• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0b239c69c5dc760848daa07311faeff9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #003300\">           </span><span style=\"font-size: x-large; color: #800000\">โวหารในการเขียนเรียงความ</span><span style=\"font-size: x-large; color: #800000\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large; color: #800000\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n             <span style=\"color: #008000\">บรรยายโวหาร</span> <span style=\"color: #ff0000\">หมายถึง  </span>การเขียนเล่าเรื่องในสิ่งที่ผู้เขียนได้ประสบพบเห็นมาอย่างถี่ถ้วนสามารถที่จะอธิบาย หรือบรรยายให้ผู้อ่านเข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้ง เหมาะที่จะเขียนเรียงความประเภทที่ให้ความรู้  เช่น ประวัติ ตำนาน เล่าเรื่องการเดินทาง เป็นต้น\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\">             <span style=\"color: #008000\"> พรรณนาโวหาร</span>  <span style=\"color: #ff0000\">หมายถึง</span> การเขียนแบบใช้ถ้อยคำให้ผู้อ่านเกิดภาพพจน์ตามผู้เขียนพรรณนา    มักแทรกความรู้สึกของผู้เขียนไว้ด้วย เหมาะที่จะเขียนชมความงาม สดุดี รำพันความรู้สึกในใจ การพรรณนาต้องพยายามให้ผู้อ่าน รับรู้ด้วยสัมผัสทั้งปวง คือ รูป รส กลิ่น เสียง เล่นสำนวนถ้อยคำและความหมายให้ไพเราะกินใจ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\">              <span style=\"color: #008000\">เทศนาโวหาร</span>  <span style=\"color: #ff0000\">คือ</span> โวหารที่มุ่งโน้มน้าวใจให้ผู้อ่านประพฤติปฏิบัติตามคำสอนนั้นการเรียบเรียงประโยคต้องเน้นย้ำข้อคิดให้มีพลัง เหนี่ยวโน้มใจให้คล้อยตามเห็นแจ้ง รู้จริง ด้วยเนื้อความที่สอนนั้น ในเทศนาโวหารมักแทรกเหตุผลหรือความเปรียบเทียบให้เกิดความเข้าใจอันดี และเชื่อถือในคำสั่งสอนส่วนประกอบของเทศนาโวหารได้แก่ การตีความหรือให้คำนิยามความหมายเพื่อให้เกิดความเข้าใจ อธิบายเหตุผลหรือปลูกฝังความศรัทธา  อธิบายคุณโทษ  ข้อดีข้อเสียเพื่อให้ปฏิบัติหรือละเว้น ใช้หลักฐานอ้างอิงยืนยันข้อเท็จจริง แนะนำสั่งสอน ชี้แจงข้อธรรมะต่าง ๆ ด้วยเหตุผล   ตอบข้อสงสัยและแจกแจงรายละเอียดหรือยกตัวอย่างประกอบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\">               <span style=\"color: #008000\">สาธกโวหาร</span>  <span style=\"color: #ff0000\">สาธก </span>แปลว่า ผู้ทำให้สำเร็จ เป็นการกล่าวอ้างให้เห็นตัวอย่างสมจริงโดยยกเรื่องอันเป็นอุทาหรณ์ ประกอบเรื่องที่นำมายกตัวอย่างเพื่อทำให้สำเร็จ   เป็นที่เข้าใจ เชื่อถือได้ ข้อความที่ยกมามักเป็นประวัติศาสตร์ข่าวเหตุการณ์ นิทานอีสป นิทานชาดกเรื่องราวในวรรณคดีตำนานต่าง ๆ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\">             <span style=\"color: #008000\">อุปมาโวหาร</span> <span style=\"color: #ff0000\">อุปมา</span> แปลว่า ข้อเปรียบเทียบ ใช้คู่กับอุปไมย ซึ่งแปลว่า ข้อความที่ต้องมีความเปรียบเทียบ อุปมาโวหาร คือ การเขียนโดยยกข้อความเปรียบเทียบช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้นทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม คำอุปมานี้อาจจะนำมาจากนิทานหรือวรรณคดีก็ได้ เช่น เนรคุณเหมือนทรพี รวดเร็วปานกามนิตหนุ่ม<br />\n           <span style=\"color: #ff0000\">การเขียนอุปมาโวหาร</span>ต้องมีศิลปะในการเลือกข้ออุปมาให้เหมาะสมแก่ข้ออุปไมย ข้ออุปมามักจะเป็นสิ่งที่เป็นรูปธรรม ส่วนอุปไมยมักจะเป็นนามธรรมที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\">     <span style=\"color: #993366\">ใสเหมือนตาตั๊กแตน             เบาเหมือนปุยนุ่น </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #993366\">     ความโกรธเหมือนทะเลบ้า      ตัวสั่นเป็นเจ้าเข้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\">     <span style=\"color: #800080\">ตัวสั่นเป็นลูกนก</span> เป็นต้น    และควรระวังไม่อุปมาผิดพจน์ เช่น ตาของหล่อนวาววามราวกับหมู่ดาวในท้องฟ้า ไม่อุปมาผิดเพศ เช่น เขาเป็นชายหนุ่มที่ไร้ค่าเหมือนดอกหญ้า ไม่อุปมาเกินตัว เช่น หิ่งห้อยสว่างราวดวงจันทร์ ไม่อุปมาต่ำช้า เช่น ข้าจงรักภักดีต่อเจ้าเหมือนสุนัขจงรักนาย เป็นต้น  การที่จะเขียนเรียงความได้ดีนั้นผู้เขียนจะต้องอ่านมาก ฟังมาก เข้าลักษณะเป็น “ พหูสูต” คิดค้นหาความรู้เป็นวัตถุดิบประกอบงานเขียนของตนเสมอ อาจารย์เจือ สตะเวทิน กล่าวว่า หากไม่อ่านหนังสือก็อย่าริเป็นนักเขียนหนังสือ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large\"></span>\n</p>\n', created = 1715764510, expire = 1715850910, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0b239c69c5dc760848daa07311faeff9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โวหารในการเขียนเรียงความ

           โวหารในการเขียนเรียงความ 


             บรรยายโวหาร หมายถึง  การเขียนเล่าเรื่องในสิ่งที่ผู้เขียนได้ประสบพบเห็นมาอย่างถี่ถ้วนสามารถที่จะอธิบาย หรือบรรยายให้ผู้อ่านเข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้ง เหมาะที่จะเขียนเรียงความประเภทที่ให้ความรู้  เช่น ประวัติ ตำนาน เล่าเรื่องการเดินทาง เป็นต้น

              พรรณนาโวหาร  หมายถึง การเขียนแบบใช้ถ้อยคำให้ผู้อ่านเกิดภาพพจน์ตามผู้เขียนพรรณนา    มักแทรกความรู้สึกของผู้เขียนไว้ด้วย เหมาะที่จะเขียนชมความงาม สดุดี รำพันความรู้สึกในใจ การพรรณนาต้องพยายามให้ผู้อ่าน รับรู้ด้วยสัมผัสทั้งปวง คือ รูป รส กลิ่น เสียง เล่นสำนวนถ้อยคำและความหมายให้ไพเราะกินใจ

              เทศนาโวหาร  คือ โวหารที่มุ่งโน้มน้าวใจให้ผู้อ่านประพฤติปฏิบัติตามคำสอนนั้นการเรียบเรียงประโยคต้องเน้นย้ำข้อคิดให้มีพลัง เหนี่ยวโน้มใจให้คล้อยตามเห็นแจ้ง รู้จริง ด้วยเนื้อความที่สอนนั้น ในเทศนาโวหารมักแทรกเหตุผลหรือความเปรียบเทียบให้เกิดความเข้าใจอันดี และเชื่อถือในคำสั่งสอนส่วนประกอบของเทศนาโวหารได้แก่ การตีความหรือให้คำนิยามความหมายเพื่อให้เกิดความเข้าใจ อธิบายเหตุผลหรือปลูกฝังความศรัทธา  อธิบายคุณโทษ  ข้อดีข้อเสียเพื่อให้ปฏิบัติหรือละเว้น ใช้หลักฐานอ้างอิงยืนยันข้อเท็จจริง แนะนำสั่งสอน ชี้แจงข้อธรรมะต่าง ๆ ด้วยเหตุผล   ตอบข้อสงสัยและแจกแจงรายละเอียดหรือยกตัวอย่างประกอบ

               สาธกโวหาร  สาธก แปลว่า ผู้ทำให้สำเร็จ เป็นการกล่าวอ้างให้เห็นตัวอย่างสมจริงโดยยกเรื่องอันเป็นอุทาหรณ์ ประกอบเรื่องที่นำมายกตัวอย่างเพื่อทำให้สำเร็จ   เป็นที่เข้าใจ เชื่อถือได้ ข้อความที่ยกมามักเป็นประวัติศาสตร์ข่าวเหตุการณ์ นิทานอีสป นิทานชาดกเรื่องราวในวรรณคดีตำนานต่าง ๆ เป็นต้น

             อุปมาโวหาร อุปมา แปลว่า ข้อเปรียบเทียบ ใช้คู่กับอุปไมย ซึ่งแปลว่า ข้อความที่ต้องมีความเปรียบเทียบ อุปมาโวหาร คือ การเขียนโดยยกข้อความเปรียบเทียบช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้นทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม คำอุปมานี้อาจจะนำมาจากนิทานหรือวรรณคดีก็ได้ เช่น เนรคุณเหมือนทรพี รวดเร็วปานกามนิตหนุ่ม
           การเขียนอุปมาโวหารต้องมีศิลปะในการเลือกข้ออุปมาให้เหมาะสมแก่ข้ออุปไมย ข้ออุปมามักจะเป็นสิ่งที่เป็นรูปธรรม ส่วนอุปไมยมักจะเป็นนามธรรมที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน เช่น

     ใสเหมือนตาตั๊กแตน             เบาเหมือนปุยนุ่น

     ความโกรธเหมือนทะเลบ้า      ตัวสั่นเป็นเจ้าเข้า

     ตัวสั่นเป็นลูกนก เป็นต้น    และควรระวังไม่อุปมาผิดพจน์ เช่น ตาของหล่อนวาววามราวกับหมู่ดาวในท้องฟ้า ไม่อุปมาผิดเพศ เช่น เขาเป็นชายหนุ่มที่ไร้ค่าเหมือนดอกหญ้า ไม่อุปมาเกินตัว เช่น หิ่งห้อยสว่างราวดวงจันทร์ ไม่อุปมาต่ำช้า เช่น ข้าจงรักภักดีต่อเจ้าเหมือนสุนัขจงรักนาย เป็นต้น  การที่จะเขียนเรียงความได้ดีนั้นผู้เขียนจะต้องอ่านมาก ฟังมาก เข้าลักษณะเป็น “ พหูสูต” คิดค้นหาความรู้เป็นวัตถุดิบประกอบงานเขียนของตนเสมอ อาจารย์เจือ สตะเวทิน กล่าวว่า หากไม่อ่านหนังสือก็อย่าริเป็นนักเขียนหนังสือ

สร้างโดย: 
วรินพร เจริญแล้ว ศึกษาจาก www. google.com

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 352 คน กำลังออนไลน์