• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8f260d66b92ce4456cac80a6df3aef8e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nอุตสาหกรรมเคมี <br />\nคำว่า อุตสาหกรรมทางเคมี ครอบคลุมไปถึงกิจกรรมอุตสาหกรรมมากมายหลายอย่าง อุตสาหกรรมที่ทำเครื่องเคมีทั้งหลายจะผลิตผลสำเร็จรูป เช่น พลาสติก สี ยารักษาโรค ผงซักฟอก วัตถุระเบิด ไยเทียม สีย้อมผ้า และยาฆ่าแมลง เป็นต้น <br />\nสารเคมีที่เป็นพื้นฐานและใช้ประโยชน์ได้มากสำคัญที่สุด คือ กรดกำมะถัน ซึ่งใช้ในกระบวนการทางเคมีมากมายนับตั้งแต่การทำปุ๋ยไปจนทำความสะอาดเหล็ก โซดาไฟที่ใช้ในการทำสบู่และทำสิ่งอื่นนั้น ก็ผลิตออกมาเป็นจำนวนมาก เช่นเดียวกับแอมโมเนียที่ใช้ในการทำปุ๋ย เคมีภัณฑ์เหล่านี้และอื่น ๆ มักเรียกว่าสารเคมีหนัก เพราะเหตุว่าผลิตออกมาเป็นปริมาณมาก ๆ ยารักษาโรคแทบทุกชนิด มีการผลิตเป็นจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับสารเคมีหนักพวกนี้เรียกว่า สารเคมีละเอียด <br />\nการอุตสาหกรรมเคมีใช้วัตถุดิบหลายอย่าง อาทิ หิน แร่ และถ่านหิน ซึ่งขุดมาจากใต้พื้นดิน และยังใช้ไม้ซุง และวัตถุดิบจากพืชอีกหลายชนิด ที่นับว่าสำคัญที่สุดก็คือ การอุตสาหกรรมเคมีต้องใช้น้ำมันดิบซึ่งเป็นหัวใจสองประการ คือ เป็นทั้งวัตถุดิบและเป็นเชื้อเพลิง ที่น่าวิตกก็คือ น้ำมันดิบอาจจะมีใช้กันต่อไปอีกไม่นาน <br />\nการอุตสาหกรรมเคมีใช้ขบวนการทางเคมีต่าง ๆ หลายอย่างเพื่อจะเปลี่ยนวัตถุดิบมาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ วิธีการหนึ่งที่เรียกว่าการทำให้แตกตัว คือ การทำให้วัตถุที่มีองค์ประกอบยุ่งยากซับซ้อนกลายเป็นสิ่งที่มีองค์ประกอบง่ายขึ้น อีกวิธีหนึ่งตรงกันข้าม คือ ทำให้วัตถุที่มีองค์ประกอบง่าย ๆ กลายเป็นวัตถุที่มีองค์ประกอบซับซ้อน (polymerization) <br />\nการอุตสาหกรรมเคมีใช้ขบวนการทางฟิสิกส์ด้วย เช่น การประสม การกรอง การทำให้แห้ง ขบวนการเหล่านี้ช่วยทำให้วัตถุดิบมีประโยชน์ยิ่งขึ้น สำหรับทำผลิตภัณฑ์ทางเคมีและการค้า <br />\nงานค้นคว้าวิจัยเป็นหัวใจของการอุตสาหกรรมเคมี นักวิทยาศาสตร์จะเสาะหาขบวนการใหม่ ๆ หรือที่ดียิ่งขึ้นไป เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ หรือดียิ่งขึ้น ถ้ากรรมวิธีไหนดูท่าว่าจะดี วิศวกรเคมีก็จะทำการทดสอบดู เขาจะออกแบบอุปกรณ์และสร้างโรงงานเล็ก ๆ ขึ้นทดลองทำดูก่อน เมื่อได้ผลว่าดี ก็จะทำกันต่อไปและสร้างโรงงานขนาดใหญ่ขึ้นเต็มรูป\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n    เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cells)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nปฏิกิริยา Oxidation-Reduction ส่วนมากจะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจะไม่ให้พลังงาน ตัวอย่างของปฏิกิริยาเหล่านี้คือ การนำโลหะสังกะสีใส่ลงไปในสารละลายที่มีประจุไฟฟ้าทองแดงอยู่โดยจะแสดงดังสมการ\n</p>\n<p align=\"center\">\nCu<sup>+2</sup> (aq) + Zn (s) -------&gt; Cu(s) + Zn<sup>+2</sup> (aq)\n</p>\n<p>\n<br />\nโลหะสังกะสีจะค่อยๆละลายช้าๆ เนื่องจากประจุไฟฟ้าของสังกะสีเกิดการ Oxidation เมื่อใส่ลงไปในสารละลาย และในเวลาเดียวกันประจุไฟฟ้าของทองแดงก็ได้รับอิเล็กตรอนและถูกทำให้เป็นอะตอมทองแดง โลหะสังกะสีจะถูกกัดกร่อนและตกตะกอนอยู่ข้างใต้ภาชนะที่ใส่ไว้ พลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะเกิดขึ้นเร็วมาก และจะกระจัดกระจายอยู่ จะอยู่ในรูปของความร้อนและสามารถที่จะนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานไฟฟ้าจ่ายให้กับอุปกรณ์ต่างๆที่ต้องการพลังงานได้ เรียกพลังงานเหล่านั้นว่าไฟฟ้าเคมี <br />\nเซลล์ไฟฟ้าเคมีจะประกอบด้วย 2 เซลล์ด้วยกัน ซึ่งเซลล์ทั้งสองนั้นจะแยกออกจากกัน โดยจะแบ่งเป็น 2 ภาชนะ ซึ่งในแต่ละภาชนะจะประกอบด้วยขั้วประจุไฟฟ้าที่จุ่มลงไปในสารละลาย ทั้งสองเซลล์จะมีเซลล์หนึ่งที่ทำปฏิกิริยา Oxidation และอีกเซลล์หนึ่งก็ทำปฏิกิริยา Reduction จะแสดงดังภาพข้างล่าง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"141\" src=\"/files/u2726/images_0.jpg\" height=\"82\" style=\"width: 271px; height: 131px\" />\n</p>\n<p>\nเซลล์ไฟฟ้าตัวแรกจะเรียกว่าขั้ว Anode จะมีการเกิดปฏิกิริยา Oxidation ของโลหะสังกะสีซึ่งจะแสดงดังสมการข้างล่าง\n</p>\n<p align=\"center\">\nZn (s) ----------&gt; <span style=\"color: #993300\">Zn<sup>+2</sup></span> (aq) + 2e-\n</p>\n<p>\n<br />\nระหว่างที่เกิดปฏิกิริยา Oxidation ขึ้นที่โลหะสังกะสี ขั้วไฟฟ้าของสังกะสีจะค่อยๆละลายช้าๆ และทำให้เกิดประจุไฟฟ้าของสังกะสีในสารละลาย ที่มีประจุ Zn<sup>+2</sup> (aq) และ SO<sub>4</sub><sup>-2</sup>(aq) ส่วนเซลล์ไฟฟ้าตัวที่สองเรียกว่าขั้ว Cathode จะเกิดปฏิกิริยา Reduction ของโลหะทองแดงขึ้น ซึ่งจะแสดงดังสมการข้างล่าง\n</p>\n<p align=\"center\">\nCu<sup>+2</sup> (aq) + 2e- -------&gt; Cu (s)\n</p>\n<p>\n<br />\n              เมื่อประจุไฟฟ้าของทองแดง(Cu<sup>+2</sup>) เกิดปฏิกิริยา Reduction อะตอมของทองแดงก็จะมากขึ้นและจะเกาะอยู่ที่ผิวของขั้วตัวนำไฟฟ้าทองแดง การเกิด Reduction ของเซลล์แต่ละเซลล์จะเกิดขึ้นได้น้อยมากถ้าหากเซลล์ทั้งสองมีการเชื่อมต่อถึงกันอยู่ <br />\nสำหรับการเกิด ปฏิกิริยา Oxidation นั้นจะต้องเกิดพร้อมๆกับการเกิดปฏิกิริยา Reduction ซี่งจะมีการเชื่อมโยงถึงกัน แต่ถ้าเกิดเราแยกเซลล์ไว้แต่ละเซลล์ ความ ไม่สมดุลย์ทางไฟฟ้าก็จะเกิดขึ้น ที่ขั้วของสังกะสีก็จะเกิดศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก เรียกว่าขั้ว Anode และที่ขั้วของทองแดงก็จะเกิดศักย์ไฟฟ้าเป็นลบ เรียกว่า ขั้ว Cathode ปัญหานี้สามารถที่จะแก้ไขได้โดยการใช้สะพานเกลือ (salt bridge) เชื่อมต่อระหว่าง 2 เซลล์ดังแสดงดังภาพข้างล่าง สะพานเกลือนั้นคือ สิ่งที่ป้องกันที่เกิดขึ้นจากการผสมของสารละลายที่เกิดจากน้ำที่อยู่ในภาชนะนั้นๆ และจะทำการย้ายประจุไฟฟ้าทั้งสองไปในทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าคือไหลจากขั้วบวกมาขั้วลบก็จะหมือนกับการเกิดปฏิกิริยา Oxidation-Reduction จากขั้ว Anode ผ่านสะพานเกลือ จนไปถึงขั้ว Cathode นอกจากนั้นเซลล์ทั้งสองยังสามารถที่จะเชื่อมต่อกับภายนอกได้ ซึ่งในการจัดอิเล็กตรอนสามารถที่จะทำได้โดยการเตรียมปฏิกิริยา Oxidation แล้วทำการให้พลังงานเพื่อให้มันไหลไปตามทิศทางผ่านไปยังวงจรภายนอก และไหลไปหายังปฏิกิริยา Reduction จากที่กล่าวมาแล้ว การเกิดปฏิกิริยาขึ้นเองครั้งละครึ่งเซลล์จะเชื่อมต่อถึงกันและทำให้เกืดพลังงานแตกต่างกันไป ความแตกต่างของพลังงานนี้เราเรียกว่า Electromotive Force(emf) และมีหน่วยวัดที่เรียกว่า Volt เซลล์ของสังกะสีและทองแดงจะมีค่า (emf) อยู่ประมาณ 1.1 Volt เมื่อคิดตามมารฐาน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u2726/fuel-cell1.jpg\" height=\"215\" />\n</p>\n<p>\nอุปกรณ์ที่ได้มีการนำเอาไฟฟ้ามาใช้จะสามารถ &quot; spliced&quot; เข้าไปในวงจรซึ่งอาจจะเกิดพลังงานขึ้นได้โดยการผลิตเซลล์สำหรับที่จะใช้ประโยชน์ในงานนั้นๆ ถึงแม้ว่าพลังงานจะหามาได้จากเซลล์ไฟฟ้าเดี่ยวซึ่งมีพลังงานไม่ค่อยมาก เซลล์ไฟฟ้าเคมีสามารถที่จะเชื่อมต่อกันเข้าเป็นชุดๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพลังงานที่ออกมาทาง Output ให้มากขึ้น โดยทั่วไปเราจะใช้ประโยชน์จากเซลล์ที่นำมาต่อกันเป็น แบตเตอรี่ ตัวอย่างเช่น แบตเตอรี่ตะกั่วที่ใช้กันอยู่ในรถยนต์ และในตะกั่วแบตเตอรี่แต่ละเซลล์ก็จะมีโลหะตะกั่วเป็นขั้ว Anode และมี ตะกั่ว Oxide เป็นขั้ว Cathode ซึ่งทั้งคู่จะจุ่มลงไปในกรดสารละลายกรดซัลฟูริค ( Sulfuric) ไฟฟ้าเคมีประเภทนี้จะมีการผลิตแรงดันไฟฟ้าประมาณ 2 Volt เมื่อนำมาเชื่อมต่อกัน 6 เซลล์ก็จะทำให้เกิดแรงดัน =12 Volt ซึ่งแบตเตอรี่ชนิดนี้ในปัจจุบันจะใช้กันมากในรถยนต์ ยิ่งนานวันอุปกรณ์ชนิดนี้ก็ยิ่งเพิ่มขึ้น เพราะว่ามันเป็นแหล่งกำเนิดของพลังงานที่สามารถที่จะพกพาไปไหนต่อไหนได้สะดวก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726804047, expire = 1726890447, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8f260d66b92ce4456cac80a6df3aef8e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4e4dbcb4488262448bd91d61972a5fb7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n    เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cells)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nปฏิกิริยา Oxidation-Reduction ส่วนมากจะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจะไม่ให้พลังงาน ตัวอย่างของปฏิกิริยาเหล่านี้คือ การนำโลหะสังกะสีใส่ลงไปในสารละลายที่มีประจุไฟฟ้าทองแดงอยู่โดยจะแสดงดังสมการ\n</p>\n<p align=\"center\">\nCu<sup>+2</sup> (aq) + Zn (s) -------&gt; Cu(s) + Zn<sup>+2</sup> (aq)\n</p>\n<p>\n<br />\nโลหะสังกะสีจะค่อยๆละลายช้าๆ เนื่องจากประจุไฟฟ้าของสังกะสีเกิดการ Oxidation เมื่อใส่ลงไปในสารละลาย และในเวลาเดียวกันประจุไฟฟ้าของทองแดงก็ได้รับอิเล็กตรอนและถูกทำให้เป็นอะตอมทองแดง โลหะสังกะสีจะถูกกัดกร่อนและตกตะกอนอยู่ข้างใต้ภาชนะที่ใส่ไว้ พลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะเกิดขึ้นเร็วมาก และจะกระจัดกระจายอยู่ จะอยู่ในรูปของความร้อนและสามารถที่จะนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานไฟฟ้าจ่ายให้กับอุปกรณ์ต่างๆที่ต้องการพลังงานได้ เรียกพลังงานเหล่านั้นว่าไฟฟ้าเคมี <br />\nเซลล์ไฟฟ้าเคมีจะประกอบด้วย 2 เซลล์ด้วยกัน ซึ่งเซลล์ทั้งสองนั้นจะแยกออกจากกัน โดยจะแบ่งเป็น 2 ภาชนะ ซึ่งในแต่ละภาชนะจะประกอบด้วยขั้วประจุไฟฟ้าที่จุ่มลงไปในสารละลาย ทั้งสองเซลล์จะมีเซลล์หนึ่งที่ทำปฏิกิริยา Oxidation และอีกเซลล์หนึ่งก็ทำปฏิกิริยา Reduction จะแสดงดังภาพข้างล่าง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"141\" src=\"/files/u2726/images_0.jpg\" height=\"82\" style=\"width: 271px; height: 131px\" />\n</p>\n<p>\nเซลล์ไฟฟ้าตัวแรกจะเรียกว่าขั้ว Anode จะมีการเกิดปฏิกิริยา Oxidation ของโลหะสังกะสีซึ่งจะแสดงดังสมการข้างล่าง\n</p>\n<p align=\"center\">\nZn (s) ----------&gt; <span style=\"color: #993300\">Zn<sup>+2</sup></span> (aq) + 2e-\n</p>\n<p>\n<br />\nระหว่างที่เกิดปฏิกิริยา Oxidation ขึ้นที่โลหะสังกะสี ขั้วไฟฟ้าของสังกะสีจะค่อยๆละลายช้าๆ และทำให้เกิดประจุไฟฟ้าของสังกะสีในสารละลาย ที่มีประจุ Zn<sup>+2</sup> (aq) และ SO<sub>4</sub><sup>-2</sup>(aq) ส่วนเซลล์ไฟฟ้าตัวที่สองเรียกว่าขั้ว Cathode จะเกิดปฏิกิริยา Reduction ของโลหะทองแดงขึ้น ซึ่งจะแสดงดังสมการข้างล่าง\n</p>\n<p align=\"center\">\nCu<sup>+2</sup> (aq) + 2e- -------&gt; Cu (s)\n</p>\n<p>\n<br />\n              เมื่อประจุไฟฟ้าของทองแดง(Cu<sup>+2</sup>) เกิดปฏิกิริยา Reduction อะตอมของทองแดงก็จะมากขึ้นและจะเกาะอยู่ที่ผิวของขั้วตัวนำไฟฟ้าทองแดง การเกิด Reduction ของเซลล์แต่ละเซลล์จะเกิดขึ้นได้น้อยมากถ้าหากเซลล์ทั้งสองมีการเชื่อมต่อถึงกันอยู่ <br />\nสำหรับการเกิด ปฏิกิริยา Oxidation นั้นจะต้องเกิดพร้อมๆกับการเกิดปฏิกิริยา Reduction ซี่งจะมีการเชื่อมโยงถึงกัน แต่ถ้าเกิดเราแยกเซลล์ไว้แต่ละเซลล์ ความ ไม่สมดุลย์ทางไฟฟ้าก็จะเกิดขึ้น ที่ขั้วของสังกะสีก็จะเกิดศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก เรียกว่าขั้ว Anode และที่ขั้วของทองแดงก็จะเกิดศักย์ไฟฟ้าเป็นลบ เรียกว่า ขั้ว Cathode ปัญหานี้สามารถที่จะแก้ไขได้โดยการใช้สะพานเกลือ (salt bridge) เชื่อมต่อระหว่าง 2 เซลล์ดังแสดงดังภาพข้างล่าง สะพานเกลือนั้นคือ สิ่งที่ป้องกันที่เกิดขึ้นจากการผสมของสารละลายที่เกิดจากน้ำที่อยู่ในภาชนะนั้นๆ และจะทำการย้ายประจุไฟฟ้าทั้งสองไปในทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าคือไหลจากขั้วบวกมาขั้วลบก็จะหมือนกับการเกิดปฏิกิริยา Oxidation-Reduction จากขั้ว Anode ผ่านสะพานเกลือ จนไปถึงขั้ว Cathode นอกจากนั้นเซลล์ทั้งสองยังสามารถที่จะเชื่อมต่อกับภายนอกได้ ซึ่งในการจัดอิเล็กตรอนสามารถที่จะทำได้โดยการเตรียมปฏิกิริยา Oxidation แล้วทำการให้พลังงานเพื่อให้มันไหลไปตามทิศทางผ่านไปยังวงจรภายนอก และไหลไปหายังปฏิกิริยา Reduction จากที่กล่าวมาแล้ว การเกิดปฏิกิริยาขึ้นเองครั้งละครึ่งเซลล์จะเชื่อมต่อถึงกันและทำให้เกืดพลังงานแตกต่างกันไป ความแตกต่างของพลังงานนี้เราเรียกว่า Electromotive Force(emf) และมีหน่วยวัดที่เรียกว่า Volt เซลล์ของสังกะสีและทองแดงจะมีค่า (emf) อยู่ประมาณ 1.1 Volt เมื่อคิดตามมารฐาน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u2726/fuel-cell1.jpg\" height=\"215\" />\n</p>\n<p>\nอุปกรณ์ที่ได้มีการนำเอาไฟฟ้ามาใช้จะสามารถ &quot; spliced&quot; เข้าไปในวงจรซึ่งอาจจะเกิดพลังงานขึ้นได้โดยการผลิตเซลล์สำหรับที่จะใช้ประโยชน์ในงานนั้นๆ ถึงแม้ว่าพลังงานจะหามาได้จากเซลล์ไฟฟ้าเดี่ยวซึ่งมีพลังงานไม่ค่อยมาก เซลล์ไฟฟ้าเคมีสามารถที่จะเชื่อมต่อกันเข้าเป็นชุดๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพลังงานที่ออกมาทาง Output ให้มากขึ้น โดยทั่วไปเราจะใช้ประโยชน์จากเซลล์ที่นำมาต่อกันเป็น แบตเตอรี่ ตัวอย่างเช่น แบตเตอรี่ตะกั่วที่ใช้กันอยู่ในรถยนต์ และในตะกั่วแบตเตอรี่แต่ละเซลล์ก็จะมีโลหะตะกั่วเป็นขั้ว Anode และมี ตะกั่ว Oxide เป็นขั้ว Cathode ซึ่งทั้งคู่จะจุ่มลงไปในกรดสารละลายกรดซัลฟูริค ( Sulfuric) ไฟฟ้าเคมีประเภทนี้จะมีการผลิตแรงดันไฟฟ้าประมาณ 2 Volt เมื่อนำมาเชื่อมต่อกัน 6 เซลล์ก็จะทำให้เกิดแรงดัน =12 Volt ซึ่งแบตเตอรี่ชนิดนี้ในปัจจุบันจะใช้กันมากในรถยนต์ ยิ่งนานวันอุปกรณ์ชนิดนี้ก็ยิ่งเพิ่มขึ้น เพราะว่ามันเป็นแหล่งกำเนิดของพลังงานที่สามารถที่จะพกพาไปไหนต่อไหนได้สะดวก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726804047, expire = 1726890447, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4e4dbcb4488262448bd91d61972a5fb7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไฟฟ้าเคมี

    เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cells)


ปฏิกิริยา Oxidation-Reduction ส่วนมากจะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจะไม่ให้พลังงาน ตัวอย่างของปฏิกิริยาเหล่านี้คือ การนำโลหะสังกะสีใส่ลงไปในสารละลายที่มีประจุไฟฟ้าทองแดงอยู่โดยจะแสดงดังสมการ

Cu+2 (aq) + Zn (s) -------> Cu(s) + Zn+2 (aq)


โลหะสังกะสีจะค่อยๆละลายช้าๆ เนื่องจากประจุไฟฟ้าของสังกะสีเกิดการ Oxidation เมื่อใส่ลงไปในสารละลาย และในเวลาเดียวกันประจุไฟฟ้าของทองแดงก็ได้รับอิเล็กตรอนและถูกทำให้เป็นอะตอมทองแดง โลหะสังกะสีจะถูกกัดกร่อนและตกตะกอนอยู่ข้างใต้ภาชนะที่ใส่ไว้ พลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะเกิดขึ้นเร็วมาก และจะกระจัดกระจายอยู่ จะอยู่ในรูปของความร้อนและสามารถที่จะนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานไฟฟ้าจ่ายให้กับอุปกรณ์ต่างๆที่ต้องการพลังงานได้ เรียกพลังงานเหล่านั้นว่าไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมีจะประกอบด้วย 2 เซลล์ด้วยกัน ซึ่งเซลล์ทั้งสองนั้นจะแยกออกจากกัน โดยจะแบ่งเป็น 2 ภาชนะ ซึ่งในแต่ละภาชนะจะประกอบด้วยขั้วประจุไฟฟ้าที่จุ่มลงไปในสารละลาย ทั้งสองเซลล์จะมีเซลล์หนึ่งที่ทำปฏิกิริยา Oxidation และอีกเซลล์หนึ่งก็ทำปฏิกิริยา Reduction จะแสดงดังภาพข้างล่าง

 

เซลล์ไฟฟ้าตัวแรกจะเรียกว่าขั้ว Anode จะมีการเกิดปฏิกิริยา Oxidation ของโลหะสังกะสีซึ่งจะแสดงดังสมการข้างล่าง

Zn (s) ----------> Zn+2 (aq) + 2e-


ระหว่างที่เกิดปฏิกิริยา Oxidation ขึ้นที่โลหะสังกะสี ขั้วไฟฟ้าของสังกะสีจะค่อยๆละลายช้าๆ และทำให้เกิดประจุไฟฟ้าของสังกะสีในสารละลาย ที่มีประจุ Zn+2 (aq) และ SO4-2(aq) ส่วนเซลล์ไฟฟ้าตัวที่สองเรียกว่าขั้ว Cathode จะเกิดปฏิกิริยา Reduction ของโลหะทองแดงขึ้น ซึ่งจะแสดงดังสมการข้างล่าง

Cu+2 (aq) + 2e- -------> Cu (s)


              เมื่อประจุไฟฟ้าของทองแดง(Cu+2) เกิดปฏิกิริยา Reduction อะตอมของทองแดงก็จะมากขึ้นและจะเกาะอยู่ที่ผิวของขั้วตัวนำไฟฟ้าทองแดง การเกิด Reduction ของเซลล์แต่ละเซลล์จะเกิดขึ้นได้น้อยมากถ้าหากเซลล์ทั้งสองมีการเชื่อมต่อถึงกันอยู่
สำหรับการเกิด ปฏิกิริยา Oxidation นั้นจะต้องเกิดพร้อมๆกับการเกิดปฏิกิริยา Reduction ซี่งจะมีการเชื่อมโยงถึงกัน แต่ถ้าเกิดเราแยกเซลล์ไว้แต่ละเซลล์ ความ ไม่สมดุลย์ทางไฟฟ้าก็จะเกิดขึ้น ที่ขั้วของสังกะสีก็จะเกิดศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก เรียกว่าขั้ว Anode และที่ขั้วของทองแดงก็จะเกิดศักย์ไฟฟ้าเป็นลบ เรียกว่า ขั้ว Cathode ปัญหานี้สามารถที่จะแก้ไขได้โดยการใช้สะพานเกลือ (salt bridge) เชื่อมต่อระหว่าง 2 เซลล์ดังแสดงดังภาพข้างล่าง สะพานเกลือนั้นคือ สิ่งที่ป้องกันที่เกิดขึ้นจากการผสมของสารละลายที่เกิดจากน้ำที่อยู่ในภาชนะนั้นๆ และจะทำการย้ายประจุไฟฟ้าทั้งสองไปในทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าคือไหลจากขั้วบวกมาขั้วลบก็จะหมือนกับการเกิดปฏิกิริยา Oxidation-Reduction จากขั้ว Anode ผ่านสะพานเกลือ จนไปถึงขั้ว Cathode นอกจากนั้นเซลล์ทั้งสองยังสามารถที่จะเชื่อมต่อกับภายนอกได้ ซึ่งในการจัดอิเล็กตรอนสามารถที่จะทำได้โดยการเตรียมปฏิกิริยา Oxidation แล้วทำการให้พลังงานเพื่อให้มันไหลไปตามทิศทางผ่านไปยังวงจรภายนอก และไหลไปหายังปฏิกิริยา Reduction จากที่กล่าวมาแล้ว การเกิดปฏิกิริยาขึ้นเองครั้งละครึ่งเซลล์จะเชื่อมต่อถึงกันและทำให้เกืดพลังงานแตกต่างกันไป ความแตกต่างของพลังงานนี้เราเรียกว่า Electromotive Force(emf) และมีหน่วยวัดที่เรียกว่า Volt เซลล์ของสังกะสีและทองแดงจะมีค่า (emf) อยู่ประมาณ 1.1 Volt เมื่อคิดตามมารฐาน

อุปกรณ์ที่ได้มีการนำเอาไฟฟ้ามาใช้จะสามารถ " spliced" เข้าไปในวงจรซึ่งอาจจะเกิดพลังงานขึ้นได้โดยการผลิตเซลล์สำหรับที่จะใช้ประโยชน์ในงานนั้นๆ ถึงแม้ว่าพลังงานจะหามาได้จากเซลล์ไฟฟ้าเดี่ยวซึ่งมีพลังงานไม่ค่อยมาก เซลล์ไฟฟ้าเคมีสามารถที่จะเชื่อมต่อกันเข้าเป็นชุดๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพลังงานที่ออกมาทาง Output ให้มากขึ้น โดยทั่วไปเราจะใช้ประโยชน์จากเซลล์ที่นำมาต่อกันเป็น แบตเตอรี่ ตัวอย่างเช่น แบตเตอรี่ตะกั่วที่ใช้กันอยู่ในรถยนต์ และในตะกั่วแบตเตอรี่แต่ละเซลล์ก็จะมีโลหะตะกั่วเป็นขั้ว Anode และมี ตะกั่ว Oxide เป็นขั้ว Cathode ซึ่งทั้งคู่จะจุ่มลงไปในกรดสารละลายกรดซัลฟูริค ( Sulfuric) ไฟฟ้าเคมีประเภทนี้จะมีการผลิตแรงดันไฟฟ้าประมาณ 2 Volt เมื่อนำมาเชื่อมต่อกัน 6 เซลล์ก็จะทำให้เกิดแรงดัน =12 Volt ซึ่งแบตเตอรี่ชนิดนี้ในปัจจุบันจะใช้กันมากในรถยนต์ ยิ่งนานวันอุปกรณ์ชนิดนี้ก็ยิ่งเพิ่มขึ้น เพราะว่ามันเป็นแหล่งกำเนิดของพลังงานที่สามารถที่จะพกพาไปไหนต่อไหนได้สะดวก

 

 

 

 

สร้างโดย: 
ครูีรัชนี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 526 คน กำลังออนไลน์