• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1e53e74a44a7620c0a2d96e05d61121d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: large\"> <img border=\"0\" width=\"389\" src=\"/files/u2462/theatre.jpg\" height=\"263\" /></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><strong>โรงละครแห่งชาติ ของประเทศไทย</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><strong> ตั้งอยู่ในบริเวณพระราชวังบวร (เดิม) เชิงสะพานพระปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: large\">ประวัติ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\">            กรมศิลปากรได้รับโอนกิจการ โขน ละคร และดนตรี จากสำนักพระราชวัง มาดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ นายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร เล่าว่าแต่เดิมเมื่อยังไม่มีโรงละครแห่งชาติ มีแต่โรงแสดงของกรมศิลปากร ซึ่งเป็นหอประชุมเก่าของกรมศิลปากร เป็นอาคารสร้างด้วยไม้หลังคามุงด้วยสังกะสี ตั้งอยู่ด้านขวาของพระที่นั่งศิวโมกขพิมานอันเป็นส่วนหนึ่งของหอสมุดและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล ได้สละทรัพย์ส่วนพระองค์ปรับปรุงหอประชุมขึ้นใหม่ เพื่อสะดวกแก่การแสดงโขนละคร ต่อมาก็ได้มีการซ่อมแซมเพิ่มเติมอีก และเปลี่ยนชื่อจาก จากหอประชุมกรมศิลปากร เป็นโรงละคอนศิลปากร และจัดการแสดงโขนละครได้แต่ในฤดูแล้ง ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม เพราะในฤดูฝนมีฝนตกลงมากระทบหลังคาสังกะสี เกิดเสียงดังกลบเสียงดนตรีและขับร้อง จึงต้องงดการแสดงในฤดูฝน และเกิดไฟไหม้ในคืนวันที่ ๙ พศจิกายน ๒๕๐๓ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\"><img border=\"0\" vspace=\"5\" align=\"left\" width=\"111\" src=\"/files/u2462/CTPCCAIAQWQXCAD79B4OCACXD2M3CA7DQ81ECAGX8RZG.jpg\" hspace=\"5\" height=\"115\" />ทายาทวิจิตรวาทการ ได้เล่าว่า  &quot;ท่านก็ปลูกโรงไม้ไผ่เอาผ้าเต็นท์มาขึงเป็นหลังคา รวบรวมเก้าอี้เท่าที่จะหาละครของกรมศิลปากรได้ออกแสดงภายใต้หลังคาผ้าเต็นท์ และเสาไม้ไผ่ แต่เคราะห์ดีก็มีมา โดยที่ในการแสดงครั้งหนึ่ง ท่านเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศร์ ผู้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในเวลานั้น ได้มานั่งดูการแสดง ท่านเจ้าคุณได้บอกให้หลวงวิจิตรวาทการตั้งงบประมาณสำหรับสร้างโรงละคร ท่านจะช่วยเหลือหาเงินให้ หลวงวิจิตรวาทการตั้งงบประมาณไปสำหรับสร้างโรงละครเป็นจำนวนเท่าไหร่จำไม่ได้ แต่ได้รับอนุมัติเพียง ๖,๕๐๐ บาท สำหรับสร้างโรงละคร ไม่รู้จะสร้างอย่างไรได้ พอตั้งเสา และมุงหลังคา เงิน ๖,๕๐๐ บาท ก็หมดไป  และละครเรื่อง &quot;เลือดสุพรรณ&quot; ได้กำเนิดขึ้นในโรงละครราคา ๖,๕๐๐ บาท นั้นนั่นเอง &quot;เลือดสุพรรณ&quot; ทำให้หมดทุกอย่าง ทำให้โรงละครมีฝารอบขอบชิด มีรูปร่างซึ่งเป็น &quot;หอประชุมศิลปากร&quot; ที่ใช้มาจน ๒๕ ปีให้หลัง การละคร และดนตรีของกรมศิลปากรตั้งตัวขึ้นได้ด้วยละครเรื่องเลือดสุพรรณ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\">   หลวงวิจิตรวาทการ  </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\">                           </span></span><span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\"><br />\n           ต่อมาในสมัยรัฐบาลของ ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรีทางราชการได้ตั้งคณะกรรมการสร้างโรงละครแห่งชาติขึ้น โดยมีพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ โดยเห็นสมควรให้สร้างที่บริเวณหน้าโรงเรียนนาฏศิลป อันเป็นอาคารที่ทำการของ กระทรวงคมนาคม เดิม ซึ่งมอบให้กรมศิลปากร เมื่อปี ๒๔๙๗ เป็นอาคารจำนวน ๓ หลัง และกรมศิลปากรได้จัดให้อาคาร ๒ หลังด้านในเป็นอาคารเรียนของโรงเรียน ศิลปศึกษาเดิม หรือ โรงเรียนช่างศิลป และวิทยาลัยช่างศิลป ในปัจุบัน เมื่อมีการสร้างโรงละครแห่งชาติ กรมศิลปากรจึงย้ายโรงเรียนช่างศิลปไปอยู่ในบริเวณเดียวกันกับโรงเรียนนาฏศิลป ในการก่อสร้างโรงละครแห่งชาติมีกรมโยธาเทศบาลในสมัยนั้นรับไปดำเนินการ และมอบให้ บริษัท วิจิตรก่อสร้าง จำกัด ผู้เสนอราคาประมูลต่ำสุด เป็นจำนวนเงิน ๑๒,๔๙๐,๐๐๐ บาท มีการทำพิธีวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างเมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๐๓ โดยฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้เจิมศิลาฤกษ์ และพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ประธานกรรมการเป็นผู้วางศิลาฤกษ์ เมื่อ พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๐๕ จึงได้มีการแต่งตั้งจอมพล ถนอม กิตติขจร รองนายกรัฐมนตรี ในสมัยนั้นเป็นประธานกรรมการต่อมา และได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขหลายเรื่อง รวมทั้งการรื้อที่นั่งชั้นบนออกทั้งหมดแล้วก่อสร้างใหม่โดยให้ผู้ดูสามารถแลเห็นการแสดงได้ทั่วทั้งเวที และมีที่ประทับอยู่ด้านหน้า <br />\nโรงละครแห่งชาติเริ่มสร้างในปีงบประมาณ ๒๕๐๔-๒๕๐๘ ค่าใช้จ่ายรวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๕๖,๔๘๔,๔๖๕ บาท โดยมี นาย อิสสระ วิวัฒนานนท์ เป็นสถาปนิก , ศาสตราจารย์ ดร.รชฎ กาญจนะวณิชย์ เป็นวิศวกร ต่อมามีการดัดแปลงแก้ไข โดยมี มจ.สมัยเฉลิม กฤดากรเป็นสถาปนิกผู้แก้ไข โดยมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมอีก ๔๑,๐๒๑,๗๑๕ บาท <br />\nและเนื่องจากเวทีของโรงละครแห่งชาติสูงมาก เพื่อใช้ในการยกฉาก ความสูงของเวทีจากระดับพื้นดินถึงยอดอาคารสูงถึง ๓๘.๕๐ เมตร อาคารมีลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยมพุ่งขึ้นไปในอากาศ ดูไม่สวยงาม จึงมีการสร้างอาคาร ๕ ชั้น หลังคาทรงไทยเชื่อมต่อกับส่วนเวทีของโรงละครแห่งชาติ ขึ้นทั้ง ๒ ด้าน ทั้งทางด้านขวา( ทิศตะวันออก ) และด้านซ้าย ( ทิศตะวันตก ) โดยอาคารทางด้านขวา(ด้านตะวันออก)มีห้องประชุมเล็ก ซึ่งกลายมาเป็น โรงละครเล็กในภายหลัง การก่อสร้างเพิ่มเติมนี้มี นาย อิสสระ วิวัฒนานนท์ เป็นสถาปนิก , นาย ไพรัช ชุติกุล เป็นวิศวกร บริษัท รัตภูมิ เป็นผู้ก่อสร้าง โดยมีค่าใช้จ่ายอีก ๑๐,๗๐๙,๓๕๐ บาท ในขณะที่การก่อสร้างโรงละครและการแก้ไขต่างๆดำเนินการใกล้จะเสร็จแล้วนั้น ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็ถึงแก่อสัญกรรม ฯพณฯ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งจอมพล ถนอม ได้แต่งตั้ง พันเอก พระยาศรีวิศาลวาจาเป็นประธานกรรมการคนที่ ๓ <br />\nเมื่อการก่อสร้างดำเนินมาได้ระยะหนึ่ง ทางคณะกรรมการก่อสร้างโรงละครได้กราบบังคมทูลพระกรุณาอัญเชิญเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรโรงละครแห่งชาติที่กำลังก่อสร้างอยู่ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการก่อสร้างโรงละครแห่งชาติเมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๐๗ และโปรดเกล้าพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยแนะนำแก้ไขเพิ่มเติมหลายประการ หลังจากนั้นโรงละครแห่งชาติแล้วเสร็จ และทำพิธีเปิดเป็นทางการได้ในวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๐๘ โดยมี ฯพณฯ จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ประกอบพิธีเปิด <br />\nพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรการแสดงนาฏศิลปไทยในวโรกาสพิธีเปิดโรงละครแห่งชาติ ในคืนวันที่ ๒๓ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘ ซึ่งได้มีการจัดแสดงรวม ๓ ชุด คือ ๑.รำดอกไม้เงินดอกไม้ทองถวายพระพร ๒.การแสดงละครเรื่องสังข์ศิลป์ชัย ตอนชุบสังข์ศิลป์ชัย ๓.โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุด รามาวตาร ซึ่งนับเป็นปฐมฤกษ์ของการดำเนินกิจการโรงละครแห่งชาติตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา <br />\nโรงละครแห่งชาติ เป็นส่วนราชการอยู่ในบังคับบัญชาของกรมศิลปากร มีฐานะเป็นนิติบุคคลซึ่งไม่เข้าลักษณะเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา ๓๙ แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร <br />\nโรงละครแห่งชาติเป็นองค์กรของรัฐที่มีการบริหารงานแบบไม่หวังผลกำไร ดำเนินงานภายใต้การกำกับดูแลของกลุ่มโรงละครแห่งชาติ เป็นหน่วยงานในสังกัด สำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม มี นาย ยงยุทธ ไหวพริบ เป็นหัวหน้ากลุ่ม ปัจจุบันโรงละครแห่งชาติ มีอยู่รวมทั้งหมดจำนวน ๓ แห่ง โดยอยู่ในส่วนกลาง ๑ แห่ง และอยู่ในส่วนภูมิภาค ๒ แห่ง มีฐานะเป็นฝ่าย ในสังกัดโรงละครแห่งชาติ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"> โรงละครแห่งชาติ</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small; color: #008000\">ส่วนกลาง<br />\nโรงละครแห่งชาติ (ส่วนกลาง ) ตั้งอยู่ที่ เลขที่ ๒ ถ.ราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐ - ๒๒๒๒ - ๑๐๙๒,๐ - ๒๒๒๔ - ๑๓๔๒ โรงละครแห่งชาติเริ่มสร้างในปีงบประมาณ ๒๕๐๔</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\">อาคารของโรงละครแห่งชาติ กรุงเทพฯ แบ่งเป็น ๓ ส่วน โดยปีกขวาเป็นโรงละครเล็ก ปีกซ้ายเป็นห้องทำงานฝ่ายช่าง ตรงกลางเป็นโรงละครใหญ่ ในปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐ นี้ โรงละครใหญ่ปิดซ่อม จะเปิดใช้ได้ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ <br />\nในปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ สำนักการสังคีตได้จัดการแสดงที่ โรงละครแห่งชาติ ( โรงเล็ก ) และในปีพุทธศักราช ๒๕๕๑ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเป็นต้นไปจะย้ายสถานที่จัดการแสดงไปยัง โรงละครศรีอยุธยา หอวชิราวุธานุสรณ์ ในบริเวณหอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นการชั่วคราว </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\"></span></span><span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\"><a href=\"http://hellones.exteen.com/images/theatre.jpg\">http://hellones.exteen.com/images/theatre.jpg</a></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\"><a href=\"http://www.rmutphysics.com/CHARUD/oldnews/143/scientist/ba8.JPG\">http://www.rmutphysics.com/CHARUD/oldnews/143/scientist/ba8.JPG</a> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000\"><span style=\"font-size: small; color: #339966\"><br />\n</span></span> \n</p>\n', created = 1715633816, expire = 1715720216, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1e53e74a44a7620c0a2d96e05d61121d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรงละครแห่งชาติ

รูปภาพของ tuktik3016

 

โรงละครแห่งชาติ ของประเทศไทย

 ตั้งอยู่ในบริเวณพระราชวังบวร (เดิม) เชิงสะพานพระปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร

ประวัติ

            กรมศิลปากรได้รับโอนกิจการ โขน ละคร และดนตรี จากสำนักพระราชวัง มาดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ นายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร เล่าว่าแต่เดิมเมื่อยังไม่มีโรงละครแห่งชาติ มีแต่โรงแสดงของกรมศิลปากร ซึ่งเป็นหอประชุมเก่าของกรมศิลปากร เป็นอาคารสร้างด้วยไม้หลังคามุงด้วยสังกะสี ตั้งอยู่ด้านขวาของพระที่นั่งศิวโมกขพิมานอันเป็นส่วนหนึ่งของหอสมุดและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล ได้สละทรัพย์ส่วนพระองค์ปรับปรุงหอประชุมขึ้นใหม่ เพื่อสะดวกแก่การแสดงโขนละคร ต่อมาก็ได้มีการซ่อมแซมเพิ่มเติมอีก และเปลี่ยนชื่อจาก จากหอประชุมกรมศิลปากร เป็นโรงละคอนศิลปากร และจัดการแสดงโขนละครได้แต่ในฤดูแล้ง ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม เพราะในฤดูฝนมีฝนตกลงมากระทบหลังคาสังกะสี เกิดเสียงดังกลบเสียงดนตรีและขับร้อง จึงต้องงดการแสดงในฤดูฝน และเกิดไฟไหม้ในคืนวันที่ ๙ พศจิกายน ๒๕๐๓

ทายาทวิจิตรวาทการ ได้เล่าว่า  "ท่านก็ปลูกโรงไม้ไผ่เอาผ้าเต็นท์มาขึงเป็นหลังคา รวบรวมเก้าอี้เท่าที่จะหาละครของกรมศิลปากรได้ออกแสดงภายใต้หลังคาผ้าเต็นท์ และเสาไม้ไผ่ แต่เคราะห์ดีก็มีมา โดยที่ในการแสดงครั้งหนึ่ง ท่านเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศร์ ผู้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในเวลานั้น ได้มานั่งดูการแสดง ท่านเจ้าคุณได้บอกให้หลวงวิจิตรวาทการตั้งงบประมาณสำหรับสร้างโรงละคร ท่านจะช่วยเหลือหาเงินให้ หลวงวิจิตรวาทการตั้งงบประมาณไปสำหรับสร้างโรงละครเป็นจำนวนเท่าไหร่จำไม่ได้ แต่ได้รับอนุมัติเพียง ๖,๕๐๐ บาท สำหรับสร้างโรงละคร ไม่รู้จะสร้างอย่างไรได้ พอตั้งเสา และมุงหลังคา เงิน ๖,๕๐๐ บาท ก็หมดไป  และละครเรื่อง "เลือดสุพรรณ" ได้กำเนิดขึ้นในโรงละครราคา ๖,๕๐๐ บาท นั้นนั่นเอง "เลือดสุพรรณ" ทำให้หมดทุกอย่าง ทำให้โรงละครมีฝารอบขอบชิด มีรูปร่างซึ่งเป็น "หอประชุมศิลปากร" ที่ใช้มาจน ๒๕ ปีให้หลัง การละคร และดนตรีของกรมศิลปากรตั้งตัวขึ้นได้ด้วยละครเรื่องเลือดสุพรรณ

   หลวงวิจิตรวาทการ  

                          
           ต่อมาในสมัยรัฐบาลของ ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรีทางราชการได้ตั้งคณะกรรมการสร้างโรงละครแห่งชาติขึ้น โดยมีพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ โดยเห็นสมควรให้สร้างที่บริเวณหน้าโรงเรียนนาฏศิลป อันเป็นอาคารที่ทำการของ กระทรวงคมนาคม เดิม ซึ่งมอบให้กรมศิลปากร เมื่อปี ๒๔๙๗ เป็นอาคารจำนวน ๓ หลัง และกรมศิลปากรได้จัดให้อาคาร ๒ หลังด้านในเป็นอาคารเรียนของโรงเรียน ศิลปศึกษาเดิม หรือ โรงเรียนช่างศิลป และวิทยาลัยช่างศิลป ในปัจุบัน เมื่อมีการสร้างโรงละครแห่งชาติ กรมศิลปากรจึงย้ายโรงเรียนช่างศิลปไปอยู่ในบริเวณเดียวกันกับโรงเรียนนาฏศิลป ในการก่อสร้างโรงละครแห่งชาติมีกรมโยธาเทศบาลในสมัยนั้นรับไปดำเนินการ และมอบให้ บริษัท วิจิตรก่อสร้าง จำกัด ผู้เสนอราคาประมูลต่ำสุด เป็นจำนวนเงิน ๑๒,๔๙๐,๐๐๐ บาท มีการทำพิธีวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างเมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๐๓ โดยฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้เจิมศิลาฤกษ์ และพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ประธานกรรมการเป็นผู้วางศิลาฤกษ์ เมื่อ พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๐๕ จึงได้มีการแต่งตั้งจอมพล ถนอม กิตติขจร รองนายกรัฐมนตรี ในสมัยนั้นเป็นประธานกรรมการต่อมา และได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขหลายเรื่อง รวมทั้งการรื้อที่นั่งชั้นบนออกทั้งหมดแล้วก่อสร้างใหม่โดยให้ผู้ดูสามารถแลเห็นการแสดงได้ทั่วทั้งเวที และมีที่ประทับอยู่ด้านหน้า
โรงละครแห่งชาติเริ่มสร้างในปีงบประมาณ ๒๕๐๔-๒๕๐๘ ค่าใช้จ่ายรวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๕๖,๔๘๔,๔๖๕ บาท โดยมี นาย อิสสระ วิวัฒนานนท์ เป็นสถาปนิก , ศาสตราจารย์ ดร.รชฎ กาญจนะวณิชย์ เป็นวิศวกร ต่อมามีการดัดแปลงแก้ไข โดยมี มจ.สมัยเฉลิม กฤดากรเป็นสถาปนิกผู้แก้ไข โดยมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมอีก ๔๑,๐๒๑,๗๑๕ บาท
และเนื่องจากเวทีของโรงละครแห่งชาติสูงมาก เพื่อใช้ในการยกฉาก ความสูงของเวทีจากระดับพื้นดินถึงยอดอาคารสูงถึง ๓๘.๕๐ เมตร อาคารมีลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยมพุ่งขึ้นไปในอากาศ ดูไม่สวยงาม จึงมีการสร้างอาคาร ๕ ชั้น หลังคาทรงไทยเชื่อมต่อกับส่วนเวทีของโรงละครแห่งชาติ ขึ้นทั้ง ๒ ด้าน ทั้งทางด้านขวา( ทิศตะวันออก ) และด้านซ้าย ( ทิศตะวันตก ) โดยอาคารทางด้านขวา(ด้านตะวันออก)มีห้องประชุมเล็ก ซึ่งกลายมาเป็น โรงละครเล็กในภายหลัง การก่อสร้างเพิ่มเติมนี้มี นาย อิสสระ วิวัฒนานนท์ เป็นสถาปนิก , นาย ไพรัช ชุติกุล เป็นวิศวกร บริษัท รัตภูมิ เป็นผู้ก่อสร้าง โดยมีค่าใช้จ่ายอีก ๑๐,๗๐๙,๓๕๐ บาท ในขณะที่การก่อสร้างโรงละครและการแก้ไขต่างๆดำเนินการใกล้จะเสร็จแล้วนั้น ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็ถึงแก่อสัญกรรม ฯพณฯ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งจอมพล ถนอม ได้แต่งตั้ง พันเอก พระยาศรีวิศาลวาจาเป็นประธานกรรมการคนที่ ๓
เมื่อการก่อสร้างดำเนินมาได้ระยะหนึ่ง ทางคณะกรรมการก่อสร้างโรงละครได้กราบบังคมทูลพระกรุณาอัญเชิญเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรโรงละครแห่งชาติที่กำลังก่อสร้างอยู่ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการก่อสร้างโรงละครแห่งชาติเมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๐๗ และโปรดเกล้าพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยแนะนำแก้ไขเพิ่มเติมหลายประการ หลังจากนั้นโรงละครแห่งชาติแล้วเสร็จ และทำพิธีเปิดเป็นทางการได้ในวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๐๘ โดยมี ฯพณฯ จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ประกอบพิธีเปิด
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรการแสดงนาฏศิลปไทยในวโรกาสพิธีเปิดโรงละครแห่งชาติ ในคืนวันที่ ๒๓ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘ ซึ่งได้มีการจัดแสดงรวม ๓ ชุด คือ ๑.รำดอกไม้เงินดอกไม้ทองถวายพระพร ๒.การแสดงละครเรื่องสังข์ศิลป์ชัย ตอนชุบสังข์ศิลป์ชัย ๓.โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุด รามาวตาร ซึ่งนับเป็นปฐมฤกษ์ของการดำเนินกิจการโรงละครแห่งชาติตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
โรงละครแห่งชาติ เป็นส่วนราชการอยู่ในบังคับบัญชาของกรมศิลปากร มีฐานะเป็นนิติบุคคลซึ่งไม่เข้าลักษณะเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา ๓๙ แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
โรงละครแห่งชาติเป็นองค์กรของรัฐที่มีการบริหารงานแบบไม่หวังผลกำไร ดำเนินงานภายใต้การกำกับดูแลของกลุ่มโรงละครแห่งชาติ เป็นหน่วยงานในสังกัด สำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม มี นาย ยงยุทธ ไหวพริบ เป็นหัวหน้ากลุ่ม ปัจจุบันโรงละครแห่งชาติ มีอยู่รวมทั้งหมดจำนวน ๓ แห่ง โดยอยู่ในส่วนกลาง ๑ แห่ง และอยู่ในส่วนภูมิภาค ๒ แห่ง มีฐานะเป็นฝ่าย ในสังกัดโรงละครแห่งชาติ

 โรงละครแห่งชาติ

ส่วนกลาง
โรงละครแห่งชาติ (ส่วนกลาง ) ตั้งอยู่ที่ เลขที่ ๒ ถ.ราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐ - ๒๒๒๒ - ๑๐๙๒,๐ - ๒๒๒๔ - ๑๓๔๒ โรงละครแห่งชาติเริ่มสร้างในปีงบประมาณ ๒๕๐๔

อาคารของโรงละครแห่งชาติ กรุงเทพฯ แบ่งเป็น ๓ ส่วน โดยปีกขวาเป็นโรงละครเล็ก ปีกซ้ายเป็นห้องทำงานฝ่ายช่าง ตรงกลางเป็นโรงละครใหญ่ ในปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐ นี้ โรงละครใหญ่ปิดซ่อม จะเปิดใช้ได้ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๒
ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ สำนักการสังคีตได้จัดการแสดงที่ โรงละครแห่งชาติ ( โรงเล็ก ) และในปีพุทธศักราช ๒๕๕๑ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเป็นต้นไปจะย้ายสถานที่จัดการแสดงไปยัง โรงละครศรีอยุธยา หอวชิราวุธานุสรณ์ ในบริเวณหอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นการชั่วคราว

http://hellones.exteen.com/images/theatre.jpg

http://www.rmutphysics.com/CHARUD/oldnews/143/scientist/ba8.JPG 


 

สร้างโดย: 
ครูศุภรัตน์ ม่วงทอง โรงเรียนปิยะบุตร์ จังหวัดลพบุรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 441 คน กำลังออนไลน์