• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0ef7a595ff78f00192f44db4d3056ba3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><u>การตั้งชื่อเซลและการใช้สูตร</u></strong>\n</p>\n<p>\n                 ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นั้น ได้อธิบายว่าเซลต่างๆในเวิร์กชีตจะมีชื่อเรียกว่า Cell reference หรือ &quot;ชื่อเดิม&quot; ของเซลอยู่ทุกๆเซล ซึ่งชื่อนี้จะประกอบไปด้วยชื่อคอลัมนและแถวของเซลนัน้มารวมกัน เช่น เซลที่อยู่ตรงคอลัมน์ F แถวที่ 8 ก็จะเรียกว่าเซล F8 แต่ในการทำงานจริงบางครั้งจำเป็นต้องตั้งชื่อเซลให้สื่อความหมายมากกว่านี้ เพื่อให้นำไปใช้งานได้ง่ายและสะดวกขึ้น เช่น ถ้ามีเซลอยู่กลุ่มหนึ่งซึ่งเก็บจำนวนเงินที่นำเข้าสินค้าเดือนกุมภาพันธุ์ แทนที่จะเรียก &quot;E5:E8&quot; แต้ถ้าเราตั้งว่า Feb หรือ ก.พ. ก็น่าจะเข้าใจมากกว่า\n</p>\n<p>\n<br />\nตั้งชื่อใหม่ให้เซลหรือกลุ่มเซล  <br />\nตั้งชื่ออัตโนมัติจากหัวคอลัมน์หรือหัวแถว \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><u>ตั้งชื่อเซลโดยใช้ กล่องชื่อ ( Name box )  <br />\n</u></strong>     วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการตั้งชื่อเซลหรือกลุ่มเซลเพียงกลุ่มเดียว เพราะคุณสามารถจะพิมพ์ชื่อเข้าไปในช่อง name box (กล่องชื่อ) ได้ทันที   ( วิธีนี้ใช้ตั้งชื่อเซลได้อย่างเดียว แต่จะลบหรือเปลี่ยนชื่อไม่ได้ )  <br />\n1. เลือกเซลหรือกลุมเซลที่ต้องการตั้งชื่อเป็นชื่อเดียวกัน  <br />\n2. คลิกที่ช่อง name box (กล่องชื่อ) พิมพ์ชื่อหรือกลุ่มเซล  <br />\n3. เสร็จแล้วกด Enter \n</p>\n<p>\n<strong><u>การดูผลลัพธ์จากแถบสถานะ<br />\n</u></strong>1. เลือกกลุ่มเซลที่ต้องการนำมาคำนวรค่า  <br />\n2. คลิกขวาบนแถบ Status ( สถานะ ) แล้วเลือกผลลัพธ์ที่ต้องการจากเมนูลัดซึ่งจะประกอบด้วย  <br />\n    None (ไม่มี) ไม่ต้องคำนวณหาผลลัพธ์ใดๆเลย  <br />\n    Average (ค่าเฉลี่ย) หาค่าเแลี่ยของตัวเลข  <br />\n    Count (จำนวนนับ) นับจำนวนเวลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้  <br />\n    Count Nums (นับเฉพาะสิ่งที่เป้นตัวเลข) นับจำนวนเซลที่เป็นตัวเลข  <br />\n    Max (ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก  <br />\n    Min (ค่าน้อยที่สุด) หาค่าต่ำสุดจากทุกๆเซลที่เลือก  <br />\n    Sum (ผลรวม) หาผลรวมของตัวเลข\n</p>\n<p>\n<strong><u>ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์</u></strong>  <br />\n <br />\nOpertor  ความหมาย  ตัวอย่างการใช ้  <br />\n+  บวก  4+7  <br />\n-  ลบ  15-3 หรือ -6  <br />\n*  คูณ  8*3.5  <br />\n/  หาร  9/4  <br />\n%  เปอร์เซ็นต์  3%(มีค่าเท่ากับ 0.03)  <br />\n^  ยกกำลัง  2^3(หมายถึง 2 ยกกำลัง3)  <br />\n <br />\n<strong><u>ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ</u></strong>  <br />\n <br />\nOperator  ความหมาย  ตัวอย่างการใช ้  <br />\n=  เท่ากับ  A1= B1  <br />\n&gt;  มากกว่า  A1&gt; B1  <br />\n&lt;  น้อยกว่า  A1&lt; B1  <br />\n&gt;=  มากกว่าหรือเท่ากับ  A1&gt;= B1  <br />\n&lt;=  น้อยกว่าหรือเท่ากับ  A1&lt;= B1  <br />\n&lt;&gt;  ไม่เท่ากับ  A1&lt;&gt; B1  <br />\n <br />\n<strong><u>ตัวดำเนินการกับข้อความ ( Text Operator )</u></strong>  <br />\n <br />\n     <br />\nข้อความในที่นี้อาจเป็นตัวอักษรเพียงตัวเดียว ข้อความทั้งประโยค หรือข้อความที่ไม่มีตัวอักษรอะไรเลยก็ได้ (null string ) ซึ่งเวลาเขียนจะใช้เครื่องหมายคำพูดปิดและเปิดติดกันดังนี้ &quot; &quot;  <br />\n <br />\nOperator  ความหมาย  ตัวอย่างการใช ้  <br />\n&amp;  นำข้อความตั้งแต่ 2 ข้อความข้อความขึ้นไปมาต่อเป็นข้อความเดียวกัน  &quot;บริษัท&quot;&amp; &quot;อาหารไทย&quot; หรือ A1&amp;B1&amp; C1  <br />\n <br />\nระดับความสำคัญ  <br />\n     Opertor แต่ละตัวมีระดับความสำคัญไม่เท่ากัน เช่น เราใส่สูตร =2+3*5 โดยเราต้องการใหโปรแกรมนำ 2+5 (ได้5) แล้วนำไปคูณกับ 5 จะได้เป็น 25 แต่เครื่องหมายคูณ* มีระดับความสำคัญสูงกว่าบวก + โปรแกมจึงนำ3*5 ก่อน(ได้15) แล้วจึงบวกกับ 2 ได้เป็น 17 วิธีที่จะบังคับให้ Excel คิดเหมือนที่เรา ก็คือใส่ ( ) คร่อมส่วนที่ต้องการคำนวณก่อนเป็น =(2+3)*5 เท่านี้ก็ได้คำตอบที่ถูกต้องแน่นอน <br />\n <br />\n     <br />\n     ตารางต่อไปนี้จะแสดงระดบความสำคัญของ Opertor ต่างๆจากมากไปน้อย โดย Opertor ที่มีระดับความสำคัญสูงจะถูกคำนวณก่อน และถ้ามี opertor ที่มีระดับความสำคัญเดียวกันในสูตร Excel จะคำนวณจากซ้ายไปขวาทีละตัว  <br />\n <br />\n<strong><u>ระดับ  Opertor  หมายเหตุ</u></strong>  <br />\n1  -  คือเครื่องหมายที่แสดงค่าลบของตัวเลข เช่น 2  <br />\n2  %  เปอร์เซ็นต์  <br />\n3  ^  ยกกำลัง  <br />\n4  * และ /  คูณ และหาร  <br />\n5  + และ -  บาก และลบ  <br />\n6  &amp;  นำข้อความตั้งแต่2ข้อความขึ้นไปมาต่อกันเป็ฯข้อความเดียว  <br />\n7  = &lt; &gt; &lt;= =&gt; &lt;&gt;  ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ \n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><u>พิมพ์สูตรคำนวณด้วยตัวเอง</u></strong>  <br />\n     วิธีที่ง่ายที่สุดในการสร้างสูตรก็คือพิมพ์ทุกอย่างลงไปเอง ไม่ว่าจะเป็นชื่อเซล ตัวเลข หรือเครื่องหมายคำนวณต่างๆ  <br />\n1. คลิกเลือกเซลที่จะใส่สูตรคำนวณ  <br />\n2. พิมพ์เครื่องหมาย =  <br />\n3. พิมพ์สูตรโดยใช้ชื่อเซล หรือตำแหน่งเซล  <br />\n4. กด Enter ก็ขะได้ผลลัพธ์ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><u>ฟังก์ชั่นและสูตรคำนวณ</u></strong> \n</p>\n<p>\nฟังก์ชั่นถ้าเราจะกล่าวถึงก็เหมือนกับว่าเป็น Operand ตัวหนึ่ง โดยในสูตรอาจประกอบไปด้วยฟังก์ชั่นอย่างเดียว เช่น AVERAGE( A2:A5:B12 )ซึ่งเป็นการหาค่าเฉลี่ยของตัวเลขในเซล 3 เซลในวงเล็บ หรืออาจมีฟังก์ชั่นปนกับข้อมูลอื่น เช่น =B4/SUM( D5:F5) คือให้นำผลรวมของเซล D5 ถึง F5 ไปหารค่าในเซล B4  <br />\nสำหรับอาร์กิวเมนต์ที่เป็นชื่อเซล จะพิมพ์ลงไปเองหรือคลิกเมาส์เลือกก็ได้ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720391747, expire = 1720478147, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0ef7a595ff78f00192f44db4d3056ba3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Microsoft Excell / m4 / 2-2551

 

การตั้งชื่อเซลและการใช้สูตร

                 ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นั้น ได้อธิบายว่าเซลต่างๆในเวิร์กชีตจะมีชื่อเรียกว่า Cell reference หรือ "ชื่อเดิม" ของเซลอยู่ทุกๆเซล ซึ่งชื่อนี้จะประกอบไปด้วยชื่อคอลัมนและแถวของเซลนัน้มารวมกัน เช่น เซลที่อยู่ตรงคอลัมน์ F แถวที่ 8 ก็จะเรียกว่าเซล F8 แต่ในการทำงานจริงบางครั้งจำเป็นต้องตั้งชื่อเซลให้สื่อความหมายมากกว่านี้ เพื่อให้นำไปใช้งานได้ง่ายและสะดวกขึ้น เช่น ถ้ามีเซลอยู่กลุ่มหนึ่งซึ่งเก็บจำนวนเงินที่นำเข้าสินค้าเดือนกุมภาพันธุ์ แทนที่จะเรียก "E5:E8" แต้ถ้าเราตั้งว่า Feb หรือ ก.พ. ก็น่าจะเข้าใจมากกว่า


ตั้งชื่อใหม่ให้เซลหรือกลุ่มเซล 
ตั้งชื่ออัตโนมัติจากหัวคอลัมน์หรือหัวแถว 

 

ตั้งชื่อเซลโดยใช้ กล่องชื่อ ( Name box ) 
     วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการตั้งชื่อเซลหรือกลุ่มเซลเพียงกลุ่มเดียว เพราะคุณสามารถจะพิมพ์ชื่อเข้าไปในช่อง name box (กล่องชื่อ) ได้ทันที   ( วิธีนี้ใช้ตั้งชื่อเซลได้อย่างเดียว แต่จะลบหรือเปลี่ยนชื่อไม่ได้ ) 
1. เลือกเซลหรือกลุมเซลที่ต้องการตั้งชื่อเป็นชื่อเดียวกัน 
2. คลิกที่ช่อง name box (กล่องชื่อ) พิมพ์ชื่อหรือกลุ่มเซล 
3. เสร็จแล้วกด Enter 

การดูผลลัพธ์จากแถบสถานะ
1. เลือกกลุ่มเซลที่ต้องการนำมาคำนวรค่า 
2. คลิกขวาบนแถบ Status ( สถานะ ) แล้วเลือกผลลัพธ์ที่ต้องการจากเมนูลัดซึ่งจะประกอบด้วย 
    None (ไม่มี) ไม่ต้องคำนวณหาผลลัพธ์ใดๆเลย 
    Average (ค่าเฉลี่ย) หาค่าเแลี่ยของตัวเลข 
    Count (จำนวนนับ) นับจำนวนเวลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้ 
    Count Nums (นับเฉพาะสิ่งที่เป้นตัวเลข) นับจำนวนเซลที่เป็นตัวเลข 
    Max (ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก  
    Min (ค่าน้อยที่สุด) หาค่าต่ำสุดจากทุกๆเซลที่เลือก 
    Sum (ผลรวม) หาผลรวมของตัวเลข

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ 
 
Opertor  ความหมาย  ตัวอย่างการใช ้ 
+  บวก  4+7 
-  ลบ  15-3 หรือ -6 
*  คูณ  8*3.5 
/  หาร  9/4 
%  เปอร์เซ็นต์  3%(มีค่าเท่ากับ 0.03) 
^  ยกกำลัง  2^3(หมายถึง 2 ยกกำลัง3) 
 
ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ 
 
Operator  ความหมาย  ตัวอย่างการใช ้ 
=  เท่ากับ  A1= B1 
>  มากกว่า  A1> B1 
<  น้อยกว่า  A1< B1 
>=  มากกว่าหรือเท่ากับ  A1>= B1 
<=  น้อยกว่าหรือเท่ากับ  A1<= B1 
<>  ไม่เท่ากับ  A1<> B1 
 
ตัวดำเนินการกับข้อความ ( Text Operator ) 
 
    
ข้อความในที่นี้อาจเป็นตัวอักษรเพียงตัวเดียว ข้อความทั้งประโยค หรือข้อความที่ไม่มีตัวอักษรอะไรเลยก็ได้ (null string ) ซึ่งเวลาเขียนจะใช้เครื่องหมายคำพูดปิดและเปิดติดกันดังนี้ " " 
 
Operator  ความหมาย  ตัวอย่างการใช ้ 
&  นำข้อความตั้งแต่ 2 ข้อความข้อความขึ้นไปมาต่อเป็นข้อความเดียวกัน  "บริษัท"& "อาหารไทย" หรือ A1&B1& C1 
 
ระดับความสำคัญ 
     Opertor แต่ละตัวมีระดับความสำคัญไม่เท่ากัน เช่น เราใส่สูตร =2+3*5 โดยเราต้องการใหโปรแกรมนำ 2+5 (ได้5) แล้วนำไปคูณกับ 5 จะได้เป็น 25 แต่เครื่องหมายคูณ* มีระดับความสำคัญสูงกว่าบวก + โปรแกมจึงนำ3*5 ก่อน(ได้15) แล้วจึงบวกกับ 2 ได้เป็น 17 วิธีที่จะบังคับให้ Excel คิดเหมือนที่เรา ก็คือใส่ ( ) คร่อมส่วนที่ต้องการคำนวณก่อนเป็น =(2+3)*5 เท่านี้ก็ได้คำตอบที่ถูกต้องแน่นอน
 
    
     ตารางต่อไปนี้จะแสดงระดบความสำคัญของ Opertor ต่างๆจากมากไปน้อย โดย Opertor ที่มีระดับความสำคัญสูงจะถูกคำนวณก่อน และถ้ามี opertor ที่มีระดับความสำคัญเดียวกันในสูตร Excel จะคำนวณจากซ้ายไปขวาทีละตัว 
 
ระดับ  Opertor  หมายเหตุ 
1  -  คือเครื่องหมายที่แสดงค่าลบของตัวเลข เช่น 2 
2  %  เปอร์เซ็นต์ 
3  ^  ยกกำลัง 
4  * และ /  คูณ และหาร 
5  + และ -  บาก และลบ 
6  &  นำข้อความตั้งแต่2ข้อความขึ้นไปมาต่อกันเป็ฯข้อความเดียว 
7  = < > <= => <>  ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ 


พิมพ์สูตรคำนวณด้วยตัวเอง 
     วิธีที่ง่ายที่สุดในการสร้างสูตรก็คือพิมพ์ทุกอย่างลงไปเอง ไม่ว่าจะเป็นชื่อเซล ตัวเลข หรือเครื่องหมายคำนวณต่างๆ 
1. คลิกเลือกเซลที่จะใส่สูตรคำนวณ 
2. พิมพ์เครื่องหมาย = 
3. พิมพ์สูตรโดยใช้ชื่อเซล หรือตำแหน่งเซล 
4. กด Enter ก็ขะได้ผลลัพธ์ 

 

ฟังก์ชั่นและสูตรคำนวณ 

ฟังก์ชั่นถ้าเราจะกล่าวถึงก็เหมือนกับว่าเป็น Operand ตัวหนึ่ง โดยในสูตรอาจประกอบไปด้วยฟังก์ชั่นอย่างเดียว เช่น AVERAGE( A2:A5:B12 )ซึ่งเป็นการหาค่าเฉลี่ยของตัวเลขในเซล 3 เซลในวงเล็บ หรืออาจมีฟังก์ชั่นปนกับข้อมูลอื่น เช่น =B4/SUM( D5:F5) คือให้นำผลรวมของเซล D5 ถึง F5 ไปหารค่าในเซล B4 
สำหรับอาร์กิวเมนต์ที่เป็นชื่อเซล จะพิมพ์ลงไปเองหรือคลิกเมาส์เลือกก็ได้ 

 

สร้างโดย: 
ครูสุปราณี จินตวร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 448 คน กำลังออนไลน์