• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5df01b0cd92ca1eb12d69f2eaf613a2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u1801/DSCN0598.jpg\" height=\"375\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong>การกลึงภาชนะทองลงหิน </strong>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\">           <strong>4.  การกรอ</strong> หรือเรียกว่า ช่างกรอ หรือช่างตะไบ หมายถึงการที่ช่างตะไบเป็นเครื่องมือในการตกแต่งผิวภาชนะ แต่ในปัจจุบันมีการนำเครื่องกรอไฟฟ้าแต่งขอบปากภาชนะให้กลม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\">            <strong>5.  การเจีย</strong> หรือเรียกว่า ช่างเจีย ในสมัยก่อนไม่มีขั้นตอนเจีย แต่ในปัจจุบันนี้มีการนำเอาเครื่องเจียไฟฟ้า เข้ามาใช้ เพื่อตกแต่งรอยตำหนิต่าง ๆ บนผิวภาชนะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\">            <strong>6.  การขัด</strong> หรือเรียกว่า ช่างขัด ในสมัยก่อนจะใช้หินเนื้อละเอียดอย่างหินลับมีดทั้งก้อนขัดภาชนะให้ขึ้นเงา  ต่อมาช่างชาวบ้านบุได้พัฒนาใช้เบ้าดินเผาที่ ( ดินงัน )ใช้แล้ว ซึ่งมีเนื้อแกร่งเหมือนหิน มาบดย่อยผสมกับน้ำมันมะพร้าวแล้วห่อผ้าหมนกลิ้งไปกับเนื้อภาชนะ ขั้นตอนนี้เรียกว่า <strong>เหยียบเบ้า</strong> แต่ในปัจจุบันนี้จะมีการนำเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้่โดยการนำเอาเครื่องปั่นมอเตอร์ติดลูกทรายและลูกผ้่ามาขัดเป็นขั้นตอนสุดท้าย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\">              จากขั้นตอนการผลิตเครื่องทองลงหินของบ้านบุนี้จะต้องอาศัยช่างที่มีความรู้ความชำนาญที่สั่งสมกันมาหรือสืบทอดกันมาเป็นระยะเวลาอันยาวนานจากรุ่นสู่รุน โดยอาศัยประสบการณ์ตรง และการทดลองค้นคว้าหาวิธีการต่าง ๆ ของบรรพบุรุษทำให้เกิดผลงานท่ีมีคุณภาพและควรค่าแก่ความภาคภูมิใจ  เครื่องทองลงหินที่ได้มาจากการผลิตจะได้ภาชนะที่เหนียวแข็งแกร่ง มีผิวสีที่สุกใสเป็นเงางามมีน้ำหนัก เมื่อเคาะดูแล้วมีเสียงดังกังวาน ใส่น้ำเย็นเย็นจัด นอกจากการทำเป็นภาขนะแล้วเครื่องทองลงเห็นจึงนิยมทำเป็นเครื่องดนตรีประเภท ฉิ่ง ฉาบ และฆ้องได้ </span>\n</p>\n', created = 1719735212, expire = 1719821612, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5df01b0cd92ca1eb12d69f2eaf613a2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย เรื่อง การทำขันลงหินบ้านบุ

รูปภาพของ silavacharee

การกลึงภาชนะทองลงหิน

           4.  การกรอ หรือเรียกว่า ช่างกรอ หรือช่างตะไบ หมายถึงการที่ช่างตะไบเป็นเครื่องมือในการตกแต่งผิวภาชนะ แต่ในปัจจุบันมีการนำเครื่องกรอไฟฟ้าแต่งขอบปากภาชนะให้กลม

            5.  การเจีย หรือเรียกว่า ช่างเจีย ในสมัยก่อนไม่มีขั้นตอนเจีย แต่ในปัจจุบันนี้มีการนำเอาเครื่องเจียไฟฟ้า เข้ามาใช้ เพื่อตกแต่งรอยตำหนิต่าง ๆ บนผิวภาชนะ

            6.  การขัด หรือเรียกว่า ช่างขัด ในสมัยก่อนจะใช้หินเนื้อละเอียดอย่างหินลับมีดทั้งก้อนขัดภาชนะให้ขึ้นเงา  ต่อมาช่างชาวบ้านบุได้พัฒนาใช้เบ้าดินเผาที่ ( ดินงัน )ใช้แล้ว ซึ่งมีเนื้อแกร่งเหมือนหิน มาบดย่อยผสมกับน้ำมันมะพร้าวแล้วห่อผ้าหมนกลิ้งไปกับเนื้อภาชนะ ขั้นตอนนี้เรียกว่า เหยียบเบ้า แต่ในปัจจุบันนี้จะมีการนำเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้่โดยการนำเอาเครื่องปั่นมอเตอร์ติดลูกทรายและลูกผ้่ามาขัดเป็นขั้นตอนสุดท้าย

              จากขั้นตอนการผลิตเครื่องทองลงหินของบ้านบุนี้จะต้องอาศัยช่างที่มีความรู้ความชำนาญที่สั่งสมกันมาหรือสืบทอดกันมาเป็นระยะเวลาอันยาวนานจากรุ่นสู่รุน โดยอาศัยประสบการณ์ตรง และการทดลองค้นคว้าหาวิธีการต่าง ๆ ของบรรพบุรุษทำให้เกิดผลงานท่ีมีคุณภาพและควรค่าแก่ความภาคภูมิใจ  เครื่องทองลงหินที่ได้มาจากการผลิตจะได้ภาชนะที่เหนียวแข็งแกร่ง มีผิวสีที่สุกใสเป็นเงางามมีน้ำหนัก เมื่อเคาะดูแล้วมีเสียงดังกังวาน ใส่น้ำเย็นเย็นจัด นอกจากการทำเป็นภาขนะแล้วเครื่องทองลงเห็นจึงนิยมทำเป็นเครื่องดนตรีประเภท ฉิ่ง ฉาบ และฆ้องได้

สร้างโดย: 
วัชรี กมลเสรีรัตน์

เป็นภูมิปัญญาไทยที่ควรค่าสำหรับการศึกษาและการอนุรักษ์ให้สืบทอดไปยังคนรุ่นหลัง ดิฉันสนใจและต้องการศึกษาเป็นอย่างมาก

รูปภาพของ silavacharee

ขอบพระคุณค่ะ ที่สนใจ ยินดีที่มีผู้สนใจในเรื่องนี้ เพราะตอนนี้หาผู้สืบทอดและสนใจน้อยมาก ถ้าอยากจะศึกษาไปที่บ้านคุณเจียม  แสงสัจจา ที่บ้านบุได้เลยนะคะ ไปง่าย เพราะอยู่ใกล้กับเขตบางกอกน้อย ไปได้สะดวกมากค่ะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 453 คน กำลังออนไลน์