• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f35c75aa8b4efd1be4a7262d5a819d1d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"th\">16. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน (fusion)</span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></p>\n<p>\nก. เกิดที่อุณหภูมิต่ำ\n</p>\n<p>\nข. ไม่สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาบนโลกได้\n</p>\n<p>\nค. เกิดจากนิวเคลียร์ของธาตุเบาหลอมรวมกันเป็นธาตุหนัก\n</p>\n<p>\nง. เกิดจากการที่นิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวออกเป็นธาตุเบา\n</p>\n<p><span style=\"color: #a52a2a\"><b>แนวคำตอบ  </b></span><span style=\"color: #000000\">ปฏิกิริยาฟิวชัน เกิดจากการรวมตัวของธาตุเบาโดยต้องอาศัยพลังงานความร้อนสูง ๆ จึงจะเกิดปฏิกิริยาได้ และสามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาได้ในห้องทดลอง ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติคือดวงอาทิตย์ </span></p>\n<p>\nปฏิกิริยาฟิชชัน เกิดจากการแตกตัวของธาตุหนัก  โดยยิงอนุภาคนิวตรอนผ่านธาตุหนักจะเกิดการแตกตัวเป็นธาตุตัวใหม่ ที่ให้พลังงานความร้อนออกมาพร้อมกับอนุภาคนิวตรอนจำนวนหนึ่งซึ่งสามารถที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาอย่างต่อเนื่อง\n</p>\n<p>\nดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ค. ครับ\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"th\">17. ในการสลายตัวของ <sup>14</sup><sub>6</sub>C นิวเคลียสของคาร์บอน -14 ปล่อยอิเล็กตรอนออกหนึ่งตัว นิวเคลียสใหม่ จะมีประจุกี่เท่าของประจุโปรตอน</span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></p>\n<p>\nก. 5\n</p>\n<p>\nข. 7\n</p>\n<p>\nค. 13\n</p>\n<p>\nง. 15\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #a52a2a\"><b>แนวคำตอบ </b></span><span style=\"color: #000000\">เมื่อเกิดการสลายตัวของคาร์บอน -14 แล้วให้อิเล็กตรอนออกมาหนึ่งตัวก็จะได้ธาตุตัวใหม่ที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 7 ซึ่งมีประ +7 ส่วน โปรตอนมีประจุ +1 ดังนั้นธาตุตัวใหม่มีประจุเป็น 7 เท่าของประจุโปรตอน สำหรับการสลายตัวของธาตุลองกลับไปทบทวนการสลายตัวของธาตุอีกสักรอบนะครับ แล้วเราก็จะสามารถวิเคราะห์ข้อสอบข้อนี้ได้ครับ ดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ข. ครับ</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"th\">18. อัตราการสลายตัวของกลุ่มนิวเคลียสกัมมันตรังสี A ขึ้นอยู่กับอะไร</span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></p>\n<p>\nก. อุณหภูมิ\n</p>\n<p>\nข. ความดัน\n</p>\n<p>\nค. ปริมาตร\n</p>\n<p>\nง. จำนวนนิวเคลียส A ที่มีอยู่\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #a52a2a\"><b>แนวคำตอบ </b></span><span style=\"color: #000000\">การสลายตัวของกัมมันตรังสีคือการสลายนิวเคลียสที่มีอยู่ไปเรื่อย ๆ ดังนั้นอัตราการสลายตัวก็ขึ้นอยู่กับจำนวนนิวเคลียสที่มีอยู่ในขณะนั้น ดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ง. ครับ </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\">                                            <span style=\"color: #ff0000\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"th\">*** จบแล้วครับ***</span></b></span><span style=\"color: #ff0000\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"th\"> </span></b></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"th\"></span></b></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n*** เนื้อหาที่ให้นี้นะครับไม่ครบทุกเรืองที่เรียนมานะครับ เป็นเพียงเนื้อหาที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อสอบ O-NET ทั้งสามปีที่ผ่านมานะครับ ดังนั้นควรเน้นเนื้อหาที่กล่าวมานะครับคงไม่ต่างกันมากหรอกครับ ลองดูนะครับ จะได้คะแนนดี ๆ กัน และสอบได้คะแนนสูงและสอบติดมหาวิทยาลัยที่ต้องการทุกคนนะครับ\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/16869/\"></a><a href=\"/node/16768\"><img src=\"/files/u2506/home.gif\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"30\" /></a><a href=\"/node/16768?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u2506/manu.gif\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"30\" /> </a>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n', created = 1711707088, expire = 1711793488, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f35c75aa8b4efd1be4a7262d5a819d1d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เนื้อหาสอบ O-NET

16. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน (fusion)

ก. เกิดที่อุณหภูมิต่ำ

ข. ไม่สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาบนโลกได้

ค. เกิดจากนิวเคลียร์ของธาตุเบาหลอมรวมกันเป็นธาตุหนัก

ง. เกิดจากการที่นิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวออกเป็นธาตุเบา

แนวคำตอบ  ปฏิกิริยาฟิวชัน เกิดจากการรวมตัวของธาตุเบาโดยต้องอาศัยพลังงานความร้อนสูง ๆ จึงจะเกิดปฏิกิริยาได้ และสามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาได้ในห้องทดลอง ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติคือดวงอาทิตย์

ปฏิกิริยาฟิชชัน เกิดจากการแตกตัวของธาตุหนัก  โดยยิงอนุภาคนิวตรอนผ่านธาตุหนักจะเกิดการแตกตัวเป็นธาตุตัวใหม่ ที่ให้พลังงานความร้อนออกมาพร้อมกับอนุภาคนิวตรอนจำนวนหนึ่งซึ่งสามารถที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาอย่างต่อเนื่อง

ดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ค. ครับ

17. ในการสลายตัวของ 146C นิวเคลียสของคาร์บอน -14 ปล่อยอิเล็กตรอนออกหนึ่งตัว นิวเคลียสใหม่ จะมีประจุกี่เท่าของประจุโปรตอน

ก. 5

ข. 7

ค. 13

ง. 15

แนวคำตอบ เมื่อเกิดการสลายตัวของคาร์บอน -14 แล้วให้อิเล็กตรอนออกมาหนึ่งตัวก็จะได้ธาตุตัวใหม่ที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 7 ซึ่งมีประ +7 ส่วน โปรตอนมีประจุ +1 ดังนั้นธาตุตัวใหม่มีประจุเป็น 7 เท่าของประจุโปรตอน สำหรับการสลายตัวของธาตุลองกลับไปทบทวนการสลายตัวของธาตุอีกสักรอบนะครับ แล้วเราก็จะสามารถวิเคราะห์ข้อสอบข้อนี้ได้ครับ ดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ข. ครับ

18. อัตราการสลายตัวของกลุ่มนิวเคลียสกัมมันตรังสี A ขึ้นอยู่กับอะไร

ก. อุณหภูมิ

ข. ความดัน

ค. ปริมาตร

ง. จำนวนนิวเคลียส A ที่มีอยู่

แนวคำตอบ การสลายตัวของกัมมันตรังสีคือการสลายนิวเคลียสที่มีอยู่ไปเรื่อย ๆ ดังนั้นอัตราการสลายตัวก็ขึ้นอยู่กับจำนวนนิวเคลียสที่มีอยู่ในขณะนั้น ดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ง. ครับ

                                            *** จบแล้วครับ***

 

*** เนื้อหาที่ให้นี้นะครับไม่ครบทุกเรืองที่เรียนมานะครับ เป็นเพียงเนื้อหาที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อสอบ O-NET ทั้งสามปีที่ผ่านมานะครับ ดังนั้นควรเน้นเนื้อหาที่กล่าวมานะครับคงไม่ต่างกันมากหรอกครับ ลองดูนะครับ จะได้คะแนนดี ๆ กัน และสอบได้คะแนนสูงและสอบติดมหาวิทยาลัยที่ต้องการทุกคนนะครับ

สร้างโดย: 
ครูอาทร สอนสุภาพ

เยี่ยม!!มากเลยคะ

ได้ความรู้มากๆเลยครับ

รูปภาพของ pks3128

อยากได้เนื้อหาเยอะๆ

สวัสดีครับ   อาจารย์เก่งจังนะครับ

อาจารย์เก่งจังเลยค่ะ

ขอบคุณมากนะค่ะ ได้ความรู้มากๆเลยค่ะ

ช้าจัง เรียบเรียงเร็วๆๆๆ อยากจะดู

เพิ่มเนื้อหาให้แล้วนะครับ รออีกนิดนะครับกำลังจัดทำเพิ่ม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 192 คน กำลังออนไลน์