เป็นนักเรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน คือมีทั้ง เก่ง ปานกลาง และอ่อน
   3. นักเรียนแต่ละกลุ่ม คัดเลือกสมาชิกกลุ่มเป็น ประธาน เลขา และกรรมการ
   4. ครูแจกใบงานที่ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม พร้อมแจ้งเรื่อง จุดประสงค์ของกิจกรรมให้นักเรียนได้รู้
   5. ครูอธิบายขั้นตอน กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ดังนี้นักเรียนเขียนชื่อเรื่อง, วัน-เดือน-ปี , สมาชิกกลุ่ม , จุดประสงค์ของกิจกรรมสื่อลงในใบงาน
   6. นักเรียนภายในกลุ่มร่วมมือกันศึกษา ค้นคว้า หรือ ทำกิจกรรมตามขั้นตอนในใบงานอภิปรายผลร่วมกัน และบันทึกผล
   7. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอ ผลของการศึกษา ค้นคว้าหรือทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน


ขั้นสรุป
   8. ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายผล จากการนำเสนอเพื่อหาข้อสรุป
   9. นักเรียนแต่ละคนศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่องอัตรากา

  10. วัดผลการเรียนรู้


9.  การวัดผลและประเมินผล
  วิธีการ
  1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
  2. สังเกตการมีส่วนร่วมและความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน
  3. สังเกตการนำเสนอผลงานทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน การบอกเล่าหรือการอธิบาย
  4. สังเกตการตอบคำถามและการอภิปรายในชั้นเรียน
  5. ประเมินชิ้นงานที่มอบหมายให้ทำ
  6. ประเมินผลที่ได้จากการทำกิจกรรมต่างๆ
 เครื่องมือ
  1.  แบบประเมินความรู้
  2.  แบบสังเกตุพฤติกรรม
  3.  แบบประเมินชิ้นงาน
 

ใบความรู้

เรื่องปฏิกิริเคมีในชีวิตประจำวัน


   รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน                                             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

ภาคเรียนที่ 2        ปีการศึกษา 2551
                                                                             

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

  ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ( NaHCO3 )
 โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือโซเดียมไบคาร์บอเนต หรือเรียกกันทั่วไปว่า โซดาทำขนม เป็นสารเคมีที่นำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น ทำคาราเมล ใส่ในน้ำต้มผักทำให้ผักมีสีเขียว ใช้เป็นส่วนผสมของผงฟู 

มีการนำผงฟูไปใช้ทำขนมอะไรได้บ้าง เพราะเหตุใดขนมจึงฟูได้                                                             

ผงฟูเมื่อได้รับความร้อน โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจะสลายให้ CO2 ดังนี้

        2NaHCO3     ความร้อน     Na2CO3   +   H2O   +   CO2

โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตนอกจากใช้ทำขนมหลายชนิดแล้ว ยังใช้ประโยชน์ในการดับ
ไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า ความร้อนจากไฟป่าจะทำให้สาร NaHCO3 สลายตัวให้แก๊ส CO2 ดังนี้

2NaHCO3     ความร้อน     Na2CO3   +   H2O   +   CO2

 แก๊ส CO2 ที่เกิดขึ้นเป็นแก๊สที่หนักกว่าอากาศ จึงปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทำให้บรรเทาหรือหยุดการเผาไหม้ลงได้

  ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ( H2O2 )
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เป็นสารใช้ฟอกสีผมและฆ่าเชื้อโรค โดยปกติจะสลายตัวไปเองอย่างช้า ๆ ให้น้ำและออกซิเจนเกิดขึ้น ดังสมการ แสงสว่างและความร้อนจะช่วยเร่งให้เกิดการสลายตัวเร็วขึ้น ดังนั้นจึงต้องเก็บไว้ในที่มืด หรือในภาชนะสีน้ำตาลเข้ม และในที่เย็น

2H2O2                  2H2O   +   O2

      ปฏิกิริยาการสลายตัวของแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)
    ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3) ด้วยความร้อน ให้แก๊ส CO2  และปูนขาว ( CaO) นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต์ ซึ่งมีปูนขาวเป็นส่วนผสมหลัก ปฏิกิริยาระหว่างหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดกำมะถันหรือกรดดินประสิว ซึ่งมีอยู่ในฝนกรด เกิดเป็นแคลเซียมซัลเฟต ( CaSO4) หรือแคลเซียมไนเตรต Ca(NO3)2 และแก๊ส CO2 ดังสมการ ปฏิกิริยานี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้รูปปั้น รูปแกะสลัก ตึมรามบ้านช่อง และสิ่งก่อสร้างที่ทำด้วยหินปูนหรือหินอ่อนเกิดการสึกกร่อน

CaCO3   +   H2SO4     CaSO4   +   CO2   +   H2O
CaCO3   +   2HNO3  Ca(NO3)2   +   CO2   +   H2O


   ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 ) และออกไซด์ของไนโตรเจน
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นแก๊สที่ไม่มีสี มีกลิ่น                 
กรด มีจุดเดือด –10 องศาเซลเซียส แหล่งที่มาของ
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์มาจากสองแหล่งคือ จากการ
กระทำของมนุษย์ และจากธรรมชาติ แหล่งจากการ
กระทำของมนุษย์สูงถึง    ของปริมาณที่มาจาก

แหล่งธรรมชาติ สำคัญที่สุดได้แก่ การเผา
ไหม้เชื้อเพลิง (fossil fuel) เช่นถ่านหิน และน้ำมัน
ปิโตรเลียม เพราะเชื้อเพลิงเหล่านี้มีสารประกอบ
ของซัลเฟอร์ (S) ปะปนอยู่ด้วย ถ่านหินจากบาง
แหล่งมีปริมาณกำมะถันสูงถึงร้อยละ 3 โดยมวล ส่วนน้ำมันปิโตรเลียมมีประมาณร้อยละ 0.5 โดยมวลฉะนั้นเมื่อเผาไหม้เชื้อเพลงที่มีกำมะถัน จึงได้แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ดังสมการ

S  +   O2                        SO2

การเผาไหม้บางครั้งอาจเกิดซัลเฟอร์ไตรออกไซด์  ( SO3 )  ขึ้นบ้างแต่ปริมาณไม่มากนัก ถ้าอากาศชื้นมาก SO2 อาจรวมกับ H2O ไปเป็นกรดซัลฟิวรัสซึ่งสามารถเปลี่ยนไปเป็นกรดซัลฟิวริกได้ H2SO4 ถ้ากรด H2SO4 ที่รวมกับน้ำ กลายเป็นฝนและตกลงมาบนพื้นดินก็จะกลายเป็นฝนกรด
 ไนโตรเจนสามารถรวมกับออกซิเจนเกิดเป็นออกไซด์ได้หลายออกไซด์ ในบรรดาออกไซด์ทั้งหมดของไนโตรเจน มีเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ NO และ NO2 ที่ปล่อยสู่บรรยากาศเป็นปริมาณโดยน้ำมือของมนุษย์ ได้แก่ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง เช่น การเผาไหม้น้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์หรือเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม แก๊ส NO ที่เกิดขึ้น สามารถเกิดปฏิกิริยากับ O2  หรือ O3 ไปเป็นแก๊ส NO2 ซึ่งรวมกับละอองน้ำในอากาศหรือน้ำฝนไปเป็นกรดไนตริก HNO3 ซึ่งเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้น้ำฝนมีสมบัติเป็นกรด จึงก่อให้เกิดมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับกรดซัลฟิวริก
   
  ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก
    สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ เมื่อเหล็กสัมผัสกับน้ำและความชื้น จะค่อย ๆ สึกกร่อน กลายเป็นเหล็กออกไซด์ หรือที่เรารู้จักกันว่า สนิมเหล็ก (Fe2O3.H2O )
ดังสมการ  
4Fe   +   3O2   +  H2O                    2Fe2O3.H2O

       http://salc.swu.ac.th      
   

www.rmutphysics.com


 

สร้างโดย: 
พัฒนา เซนต์ไมเกิ้ล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 455 คน กำลังออนไลน์