• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:926b0847558054259a981011ec43b58b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: medium; color: #008000\"><strong><span style=\"color: #008080\">เทคนิดการทำผ้าบาติก</span></strong></span> </span></span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: medium; color: #008000\"><strong><span style=\"font-size: medium\">ประวัติผ้าบาติก<br />\n </span><span style=\"color: #000000\">ผ้าบาติกหรือผ้าปาเต๊ะ เป็นคำที่ใช้เรียกผ้าชนิดหนึ่งที่มีวิธีการทำโดยใช้เทียนปิดส่วนที่ไม่ต้องการให้ติดสี และใช้วิธีการแต้ม ระบาย หรือย้อมในส่วนที่ต้องการให้สีติดสี ผ้าบาติกบางชิ้นอาจจะผ่านขั้นตอนการปิดเทียน แต้มสี ระบายสีและย้อมสีนับเป็นสิบ ๆ ครั้ง ส่วนผ้าบาติกอย่างง่ายอาจทำโดยการเขียนเทียนหรือพิมพ์เทียน แล้วจึงนำไปย้อมสีที่ต้องการ</span></strong></span></li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-size: medium; color: #008000\"><strong></strong></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u3197/Re-exposure_of_Re-exposure_of_DSC02751.jpg\" height=\"300\" />\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: medium\">บาติกในประเทศไทย</span><br />\n <span style=\"color: #000000\">คนไทยรู้จักผ้าบาติกในลักษณะของ &quot;ผ้าพันหรือผ้าปาเต๊ะพัน&quot; โดยเรียกตามวิธีนุ่ง คือพันรอบตัว คำว่า โสร่ง ก็มาจากภาษาอินโดนีเซียเช่นเดียวกัน ซึ่งหมายถึง ผ้านุ่ง คนในท้องถิ่นภาคใต้เรียกผ้าบาติกว่า &quot; ผ้าปาเต๊ะ &quot; หรือ &quot; ผ้าบาเต๊ะ &quot;<br />\n ชาวไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เรียนรู้วิธีการทำผ้าบาติกโดยได้รับเทคนิคจากมาเลเซีย เทคนิคการทำผ้าบาติกที่มักจะปกปิดเป็นความลับและถ่ายทอดกันเป็นกันเป็นกตระกูล ชาวไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเฉพาะในจังหวัดนราธิวาส จะศึกษาวิธีการทำผ้าบาติก โดยเดินทางไปเป็นลูกจ้างในโรงงานบาติกของญาติพี่น้องในประเทศมาเลเซีย และจดจำเทคนิคต่าง ๆ โดยการสังเกตและประสบการณ์ในการทำงาน เมื่อได้ความรู้แล้ว จึงเดินทางกลับมาตั้งโรงงานบาติกในประเทศไทย</span></li>\n<li><span style=\"font-size: medium\">ลักษณะงานบาติกในไทย<br />\n </span><span style=\"color: #0000ff\">บาติกพื้นขาว<br />\n บาติกพื้นดำ<br />\n บาติกพื้นสี<br />\n บาติกลายหินแตก<br />\n <span style=\"color: #0000ff\">บาติกเขียน หรือ บาติกระบายสี</span></span></li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u3197/02052007_001_.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       บาติกบนผ้าใยสังเคราะห์<br />\n       บาติกแนวใหม่ </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: medium\">วัสดุและอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก<br />\n </span><span style=\"color: #000000\">1.จันติ้ง<br />\n 2.ผ้า ( ที่ทอจากเส้นใยจากธรรมชาติ )<br />\n 3.สี<br />\n 4.เทียนที่ผสมเรียบร้อยแล้ว ( เทียนแผ่น ยางสน น้ำมันพืช )<br />\n 5.พู่กัน แปรงทาสี<br />\n 6.กรอบไม้<br />\n 7.ภาชนะต้มเทียน และภาชนะสำหรับต้มผ้า<br />\n 8.เตาต้มเทียน<br />\n 9.น้ำยากันสีตก ( โซเดียมซีดีเกด )<br />\n 10.ภาชนะใส่สีและน้ำล้างพู่กัน<br />\n 11.กระดาษทิชชูหรือผ้าเช็ดสี<br />\n 12.ดินสอสีเขียนลาย</span></li>\n<li>\n<div>\n <span style=\"font-size: medium\">ขั้นตอนการทำผ้าบาติก</span>\n </div>\n</li>\n</ul>\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #008000\"></span>\n</p>\n', created = 1715638513, expire = 1715724913, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:926b0847558054259a981011ec43b58b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เทคนิคการทำผ้าบาติก

รูปภาพของ arthorn2512

เทคนิดการทำผ้าบาติก

  • ประวัติผ้าบาติก
    ผ้าบาติกหรือผ้าปาเต๊ะ เป็นคำที่ใช้เรียกผ้าชนิดหนึ่งที่มีวิธีการทำโดยใช้เทียนปิดส่วนที่ไม่ต้องการให้ติดสี และใช้วิธีการแต้ม ระบาย หรือย้อมในส่วนที่ต้องการให้สีติดสี ผ้าบาติกบางชิ้นอาจจะผ่านขั้นตอนการปิดเทียน แต้มสี ระบายสีและย้อมสีนับเป็นสิบ ๆ ครั้ง ส่วนผ้าบาติกอย่างง่ายอาจทำโดยการเขียนเทียนหรือพิมพ์เทียน แล้วจึงนำไปย้อมสีที่ต้องการ

  • บาติกในประเทศไทย
    คนไทยรู้จักผ้าบาติกในลักษณะของ "ผ้าพันหรือผ้าปาเต๊ะพัน" โดยเรียกตามวิธีนุ่ง คือพันรอบตัว คำว่า โสร่ง ก็มาจากภาษาอินโดนีเซียเช่นเดียวกัน ซึ่งหมายถึง ผ้านุ่ง คนในท้องถิ่นภาคใต้เรียกผ้าบาติกว่า " ผ้าปาเต๊ะ " หรือ " ผ้าบาเต๊ะ "
    ชาวไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เรียนรู้วิธีการทำผ้าบาติกโดยได้รับเทคนิคจากมาเลเซีย เทคนิคการทำผ้าบาติกที่มักจะปกปิดเป็นความลับและถ่ายทอดกันเป็นกันเป็นกตระกูล ชาวไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเฉพาะในจังหวัดนราธิวาส จะศึกษาวิธีการทำผ้าบาติก โดยเดินทางไปเป็นลูกจ้างในโรงงานบาติกของญาติพี่น้องในประเทศมาเลเซีย และจดจำเทคนิคต่าง ๆ โดยการสังเกตและประสบการณ์ในการทำงาน เมื่อได้ความรู้แล้ว จึงเดินทางกลับมาตั้งโรงงานบาติกในประเทศไทย
  • ลักษณะงานบาติกในไทย
    บาติกพื้นขาว
    บาติกพื้นดำ
    บาติกพื้นสี
    บาติกลายหินแตก
    บาติกเขียน หรือ บาติกระบายสี

       บาติกบนผ้าใยสังเคราะห์
       บาติกแนวใหม่

  • วัสดุและอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก
    1.จันติ้ง
    2.ผ้า ( ที่ทอจากเส้นใยจากธรรมชาติ )
    3.สี
    4.เทียนที่ผสมเรียบร้อยแล้ว ( เทียนแผ่น ยางสน น้ำมันพืช )
    5.พู่กัน แปรงทาสี
    6.กรอบไม้
    7.ภาชนะต้มเทียน และภาชนะสำหรับต้มผ้า
    8.เตาต้มเทียน
    9.น้ำยากันสีตก ( โซเดียมซีดีเกด )
    10.ภาชนะใส่สีและน้ำล้างพู่กัน
    11.กระดาษทิชชูหรือผ้าเช็ดสี
    12.ดินสอสีเขียนลาย
  • ขั้นตอนการทำผ้าบาติก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สร้างโดย: 
ม.อาทร บัวจุด โรงเรียนเซนต์ไมเกิ้ล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 467 คน กำลังออนไลน์