• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c4c1785cfad4a3b0f9871a2df74853b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><u><span style=\"color: #ff00ff\">รื่อง  คำซ้ำ</span> </u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n                     <span style=\"color: #ff00ff\"><em><span style=\"color: #ff00ff\"> คำซ้ำ</span></em></span>   คือ  คำที่เกิดจากการซ้ำเสียงคำเดียวกันตั้งแต่   ๒ หน ขึ้นไป  เพื่อทำให้เกิด        \n</p>\n<p>\n                                     คำใหม่ได้ความหมายใหม่   เช่น  ดำ  ๆ      หวาน  ๆ    คอยค้อยคอย\n</p>\n<p>\n                                                                   <img border=\"0\" width=\"286\" src=\"/files/u3208/K678750-21.jpg\" height=\"425\" style=\"width: 117px; height: 97px\" />    \n</p>\n<p>\n                                        <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><u><strong>ชนิดของคำไทยที่เอามาซ้ำกัน </strong></u></span> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">                                     </span> ในภาษาไทยเราสามารถเอาคำทุกชนิดมาซ้ำได้   ดังนี <br />\n                                       ๑. ซ้ำคำนาม        เช่น พี่  ๆ    น้อง ๆ    เด็ก ๆ    <br />\n                                       ๒. ซ้ำคำสรรพนาม  เช่น เขา  ๆ   เรา ๆ     คุณ ๆ <br />\n                                       ๓. ซ้ำคำวิเศษณ์    เช่น เร็ว  ๆ   ไว  ๆ    ช้า  ๆ<br />\n                                       ๔. ซ้ำคำกริยา      เช่น นั่ง  ๆ   นอน  ๆ     เดิน  ๆ<br />\n                                       ๕. ซ้ำคำบุรพบท   เช่น ใกล้  ๆ   ไกล   ๆ   เหนือ  ๆ<br />\n                                       ๖. ซ้ำคำสันธาน    เช่น ทั้ง  ๆ   ที่     เหมือน   ๆ     ราว   ๆ    กับ<br />\n                                       ๗. ซ้ำคำอุทาน     เช่น โฮ  ๆ     กรี๊ด  ๆ\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                             <img border=\"0\" width=\"203\" src=\"/files/u3208/5.jpg\" height=\"300\" style=\"width: 103px; height: 99px\" /> \n</p>\n<p align=\"left\">\n                                 <strong><u><span style=\"color: #ff00ff\"> <span style=\"color: #ff00ff\">ลักษณะของการซ้ำคำในภาษาไทย</span></span></u></strong><span style=\"color: #ff00ff\"> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n       ๑. ซ้ำคำเดียวกัน   ๒  หน  ระดับเสียงวรรณยุกต์คงเดิม  เช่น  เร็ว  ๆ  หนุ่ม  ๆ      หนัก  ๆ   เบา ๆ                       <br />\n       ๒. ซ้ำคำเดียวกัน   ๒   หน    โดยเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คำหน้า   เช่น    ว้าน    หวาน    นักหนา     <br />\n            จ๊นจน      อร้อยอร่อย <br />\n       ๓. ซ้ำคำเดียวกัน   ๓  หน    โดยเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คำกลาง    เช่น    ดีดี๊ดี    คมค้มคม   จืดจื๊ด จืด  <br />\n            สวย          ซ้วยสวย<br />\n       ๔. ซ้ำคำประสม   ๒   พยางค์   ๒   หน    โดยเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่พยางค์   หลังของคำหน้า  เช่น  <br />\n              เจ็บใจ๊เจ็บ <br />\n       ๕. ซ้ำคำเดียวกัน   ๒   หน     ระดับเสียงวรรณยุกต์คงเดิมแต่เกิดการกร่อนเสียงขึ้นอย่างที่บาลีเรียกว่า  <br />\n           อัพภาส  และสันสกฤตเรียกว่า    อัภยภาส    เช่น    ลิ่ว  ๆ  เป็น   ละลิ่ว    ครืน ๆ  เป็น   คระครืน <br />\n            ซึ่งโดยมากใช้ในคำประพันธ์\n</p>\n<p align=\"center\">\n      \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"135\" src=\"/files/u3208/PALOCAHSR6T6CAI9XMZFCA1FHTCWCAYF7JKACA6ZMTYX.jpg\" height=\"90\" style=\"width: 145px; height: 115px\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n                       <u><strong><span style=\"color: #ff00ff\">ลักษณะความหมายของ</span></strong></u>\n</p>\n<p align=\"left\">\n       ๑. บอกความหมายเป็นพหูพจน์    มักเป็นคำนามและสรรพนาม   เช่น<br />\n           เด็ก  ๆ   กำลังร้องเพลง       พี่  ๆ  ไปโรงเรียน     หนุ่ม  ๆ   กำลังเล่นฟุตบอล<br />\n       ๒. บอกความหมายเป็นเอกพจน์   แยกจำนวนออกเป็นส่วน  ๆ   มักเป็นคำลักษณะ <br />\n           นาม   เช่นล้างชามให้สะอาดเป็นใบ  ๆ  ไสกบไม้ให้เป็นแผ่น  ๆ <br />\n       ๓. เน้นความหมายของคำเดิม    มักเป็นคำวิเศษณ์    เช่นพูดดัง  ๆ  ฟังดี  ๆ  <br />\n           นั่งนิ่ง  ๆ ถ้าต้องการเน้นให้เป็นจริงเป็นจังอย่างมั่นใจมากขึ้น    <br />\n           เราก็เน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คำหน้า   เช่น เสียงดั้งดัง พูดดี๊ดี  ช่างเงี้ยบเงียบ <br />\n       ๔. ลดความหมายของคำเดิม    มักเป็นคำวิเศษณ์บอกสี    เช่นเสื้อสีแดง  ๆ  <br />\n           กางเกงสีดำ  ๆ    บ้านสีขาว  ๆแต่ถ้าเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คำหน้า    <br />\n           ก็จะเป็นการเน้นความหมายของคำเดิม  เช่น เสื้อสีแด๊งแดง กางเกงสีด๊ำดำ บ้านสีค้าวขาว<br />\n       ๕. บอกความหมายโดยประมาณทั้งที่เกี่ยวกับเวลาและสถานที่ ดังนี้<br />\n           ก. บอกเวลาโดยประมาณ   เช่น สมศรีชอบเดินเล่นเวลาเย็น  ๆ, เขาตื่นเช้าๆ เสมอ, น้ำค้างจะลงหนักเวลาดึก  ๆ<br />\n           ข. บอกสถานที่โดยประมาณ    เช่น มีร้านขายหนังสือแถว  ๆ    สี่แยก ,  รถคว่ำกลาง  ๆ    สะพาน<br />\n               ต้นประดู่ใหญ่อยู่ใกล้ ๆ   โรงเรียน<br />\n        ๖. บอกความหมายสลับกัน    เช่น เขาเดินเข้า  ๆ   ออก  ๆ อยู่ตั้งนานแล้ว<br />\n           ฉันหลับ  ๆ   ตื่น  ๆ     ตลอดคืน สมหมายได้แต่นั่ง  ๆ   นอน  ๆ    ทั้งวัน<br />\n        ๗. บอกความหมายเป็นสำนวน    เช่นงู   ๆ      ปลา  ๆดี  ๆ      ชั่ว   ๆ <br />\n             ไปๆ  มา  ๆถู  ๆ    ไถ   ๆ<br />\n        ๘. บอกความหมายแสดงการเปรียบเทียบชั้นปกติ    ชั้นกว่า    และขั้นสุด    เช่น<br />\n                 ขั้นปกติ  ขั้นกว่า  ขั้นสุด<br />\n                 หลวม ๆ หลวม  ล้วมหลวม<br />\n                 เบา ๆ  เบา  เบ๊าเบา<br />\n             การสร้างคำแบบคำประสม    คำซ้อน    และคำซ้ำ     นี้เป็นวิธีการสร้างคำที่เป็น <br />\n             ระเบียบวิธีของภาษาไทยของเราเอง     แต่การสร้างคำใหม่ในภาษาไทยไม่ได้มี  <br />\n             เพียง    ๔   วิธีเท่านั้น     เรายังมีวิธีการสร้างคำใหม่  ๆ   ขึ้นใช้ในภาษาไทยด้วย วิธีการอื่น   ๆ  อีก\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                     <img border=\"0\" width=\"340\" src=\"/files/u3208/clipart0154_0.jpg\" height=\"311\" style=\"width: 174px; height: 130px\" /><br />\n </p>\n<p></p>\n', created = 1715777710, expire = 1715864110, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c4c1785cfad4a3b0f9871a2df74853b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำซ้ำ

รูปภาพของ ruang


รื่อง  คำซ้ำ

                      คำซ้ำ   คือ  คำที่เกิดจากการซ้ำเสียงคำเดียวกันตั้งแต่   ๒ หน ขึ้นไป  เพื่อทำให้เกิด        

                                     คำใหม่ได้ความหมายใหม่   เช่น  ดำ  ๆ      หวาน  ๆ    คอยค้อยคอย

                                                                       

                                        ชนิดของคำไทยที่เอามาซ้ำกัน 

                                      ในภาษาไทยเราสามารถเอาคำทุกชนิดมาซ้ำได้   ดังนี 
                                       ๑. ซ้ำคำนาม        เช่น พี่  ๆ    น้อง ๆ    เด็ก ๆ   
                                       ๒. ซ้ำคำสรรพนาม  เช่น เขา  ๆ   เรา ๆ     คุณ ๆ
                                       ๓. ซ้ำคำวิเศษณ์    เช่น เร็ว  ๆ   ไว  ๆ    ช้า  ๆ
                                       ๔. ซ้ำคำกริยา      เช่น นั่ง  ๆ   นอน  ๆ     เดิน  ๆ
                                       ๕. ซ้ำคำบุรพบท   เช่น ใกล้  ๆ   ไกล   ๆ   เหนือ  ๆ
                                       ๖. ซ้ำคำสันธาน    เช่น ทั้ง  ๆ   ที่     เหมือน   ๆ     ราว   ๆ    กับ
                                       ๗. ซ้ำคำอุทาน     เช่น โฮ  ๆ     กรี๊ด  ๆ

                                                              

                                  ลักษณะของการซ้ำคำในภาษาไทย


       ๑. ซ้ำคำเดียวกัน   ๒  หน  ระดับเสียงวรรณยุกต์คงเดิม  เช่น  เร็ว  ๆ  หนุ่ม  ๆ      หนัก  ๆ   เบา ๆ                       
       ๒. ซ้ำคำเดียวกัน   ๒   หน    โดยเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คำหน้า   เช่น    ว้าน    หวาน    นักหนา     
            จ๊นจน      อร้อยอร่อย 
       ๓. ซ้ำคำเดียวกัน   ๓  หน    โดยเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คำกลาง    เช่น    ดีดี๊ดี    คมค้มคม   จืดจื๊ด จืด  
            สวย          ซ้วยสวย
       ๔. ซ้ำคำประสม   ๒   พยางค์   ๒   หน    โดยเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่พยางค์   หลังของคำหน้า  เช่น  
              เจ็บใจ๊เจ็บ 
       ๕. ซ้ำคำเดียวกัน   ๒   หน     ระดับเสียงวรรณยุกต์คงเดิมแต่เกิดการกร่อนเสียงขึ้นอย่างที่บาลีเรียกว่า  
           อัพภาส  และสันสกฤตเรียกว่า    อัภยภาส    เช่น    ลิ่ว  ๆ  เป็น   ละลิ่ว    ครืน ๆ  เป็น   คระครืน 
            ซึ่งโดยมากใช้ในคำประพันธ์

      


                       ลักษณะความหมายของ

       ๑. บอกความหมายเป็นพหูพจน์    มักเป็นคำนามและสรรพนาม   เช่น
           เด็ก  ๆ   กำลังร้องเพลง       พี่  ๆ  ไปโรงเรียน     หนุ่ม  ๆ   กำลังเล่นฟุตบอล
       ๒. บอกความหมายเป็นเอกพจน์   แยกจำนวนออกเป็นส่วน  ๆ   มักเป็นคำลักษณะ
           นาม   เช่นล้างชามให้สะอาดเป็นใบ  ๆ  ไสกบไม้ให้เป็นแผ่น  ๆ
       ๓. เน้นความหมายของคำเดิม    มักเป็นคำวิเศษณ์    เช่นพูดดัง  ๆ  ฟังดี  ๆ 
           นั่งนิ่ง  ๆ ถ้าต้องการเน้นให้เป็นจริงเป็นจังอย่างมั่นใจมากขึ้น   
           เราก็เน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คำหน้า   เช่น เสียงดั้งดัง พูดดี๊ดี  ช่างเงี้ยบเงียบ
       ๔. ลดความหมายของคำเดิม    มักเป็นคำวิเศษณ์บอกสี    เช่นเสื้อสีแดง  ๆ 
           กางเกงสีดำ  ๆ    บ้านสีขาว  ๆแต่ถ้าเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ที่คำหน้า   
           ก็จะเป็นการเน้นความหมายของคำเดิม  เช่น เสื้อสีแด๊งแดง กางเกงสีด๊ำดำ บ้านสีค้าวขาว
       ๕. บอกความหมายโดยประมาณทั้งที่เกี่ยวกับเวลาและสถานที่ ดังนี้
           ก. บอกเวลาโดยประมาณ   เช่น สมศรีชอบเดินเล่นเวลาเย็น  ๆ, เขาตื่นเช้าๆ เสมอ, น้ำค้างจะลงหนักเวลาดึก  ๆ
           ข. บอกสถานที่โดยประมาณ    เช่น มีร้านขายหนังสือแถว  ๆ    สี่แยก ,  รถคว่ำกลาง  ๆ    สะพาน
               ต้นประดู่ใหญ่อยู่ใกล้ ๆ   โรงเรียน
        ๖. บอกความหมายสลับกัน    เช่น เขาเดินเข้า  ๆ   ออก  ๆ อยู่ตั้งนานแล้ว
           ฉันหลับ  ๆ   ตื่น  ๆ     ตลอดคืน สมหมายได้แต่นั่ง  ๆ   นอน  ๆ    ทั้งวัน
        ๗. บอกความหมายเป็นสำนวน    เช่นงู   ๆ      ปลา  ๆดี  ๆ      ชั่ว   ๆ
             ไปๆ  มา  ๆถู  ๆ    ไถ   ๆ
        ๘. บอกความหมายแสดงการเปรียบเทียบชั้นปกติ    ชั้นกว่า    และขั้นสุด    เช่น
                 ขั้นปกติ  ขั้นกว่า  ขั้นสุด
                 หลวม ๆ หลวม  ล้วมหลวม
                 เบา ๆ  เบา  เบ๊าเบา
             การสร้างคำแบบคำประสม    คำซ้อน    และคำซ้ำ     นี้เป็นวิธีการสร้างคำที่เป็น
             ระเบียบวิธีของภาษาไทยของเราเอง     แต่การสร้างคำใหม่ในภาษาไทยไม่ได้มี  
             เพียง    ๔   วิธีเท่านั้น     เรายังมีวิธีการสร้างคำใหม่  ๆ   ขึ้นใช้ในภาษาไทยด้วย วิธีการอื่น   ๆ  อีก

                                                    
 

สร้างโดย: 
รวงทอง สวัสดิ์มงคล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 342 คน กำลังออนไลน์