• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:191c1116d67aa35dc73f594c8e7f81d9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" width=\"448\" src=\"/files/u2719/Puppet_Ministry.jpg\" height=\"336\" />\n</p>\n<p>\nหุ่นคืออะไร<br />\n            ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕อธิบายว่าหุ่น  น. รูป,รูปแบบ,ตุ๊กตาที่จำลองมาจากของจริง;รูปปั้นหรือแกะสลักที่;ชื่อการเล่นมหรสพที่ใช้รูปหุ่นแสดงเป็นเรื่องราว” ฉะนั้นหุ่นก็คือการเล่นมหรสพที่ใช้รูปจำลองเหมือนของจริงหรือรูปตุ๊กตาแสดงแทนตัวคนและเคลื่อนได้ด้วยการเชิดหรือชักหรือบังคับ<br />\nความเป็นมาของหุ่น<br />\n             มีหลักฐานบางอย่างบอกว่า  หุ่นเป็นมหรสพประจำชาติของเกือบทุกประเทศในโลก  ไม่ว่าจะอยู่ทางซีกโลกตะวันตกหรือตะวันออก  หุ่นมาเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่๑๖-๑๗โดยมีอิตาลีเป็นศูนย์กลางไปทั่วยุโรปจนถึงปัจจุบัน เกือบทั่วโลกรวมทั้งจีน  ญี่ปุ่น  ชวา  ลังกา  มอญ  ลาว  และไทย<br />\n  \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u2719/china.jpg\" height=\"286\" /> <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u2719/indonesia.jpg\" height=\"286\" /><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u2719/japan.jpg\" height=\"286\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.youtube.com/watch?v=bSmK9WYTpXY&amp;feature=related\">http://www.youtube.com/watch?v=bSmK9WYTpXY&amp;feature=related</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nการกำเนิดหุ่นของโลก<br />\n              นาย สน   สีมาตรัง ได้บันทึกไว้ในเรื่องหุ่นไทยโดยสันนิษฐานว่าการแสดงหุ่นมาจากเหตุจูงใจสองประการคือ<br />\n              ๑.เกิดจากจินตนาการของประติมากรในสมัยโบราณ   ศิลปกรรมที่นิยมสร้างเป็นรูปเหมือนเช่น รูปปั้นคน  สัตว์และสิ่งของ  รูปเหล่านี้เป็นรูปนิ่งเคลื่อนไหวไม่ได้  ประติมากรอาจจินตนาการไปว่า  เมื่อปั้นรูปเหมือนแล้วก็ควรให้เคลื่อนไหวได้เหมือนคนจริงด้วย    ด้วยเหตุนี้จึงคิดประดิษฐ์กลไกในตัวหุ่นให้เคลื่อนไหวตามต้องการ             <br />\n               ๒.เป็นพัฒนาการแสดงของคนจริง       การมหรสพที่ใช้คนจริงนั้นเป็นมหรสพที่เก่าแก่อาจซ้ำซากจำเจหรือมีคณะมหรสพที่ใช้คนจริงแสดงจนเกิดการแข่งขัน  เพื่อการประหยัดและได้ประโยชน์สูงสุด   ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงคิดพัฒนาการแสดงของคนจริงมาเป็นการแสดงหุ่น   เป็นการแสดงที่แปลกตาและให้ความเพลิดเพลินไม่น้อยกว่าใช้คนจริงจึงได้รับความสำเร็จเป็นที่นิยมเรื่อยมา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"227\" src=\"/files/u2719/19508.jpg\" height=\"448\" /><img border=\"0\" width=\"324\" src=\"/files/u2719/zombie_20puppet.jpg\" height=\"388\" style=\"width: 296px; height: 367px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u2719/caa9_1.jpg\" height=\"400\" /> <img border=\"0\" width=\"327\" src=\"/files/u2719/a4f6c566.jpg\" height=\"448\" /><img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u2719/hand-puppet-01.jpg\" height=\"340\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small\">ประเภทของหุ่น</span></strong><br />\n             โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น  ๔  ประเภทด้วยกันได้แก่<br />\n        ๑.หุ่นที่มีสายบังคับจากด้านบน   หุ่นแบบนี้จะมีรูปร่างหน้าตา  แขนขาเหมือนคนจริง  เพียงแต่มีขนาดเล็กลงมาเหมือนตุ๊กตา  โรงหุ่นก็จำลองลงมาให้มีขนาดสัมพันธ์กับตัวหุ่น  คนบังคับจะอยู่เหนือโรงบังคับด้วยสายที่ผูกติดกับอวัยวะต่างๆของตัวหุ่นห้อยลงมา  นิยมเล่นกันในแถบทวีปยุโรป<br />\n        ๒.หุ่นที่บังคับด้วยมือ    คือตัวหุ่นจะสร้างไว้สำหรับให้มือคนเชิดล้วงเข้าไปบังคับตัวหุ่นให้เคลื่อนไหวตามต้องการ   นิยมเล่นในทวีปยุโรปเช่นกัน<br />\n        ๓.หุ่นที่บังคับด้วยก้านไม้และสายโยงใย   หุ่นประเภทนี้คล้ายกับประเภทที่ ๑<br />\nรวมทั้งฉากก็เช่นกัน  ต่างกันที่กลไกบังคับ  หุ่นแบบนี้มีก้านไม้เสียบติดตัวเป็นแกนอยู่ทางเบื้องล่าง  มีสายระโยงรยางค์ต่อติดกับอวัยวะต่างๆ  นิยมเล่นทั้งในยุโรปคับและเอเชีย<br />\n       ๔.หุ่นหนัง   ตัวหุ่นจะสร้างด้วยแผ่นหนังสัตว์  แผ่นกระดาษหรือแผ่นกระดาน  <br />\nทำให้หุ่นแบบนี้ตัวแบนและมีลวดลายฉลุอยู่บนตัวหุ่น   การบังคับทำได้หลายวิธี เช่น   ใช้ก้านไม้ติดตรึงกับตัวหุ่น  ส่วนคนเชิดจะชูตัวหุ่นไว้เหนือหัวและเต้นพลางเชิดพลางไปตามดนตรีและบทขับร้องเช่นหุ่นหนังใหญ่ของไทย  บางวิธียังบังคับให้หุ่นเคลื่อนไหวโดยคนเชิดอยู่ด้านหลังของหุ่นเช่นหนังตะลุงของไทยและหุ่นหนังของชาวอินโดนีเซีย      ในการแสดงจะต้องมีจอผ้าขาวและให้แสงสว่างอยู่เบื้องหลังเพื่อให้เกิดเงาของหุ่นปรากฏอยู่บนจอ    หุ่นแบบนี้มีแต่ในประเทศแถบซีกโลกตะวันออกเท่านั้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<br />\n                                                                   <strong><span style=\"font-size: large; color: #ff0000; font-family: book antiqua,palatino; background-color: #000000\"> หุ่นไทย</span></strong>\n</p>\n<p>\nการสร้างหุ่นเป็นงานศิลปะที่รวบรวมฝีมือและความประณีตศิลป์อันวิจิตรหลายประเภทเข้าไว้ด้วยกัน    มีทั้งงานจิตรกรรม  ประติมากรรม<br />\nและมัณฑนศิลป์   ผู้สรรสร้างจะต้องมีความรอบรู้ในวรรณศิลป์ และนาฏดุริยางคศิลป์เป็นอย่างดี\n</p>\n<p>\nหุ่นไทยเป็นศิลปหัตถกรรมอย่างหนึ่งของคนไทยแสดงให้เห็นความเป็นคนช่างคิดประดิษฐ์สร้าง และความสามารถในเชิงศิลปะของคนไทย  ความประณีตงดงามที่ปรากฏอยู่บนตัวหุ่น  รูปร่าง  หน้าตา  การแต่งกายและการประดับประดาต่างๆ  เป็นสัญลักษณ์ของขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของคนไทยสมัยโบราณด้วย<br />\n  <img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u2719/MG_6690.jpg\" height=\"381\" />\n</p>\n<p>\n                                                                        <span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; background-color: #000000\">หุ่นละครเล็ก</span><br />\n           หุ่นละครเล็กเป็นมหรสพชาวบ้าน  สร้างขึ้นจากภูมิปัญญาชาวบ้านโดยพ่อครูแกร  โดยมาจากการเรียนแบบหุ่นหลวง  ทั้งรูปร่างหน้าตา  และขนาดของตัวหุ่น  สูงประมาณ ๑ เมตรเช่นเดียวกัน ใช้เครื่องแต่งกายแบบโขนละครจริง  ต่างกันที่กลไกการบังคับหุ่นและลีลาการเชิดหุ่น  ที่มีเอกลักษณ์ลีลาการเคลื่อนไหวเหมือนมีชีวิต  ซึ่งเกิดจากการผสมผสานศิลปะหลายแขนง  อาทิ  การเชิดหุ่น  โขน  และละคร\n</p>\n<p>\n<br />\n                                                <strong><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; font-family: book antiqua,palatino; background-color: #000000\">Hun  La  Korn  Lek  -  Thai  puppet<br />\n</span></strong>           Hun  La  Korn  Lek, Thai  puppet, was village performing arts created with village knowledge. “Por Krue Graa” was the first person who became interested in and initiateed to make them. He applied them from Hun Luang, including figures and looks. They were 1 metre in height and dressed up as Khon. By the way, they were lively moved with various artistic skills such as in Khon and Drama, including puppet compelling tricks\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" align=\"bottom\" width=\"329\" src=\"/files/u2719/rojana1.jpg\" height=\"262\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                                           <strong><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; background-color: #000000\">หุ่นกระบอก<br />\n</span></strong>              หุ่นเป็นมหรสพชนิดของไทยที่ใช้รูปจำลองเหมือนของจริง  หรือใช้ตุ๊กตาแสดงแทนตัวคน  และเคลื่อนไหวได้ด้วยการเชิดชักหรือบังคับ  การเล่นหุ่นกระบอกของไทยมีมาเนิ่นนานได้รับอิทธิพลมาจากหุ่นของจีนแบบหนึ่งที่เรียกว่า  “หุ่นไหหลำ”  แต่นำมาประยุกต์ดัดแปลงให้เหมาะแก่ความนิยมของคนไทย\n</p>\n<p>\n                                                                       <strong><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; font-family: book antiqua,palatino; background-color: #000000\">Hun kra bog<br />\n</span></strong>            Puppeting is one type of famous plays in which the puppet was used to imitate a man in movement and action. They are made to move by an act of compelling. Thai puppets had been influenced by Chinese puppets called “Hai-Lam puppets”, and was applied to Thai prefermance.<br />\n \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u2719/hoonluang_j4.jpg\" height=\"280\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n    <br />\n                                                                       <strong><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; background-color: #000000\">หุ่นหลวง</span></strong><br />\n               หุ่นหลวงถือเป็นการแสดงหุ่นที่มีกำเนิดมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น  ในสมัยพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ได้เอ่ยถึงหลวงทิพยนต์ช่างหุ่น เป็นตำแหน่งช่างหุ่นในช่างสิบหมู่ และในสมัยกรุงธนบุรีก็มีกล่าวถึงขุนทิพยนต์ซึ่งมีหน้าที่เชิดหุ่น จึงสันนิษฐานว่าอาจมีทิพยนต์คนใดคนหนึ่งในสมัยอยุธยาตอนต้นคิดทำตัวหุ่นเลียนแบบตัวละครที่แสดงในสมัยนั้น และนำออกแสดงเป็นเรื่องราว กลไกสายใยในตัวหุ่นอาจได้ความคิดมาจากการผูกหุ่นพยนต์  และลีลาการเชิดก็เลียนแบบหนังใหญ่ในสมัยนั้น จนกระทั่งสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย  หุ่นแบบนี้มีขนาดสูงใหญ่ถึง  ๑  เมตร  เป็นการเลียนแบบทั้งรูปร่างและลักษณะคนจริง มีแขนขาครบองค์  ภายใน<br />\nตัวหุ่นกลวงและเต็มไปด้วยกลไกเป็นสายโยงใยมากมายไปตามท่อนแขนจนนิ้วมือและท่อนขาของหุ่น<br />\n  สามารถเชิดชักให้แขนขาหน้าตาเคลื่อนไหวได้   ส่วนการเชิดนั้นสันนิษฐานว่าต้องใช้คนถึงสองสามคน  นอกจากนี้ยังเลียนแบบศิลปะการแสดงโขนละครทุกอย่าง  รวมทั้งเครื่องแต่งกาย  ลีลาท่ารำแม้กระทั่งหัวโขนก็สามารถถอดเข้าถอดออกได้เช่นของจริง\n</p>\n<p>\n                                                                     <strong><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; font-family: book antiqua,palatino; background-color: #000000\">Hun Luang</span></strong>\n</p>\n<p>\n          The largest of all the Thai puppets at around 1 metre,the hun luang or large court puppets,only performed in court and generally at funeral ceremonies.They may have been performed sometime in the Ayutthaya period but undoubtedly their greatest revival came during the reigns of Kings Rama I and and Rama V.<br />\n           Hun luang heads those carved from wood and those made of papier mache.The hollowed out wooden heads are crafted complete with neck and headdress.After being covered with a layer of “sa”paper,the features are painted on and,if they are important characters,highlighted with fine gold lines.<br />\nThe papier mache heads are made in much the same way as the Khon masks.Hun luang have 11 strings attached to various parts of their bodies.<br />\n           The costumes of the hun luang are modeled after the khon performers costumes,being elaborately embroidered and bedecked with gem encrusted ornaments.The most complicated of the Thai puppets,Hun luang performances no longer take place today because no one can manipulate them and the remaining hun luang once used in the courts are only for display.\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"268\" src=\"/files/u2719/Hun3.jpg\" height=\"448\" /><img border=\"0\" width=\"275\" src=\"/files/u2719/Hun4.jpg\" height=\"448\" /><br />\n                                                                   <strong><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; background-color: #000000\">หุ่นเล็กหรือหุ่นวังหน้า</span></strong><br />\n             คือแบบที่สร้างขึ้นโดยกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ความคิดมาจากการแสดงหุ่นและรูปหุ่นจีนในเมืองไทย  ลักษณะตัวหุ่นตลอดจนเครื่องแต่งกายก็เป็นแบบงิ้วจีน  โปรดให้หัดแสดงกันในบรรดาข้าราชการวังหน้า  เรื่องที่เล่นก็เป็นเรื่องของจีน เช่น ซวยงัก  หลวงจีนเจ้าชู้  ต่อมาจึงโปรดให้คิดสร้างหุ่นไทยรามเกียรติ์ขึ้นมาอีกชุดหนึ่ง  มีขนาดเล็กลงมาเหลือเพียง  ๑  ฟุต  แต่กลไกภายในที่ใช้เชิดชักหรือบังคับก็เช่นเดียวกับหุ่นหลวง มีก้านไม้เสียบทะลุตัวหุ่นอยู่ข้างล่าง  การเชิดใช้คนเชิดเพียงคนเดียวต่อหุ่นหนึ่งตัว  เรื่องที่เล่นก็มีทั้ง<br />\nละครนอกและละครใน\n</p>\n<p>\n                                                            <span style=\"font-family: book antiqua,palatino\"><strong><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; background-color: #000000\">Hun</span></strong><strong><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff; background-color: #000000\"> Lek</span></strong></span>       \n</p>\n<p>\n        During the reign of King Rama V,Krom Phra Rachawang Boworn Vichaicharn,the Viceroy of the fifth Reign ordered the creation of Chinese puppets by Chinese artisans living in Bangkok to be performed to the Thai public.At a little over 37 cm,the puppets wore Chinese opera costumes and performed scenes from Chinese literature.The puppets mechanisms were modeled on those of the hun luang or large court puppets,with a sophisticated system of some 16 attached strings.The first puppets were completed in 1878 and the last performance was in 1886.Today these puppets,which have been named Hun Krom Phra Rachawang Boworn Vichaicharn,can be seen at the national Museum in Bangkok.<br />\n          Each puppet is carved from soft wood and is hollow allowing the strings to pass down the middle.The waist is,made of a coiled strip of  rattan,connecting the chest to the hips allowing the puppet to turn and bend realistically.The arms of the puppet are divided into three separate parts.<br />\n          The strings attached to the wrist are then threaded upwards inside the hollowed out arms and onto the central wooden support which runs down the torso.From various points of this central support,the strings are adjoined to specific body parts.<br />\n          Puppeteers hold the support in one hand and manipulate the strings with the other by slipping the rings at the end of the strings over their fingers. </p>\n<p><a href=\"http://www.anurakthai.com/\">http://www.anurakthai.com/</a></p>\n<p>                                                                                       แหล่งที่มา : &quot;หุ่นไทย&quot;  อ. จักรพันธุ์   โปษยกฤต\n</p>\n', created = 1715903748, expire = 1715990148, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:191c1116d67aa35dc73f594c8e7f81d9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หุ่น ดี๊ ดี...ว้าวว

หุ่นคืออะไร
            ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕อธิบายว่าหุ่น  น. รูป,รูปแบบ,ตุ๊กตาที่จำลองมาจากของจริง;รูปปั้นหรือแกะสลักที่;ชื่อการเล่นมหรสพที่ใช้รูปหุ่นแสดงเป็นเรื่องราว” ฉะนั้นหุ่นก็คือการเล่นมหรสพที่ใช้รูปจำลองเหมือนของจริงหรือรูปตุ๊กตาแสดงแทนตัวคนและเคลื่อนได้ด้วยการเชิดหรือชักหรือบังคับ
ความเป็นมาของหุ่น
             มีหลักฐานบางอย่างบอกว่า  หุ่นเป็นมหรสพประจำชาติของเกือบทุกประเทศในโลก  ไม่ว่าจะอยู่ทางซีกโลกตะวันตกหรือตะวันออก  หุ่นมาเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่๑๖-๑๗โดยมีอิตาลีเป็นศูนย์กลางไปทั่วยุโรปจนถึงปัจจุบัน เกือบทั่วโลกรวมทั้งจีน  ญี่ปุ่น  ชวา  ลังกา  มอญ  ลาว  และไทย
  

 

http://www.youtube.com/watch?v=bSmK9WYTpXY&feature=related

 

การกำเนิดหุ่นของโลก
              นาย สน   สีมาตรัง ได้บันทึกไว้ในเรื่องหุ่นไทยโดยสันนิษฐานว่าการแสดงหุ่นมาจากเหตุจูงใจสองประการคือ
              ๑.เกิดจากจินตนาการของประติมากรในสมัยโบราณ   ศิลปกรรมที่นิยมสร้างเป็นรูปเหมือนเช่น รูปปั้นคน  สัตว์และสิ่งของ  รูปเหล่านี้เป็นรูปนิ่งเคลื่อนไหวไม่ได้  ประติมากรอาจจินตนาการไปว่า  เมื่อปั้นรูปเหมือนแล้วก็ควรให้เคลื่อนไหวได้เหมือนคนจริงด้วย    ด้วยเหตุนี้จึงคิดประดิษฐ์กลไกในตัวหุ่นให้เคลื่อนไหวตามต้องการ            
               ๒.เป็นพัฒนาการแสดงของคนจริง       การมหรสพที่ใช้คนจริงนั้นเป็นมหรสพที่เก่าแก่อาจซ้ำซากจำเจหรือมีคณะมหรสพที่ใช้คนจริงแสดงจนเกิดการแข่งขัน  เพื่อการประหยัดและได้ประโยชน์สูงสุด   ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงคิดพัฒนาการแสดงของคนจริงมาเป็นการแสดงหุ่น   เป็นการแสดงที่แปลกตาและให้ความเพลิดเพลินไม่น้อยกว่าใช้คนจริงจึงได้รับความสำเร็จเป็นที่นิยมเรื่อยมา

 

 

 

 

 

ประเภทของหุ่น
             โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น  ๔  ประเภทด้วยกันได้แก่
        ๑.หุ่นที่มีสายบังคับจากด้านบน   หุ่นแบบนี้จะมีรูปร่างหน้าตา  แขนขาเหมือนคนจริง  เพียงแต่มีขนาดเล็กลงมาเหมือนตุ๊กตา  โรงหุ่นก็จำลองลงมาให้มีขนาดสัมพันธ์กับตัวหุ่น  คนบังคับจะอยู่เหนือโรงบังคับด้วยสายที่ผูกติดกับอวัยวะต่างๆของตัวหุ่นห้อยลงมา  นิยมเล่นกันในแถบทวีปยุโรป
        ๒.หุ่นที่บังคับด้วยมือ    คือตัวหุ่นจะสร้างไว้สำหรับให้มือคนเชิดล้วงเข้าไปบังคับตัวหุ่นให้เคลื่อนไหวตามต้องการ   นิยมเล่นในทวีปยุโรปเช่นกัน
        ๓.หุ่นที่บังคับด้วยก้านไม้และสายโยงใย   หุ่นประเภทนี้คล้ายกับประเภทที่ ๑
รวมทั้งฉากก็เช่นกัน  ต่างกันที่กลไกบังคับ  หุ่นแบบนี้มีก้านไม้เสียบติดตัวเป็นแกนอยู่ทางเบื้องล่าง  มีสายระโยงรยางค์ต่อติดกับอวัยวะต่างๆ  นิยมเล่นทั้งในยุโรปคับและเอเชีย
       ๔.หุ่นหนัง   ตัวหุ่นจะสร้างด้วยแผ่นหนังสัตว์  แผ่นกระดาษหรือแผ่นกระดาน 
ทำให้หุ่นแบบนี้ตัวแบนและมีลวดลายฉลุอยู่บนตัวหุ่น   การบังคับทำได้หลายวิธี เช่น   ใช้ก้านไม้ติดตรึงกับตัวหุ่น  ส่วนคนเชิดจะชูตัวหุ่นไว้เหนือหัวและเต้นพลางเชิดพลางไปตามดนตรีและบทขับร้องเช่นหุ่นหนังใหญ่ของไทย  บางวิธียังบังคับให้หุ่นเคลื่อนไหวโดยคนเชิดอยู่ด้านหลังของหุ่นเช่นหนังตะลุงของไทยและหุ่นหนังของชาวอินโดนีเซีย      ในการแสดงจะต้องมีจอผ้าขาวและให้แสงสว่างอยู่เบื้องหลังเพื่อให้เกิดเงาของหุ่นปรากฏอยู่บนจอ    หุ่นแบบนี้มีแต่ในประเทศแถบซีกโลกตะวันออกเท่านั้น

 

 

สร้างโดย: 
อ.พุฒินันทน์ นาคบุตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 248 คน กำลังออนไลน์