• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2c7c7a611b55fa70b7c5f43bf772c297' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span><span style=\"color: #ff0000\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"th\">โจทย์การเคลื่อนที่ แนวราบ แนวดิ่ง (ข้อสอบ O-NET)</span></b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">1. ถ้าปล่อยให้ก้อนหินตกจากยอดตึกสู่พื้น การเคลื่อนที่ของก้อนหินก่อนจะกระทบพื้นจะเป็นตามข้อใด ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p>\nก. ความเร็วคงที่\n</p>\n<p>\nข. ความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ\n</p>\n<p>\nค. ความเร็วลดลงอย่างสม่ำเสมอ\n</p>\n<p>\nง. ความเร็วเพิ่มขึ้นแล้วลดลง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #a52a2a\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><b>แนวคำตอบ</b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> อืม ข้อนี้ใช้ความรู้สึกหรือนึกถึงความจริงก็จะได้คำตอบครับ วัตถุหล่นจากที่สูงด้วยความเร่งคงที่ คือ ค่าของ g เพราะฉะนั้น ความเร็วที่เกิดขึ้นก็ควรที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามความหมายของความเร่งนั่นเอง ดังนั้นคำตอบคือข้อ ข. ครับ </span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Angsana New; color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">2. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 4.9 เมตรต่อวินาที นานเท่าใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p>\nก. 0.5 วินาที\n</p>\n<p>\nข. 1.0 วินาที\n</p>\n<p>\nค. 1.5 วินาที\n</p>\n<p>\nง. 2.0 วินาที\n</p>\n<p><span style=\"color: #a52a2a\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><b>แนวคำตอบ</b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><b> </b>ตามโจทย์ที่ให้มานะครับไม่ต้องตกใจลองพิจารณาดี ๆ ก็จะรู้ว่าโจทย์ให้ค่าต่าง ๆ มาเพียงพอต่อการนำไปคำนวณนะครับ </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p>\nโจทย์ให้ ความเร็วต้น คือ u = 4.9 m/s\n</p>\n<p>\nณ จุดสูงสุดเรารู้ค่าของความเร็วปลาย คือ v = 0 m/s\n</p>\n<p>\nค่าของความเร่งคือค่าของ g มีค่าเป็นลบเนื่องจากเคลื่อนที่ตรงข้ามกับ u มีค่า g = - 10 m/s<sup>2</sup>\n</p>\n<p>\nโจทย์ต้องการหาค่าของ เวลาคือค่าของ t\n</p>\n<p>\nเพราะฉะนั้นสิ่งที่เรารู้          u = 4.9 m/s , v = 0 m/s , g = -10 m/s<sup>2</sup> , t = ? s\n</p>\n<p>เราสารมารถใช้ สูตร                 v = u + gt </p>\n<p>\nจะได้                                0 = 4.9 + (-10)t\n</p>\n<p>\nt = 0.49 s\n</p>\n<p>\nดังนั้นคำตอบคือข้อ ก. 0.5 วินาที\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">         *** การที่นำค่า g เท่ากับ 10 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง มาใช้เพื่อความสะดวกในการคำนวณนะครับ อย่าลืมนะครับเวลาที่คำนวณได้จะต้องมีค่าเป็น บวกเสมอเนื่องจากเวลาไม่มีย้อนกลับ</span><span style=\"color: #ff0000\"></span></span> </b>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">3. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นทางตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มีความเร็วเป็น 8 เมตรต่อวินาที ถ้าอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ รถยนต์คันนี้มีความเร่งเท่าใด </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p>\nก. 2 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง\n</p>\n<p>\nข. 4 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง\n</p>\n<p>\nค. 12 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง\n</p>\n<p>\nง. 14 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง\n</p>\n<p><span style=\"color: #a52a2a\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><b>แนวคำตอบ</b>  </span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ถ้าเราใช้ความรู้สึกหรืออ้างถึงความจริงแล้วเราก็สามารถหาคำตอบได้เลย คือ วัตถุอยู่นิ่งหมายความว่าความเร็วเริ่มต้นเป็น 0 เมตรต่อวินาที ถ้าเวลา 4 วินาที จะต้องเพิ่มความเร็วเท่าใดต่อ 1 วินาที จึงจะได้ 8 เมตรต่อวินาที ก็คือ เอาความเร็วปลายหารด้วยเวลาก็จะได้คำตอบเท่ากับ 2 เมตรต่อวินาทีต่อ 1 วินาที ก็คือ ความเร่งเท่ากับ 2 เมตรต่อวินาทีกำลังสองนั่นเองครับ ลองพิจารณาดี ๆ นะครับ ว่าจริงหรือเปล่า </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p>\nถ้าไม่แน่ใจก็ลองทำตามสูตรนะครับดังนี้\n</p>\n<p>\nจากโจทย์ รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งก็คือ ความเร็วต้น u = 0 m/s\n</p>\n<p>\nเวลาในการเคลื่อนที่ t = 4 s\n</p>\n<p>\nความเร็วปลายของรถยนต์ในการเคลื่อนที่ v = 8 m/s\n</p>\n<p>\nโจทย์ต้องการหาความเร่งของการเคลื่อนที่ คือ a\n</p>\n<p>\nเพราะฉะนั้นสิ่งที่เรารู้คือ u = 0 m/s , t = 4 s , v = 8 m/s , a = ? m/s<sup>2</sup>\n</p>\n<p>\nเราสามารถใช้สูตร v = u + at\n</p>\n<p>8 = 0 + a(4) </p>\n<p>\na = 2 m/s<sup>2</sup>\n</p>\n<p>\nดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ก. 2 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">            *** ไม่ยากอย่างที่คิดเลยใช่ไหมครับลองฝึกบ่อย ๆ นะครับจะได้คล่องและมั่นใจในการทำข้อสอบ</span><span style=\"color: #ff0000\"></span></span> </b>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<a href=\"/node/16869/\"></a><a href=\"/node/16768\"><img src=\"/files/u2506/home.gif\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"30\" /></a><a href=\"/node/16768?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u2506/manu.gif\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"30\" /> </a>\n</p>\n<p></p>', created = 1713603390, expire = 1713689790, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2c7c7a611b55fa70b7c5f43bf772c297' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เนื้อหาสอบ O-NET

โจทย์การเคลื่อนที่ แนวราบ แนวดิ่ง (ข้อสอบ O-NET)

1. ถ้าปล่อยให้ก้อนหินตกจากยอดตึกสู่พื้น การเคลื่อนที่ของก้อนหินก่อนจะกระทบพื้นจะเป็นตามข้อใด ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ

ก. ความเร็วคงที่

ข. ความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ

ค. ความเร็วลดลงอย่างสม่ำเสมอ

ง. ความเร็วเพิ่มขึ้นแล้วลดลง

แนวคำตอบ อืม ข้อนี้ใช้ความรู้สึกหรือนึกถึงความจริงก็จะได้คำตอบครับ วัตถุหล่นจากที่สูงด้วยความเร่งคงที่ คือ ค่าของ g เพราะฉะนั้น ความเร็วที่เกิดขึ้นก็ควรที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามความหมายของความเร่งนั่นเอง ดังนั้นคำตอบคือข้อ ข. ครับ 

 

2. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 4.9 เมตรต่อวินาที นานเท่าใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด

ก. 0.5 วินาที

ข. 1.0 วินาที

ค. 1.5 วินาที

ง. 2.0 วินาที

แนวคำตอบ ตามโจทย์ที่ให้มานะครับไม่ต้องตกใจลองพิจารณาดี ๆ ก็จะรู้ว่าโจทย์ให้ค่าต่าง ๆ มาเพียงพอต่อการนำไปคำนวณนะครับ

โจทย์ให้ ความเร็วต้น คือ u = 4.9 m/s

ณ จุดสูงสุดเรารู้ค่าของความเร็วปลาย คือ v = 0 m/s

ค่าของความเร่งคือค่าของ g มีค่าเป็นลบเนื่องจากเคลื่อนที่ตรงข้ามกับ u มีค่า g = - 10 m/s2

โจทย์ต้องการหาค่าของ เวลาคือค่าของ t

เพราะฉะนั้นสิ่งที่เรารู้          u = 4.9 m/s , v = 0 m/s , g = -10 m/s2 , t = ? s

เราสารมารถใช้ สูตร                 v = u + gt

จะได้                                0 = 4.9 + (-10)t

t = 0.49 s

ดังนั้นคำตอบคือข้อ ก. 0.5 วินาที

         *** การที่นำค่า g เท่ากับ 10 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง มาใช้เพื่อความสะดวกในการคำนวณนะครับ อย่าลืมนะครับเวลาที่คำนวณได้จะต้องมีค่าเป็น บวกเสมอเนื่องจากเวลาไม่มีย้อนกลับ

3. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นทางตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มีความเร็วเป็น 8 เมตรต่อวินาที ถ้าอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ รถยนต์คันนี้มีความเร่งเท่าใด

ก. 2 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

ข. 4 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

ค. 12 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

ง. 14 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

แนวคำตอบ  ถ้าเราใช้ความรู้สึกหรืออ้างถึงความจริงแล้วเราก็สามารถหาคำตอบได้เลย คือ วัตถุอยู่นิ่งหมายความว่าความเร็วเริ่มต้นเป็น 0 เมตรต่อวินาที ถ้าเวลา 4 วินาที จะต้องเพิ่มความเร็วเท่าใดต่อ 1 วินาที จึงจะได้ 8 เมตรต่อวินาที ก็คือ เอาความเร็วปลายหารด้วยเวลาก็จะได้คำตอบเท่ากับ 2 เมตรต่อวินาทีต่อ 1 วินาที ก็คือ ความเร่งเท่ากับ 2 เมตรต่อวินาทีกำลังสองนั่นเองครับ ลองพิจารณาดี ๆ นะครับ ว่าจริงหรือเปล่า

ถ้าไม่แน่ใจก็ลองทำตามสูตรนะครับดังนี้

จากโจทย์ รถเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งก็คือ ความเร็วต้น u = 0 m/s

เวลาในการเคลื่อนที่ t = 4 s

ความเร็วปลายของรถยนต์ในการเคลื่อนที่ v = 8 m/s

โจทย์ต้องการหาความเร่งของการเคลื่อนที่ คือ a

เพราะฉะนั้นสิ่งที่เรารู้คือ u = 0 m/s , t = 4 s , v = 8 m/s , a = ? m/s2

เราสามารถใช้สูตร v = u + at

8 = 0 + a(4)

a = 2 m/s2

ดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ก. 2 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง

            *** ไม่ยากอย่างที่คิดเลยใช่ไหมครับลองฝึกบ่อย ๆ นะครับจะได้คล่องและมั่นใจในการทำข้อสอบ

สร้างโดย: 
ครูอาทร สอนสุภาพ

เยี่ยม!!มากเลยคะ

ได้ความรู้มากๆเลยครับ

รูปภาพของ pks3128

อยากได้เนื้อหาเยอะๆ

สวัสดีครับ   อาจารย์เก่งจังนะครับ

อาจารย์เก่งจังเลยค่ะ

ขอบคุณมากนะค่ะ ได้ความรู้มากๆเลยค่ะ

ช้าจัง เรียบเรียงเร็วๆๆๆ อยากจะดู

เพิ่มเนื้อหาให้แล้วนะครับ รออีกนิดนะครับกำลังจัดทำเพิ่ม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 185 คน กำลังออนไลน์