• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ห้องเรียนครูเกษร ไสยสาลี โรงเรียนกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์', 'node/97171', '', '3.145.59.165', 0, '14e775b53b5f8d8a0dbba563532f4c9b', 129, 1716177992) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3ce2cd100480399617f51eb648edc36b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nพลาสติกชีวภาพที่สำคัญ มี 2 ชนิด คือ\n</p>\n<p>\n1. Polylactic acid (PLA)    \n</p>\n<p>\n2. Polyhydroxybutyrate (PHB)\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\" class=\"Apple-style-span\"> Polylactic acid (PLA)</span>\n</p>\n<p>\nPolylactic acid หรือ Polylactide เป็นพลาสติกที่ผลิตจากข้าวโพดหรืออ้อย แต่ส่วนใหญ่นิยมผลิตจากข้าวโพด กระบวนการผลิตคือจะนำเมล็ดข้าวโพดไปทำเป็นแป้งแล้วนำแป้งที่ได้ไปผ่านกระบวนการหมัก (fermentation) โดยใช้แบคทีเรีย Lactobacillus brevis ได้ผลผลิตเป็นกรดแลคติก (Lactic acid) ซึ่งกรดแลคติกนี้เป็นโมโนเมอร์ที่จะนำไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเป็นพลาสติก โดยนำไปผ่านกระบวนการ polymerization ได้เป็นโพลีเมอร์ที่เรียกว่า polylactide\n</p>\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <img src=\"/files/u2483/pla_cycle.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"334\" />\n </p>\n<p align=\"center\">\n ขั้นตอนการผลิต PLA และการนำกลับมาใช้ใหม่\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\nผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพลาสติก PLA\n</p>\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<h1></h1>\n<h1 style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u2483/clam_3_comp_com.jpg\" border=\"0\" width=\"158\" height=\"95\" /> </h1>\n<h1 style=\"text-align: center\">กล่องใส่อาหาร </h1>\n</td>\n<td>\n<h1 style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u2483/bowl.jpg\" border=\"0\" width=\"125\" height=\"50\" /> </h1>\n<h1 align=\"center\">ถ้วยใส่อาหาร </h1>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<h1></h1>\n<h1 style=\"text-align: center\"></h1>\n<h1 style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u2483/hotcup.jpg\" border=\"0\" width=\"137\" height=\"177\" /> </h1>\n<h1 style=\"text-align: center\">แก้วใส่ของร้อน </h1>\n</td>\n<td>\n<h1></h1>\n<h1 style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u2483/nec.jpg\" border=\"0\" width=\"299\" height=\"231\" /> </h1>\n<h1 style=\"text-align: center\">โทรศัพท์ NEC รุ่น FOMA(R)N70iECO </h1>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<h1></h1>\n<h1 style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u2483/disk.jpg\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"150\" /> </h1>\n<h1 style=\"text-align: center\">กล่องใส่ CD/DVD </h1>\n</td>\n<td>\n<h1></h1>\n<p>\n </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\nPolyhydroxybutyrate (PHB)\n</p>\n<p>\nPHB ถูกค้นพบโดย Maurice Lemoigne นักจุลชีววิทยาชาวฝรั่งเศส เกิดจากการย่อยสลายของจุลินทรีย์ Alcaligenes eutrophus โดยใช้แหล่งวัตถุดิบจากน้ำตาลกลูโคสหรือแป้ง มาเป็นแหล่งคาร์บอนให้กับจุลินทรีย์เพื่อเปลี่ยนเป็น acetyle CoA ซึ่งสารนี้จะเป็นโมโนเมอร์สำหรับใช้ในการผลิตเป็น PHB\n</p>\n<p>\nการสังเคราะห์พลาสติก PHB จากจุลินทรีย์ Alcaligenes eutrophus จะมีเอนไซม์เข้ามาเกี่ยวข้องในปฏิกิริยาทั้งหมด 3 ชนิด คือ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เอนไซม์ 3-ketothiolase จะเร่งให้เกิดการรวมตัวกันของ Acetyl CoA ได้เป็น Acetoacetyl-CoA</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เอนไซม์ acetoacetyl-CoA reductase จะเป็นตัวรีดิวซ์ acetoacetyl-CoA ไปเป็น R(-)-3-hydroxybutynl-CoA</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เอนไซม์ PHA synthase จะมาเร่งปฏิกิริยา polymerizes สาร R(-)-3-hydroxybutynl-CoA ได้เป็นโพลีเมอร์ PHB</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <img src=\"/files/u2483/env_PHB.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"71\" />\n </p>\n<p align=\"center\">\n โมเลกุลของ PHB\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\nแหล่งข้อมูล : <a href=\"http://en.wikipedia.org/wiki/Polyhydroxybutyrate\">http://en.wikipedia.org/wiki/Polyhydroxybutyrate</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://web.mst.edu/~microbio/BIO221_2005/A_eutrophus.html\">http://web.mst.edu/~microbio/BIO221_2005/A_eutrophus.html</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.rsc.org/education/teachers/learnnet/inspirational/resources/3.1.11.pdf\">http://www.rsc.org/education/teachers/learnnet/inspirational/resources/3.1.11.pdf</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www2.mtec.or.th/th/special/biodegradable_plastic/type_de_plas.html\">http://www2.mtec.or.th/th/special/biodegradable_plastic/type_de_plas.html</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://opac.tistr.or.th/Multimedia/STJN/4901/4901-1.pdf\">http://opac.tistr.or.th/Multimedia/STJN/4901/4901-1.pdf</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://dspace.library.drexel.edu/bitstream/1860/2878/1/Singh_Vishesh.pdf\">http://dspace.library.drexel.edu/bitstream/1860/2878/1/Singh_Vishesh.pdf</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://en.wikipedia.org/wiki/Bioplastic\">http://en.wikipedia.org/wiki/Bioplastic</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716178022, expire = 1716264422, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3ce2cd100480399617f51eb648edc36b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พลาสติกชีวภาพ (Bioplastic)

พลาสติกชีวภาพที่สำคัญ มี 2 ชนิด คือ

1. Polylactic acid (PLA)    

2. Polyhydroxybutyrate (PHB)

 Polylactic acid (PLA)

Polylactic acid หรือ Polylactide เป็นพลาสติกที่ผลิตจากข้าวโพดหรืออ้อย แต่ส่วนใหญ่นิยมผลิตจากข้าวโพด กระบวนการผลิตคือจะนำเมล็ดข้าวโพดไปทำเป็นแป้งแล้วนำแป้งที่ได้ไปผ่านกระบวนการหมัก (fermentation) โดยใช้แบคทีเรีย Lactobacillus brevis ได้ผลผลิตเป็นกรดแลคติก (Lactic acid) ซึ่งกรดแลคติกนี้เป็นโมโนเมอร์ที่จะนำไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเป็นพลาสติก โดยนำไปผ่านกระบวนการ polymerization ได้เป็นโพลีเมอร์ที่เรียกว่า polylactide

ขั้นตอนการผลิต PLA และการนำกลับมาใช้ใหม่

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพลาสติก PLA

กล่องใส่อาหาร

ถ้วยใส่อาหาร

แก้วใส่ของร้อน

โทรศัพท์ NEC รุ่น FOMA(R)N70iECO

กล่องใส่ CD/DVD

Polyhydroxybutyrate (PHB)

PHB ถูกค้นพบโดย Maurice Lemoigne นักจุลชีววิทยาชาวฝรั่งเศส เกิดจากการย่อยสลายของจุลินทรีย์ Alcaligenes eutrophus โดยใช้แหล่งวัตถุดิบจากน้ำตาลกลูโคสหรือแป้ง มาเป็นแหล่งคาร์บอนให้กับจุลินทรีย์เพื่อเปลี่ยนเป็น acetyle CoA ซึ่งสารนี้จะเป็นโมโนเมอร์สำหรับใช้ในการผลิตเป็น PHB

การสังเคราะห์พลาสติก PHB จากจุลินทรีย์ Alcaligenes eutrophus จะมีเอนไซม์เข้ามาเกี่ยวข้องในปฏิกิริยาทั้งหมด 3 ชนิด คือ

เอนไซม์ 3-ketothiolase จะเร่งให้เกิดการรวมตัวกันของ Acetyl CoA ได้เป็น Acetoacetyl-CoA

เอนไซม์ acetoacetyl-CoA reductase จะเป็นตัวรีดิวซ์ acetoacetyl-CoA ไปเป็น R(-)-3-hydroxybutynl-CoA

เอนไซม์ PHA synthase จะมาเร่งปฏิกิริยา polymerizes สาร R(-)-3-hydroxybutynl-CoA ได้เป็นโพลีเมอร์ PHB

โมเลกุลของ PHB

แหล่งข้อมูล : http://en.wikipedia.org/wiki/Polyhydroxybutyrate

http://web.mst.edu/~microbio/BIO221_2005/A_eutrophus.html

http://www.rsc.org/education/teachers/learnnet/inspirational/resources/3.1.11.pdf

http://www2.mtec.or.th/th/special/biodegradable_plastic/type_de_plas.html

http://opac.tistr.or.th/Multimedia/STJN/4901/4901-1.pdf

http://dspace.library.drexel.edu/bitstream/1860/2878/1/Singh_Vishesh.pdf

http://en.wikipedia.org/wiki/Bioplastic

 

สร้างโดย: 
นายปราโมทย์ ทองเนียม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 297 คน กำลังออนไลน์