• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a706f194abac85175f79ceddb85328db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"150\" src=\"/files/u2443/nora05.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 192px; height: 148px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ภาพนี้ดิฉันค้นพบโดยบังเอิญทางเนต ในภาพมีดิฉันอยู่ด้วยทางซ้ายสุด ผู้ที่อยู่บนสุดคือ </span><a href=\"/node/16662\"><span style=\"font-size: small\">ครูโนราพุ่มเทวา</span></a><span style=\"font-size: small\">  หรือขุนอุปถัมภ์นรากร ซึ่งเป็นอาจารย์สอนรำมโนราที่วิทยาลัยครูสงขลา ภาพนี้ถ่ายเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๔ ขณะนั้นดิฉันเรียนอยู่ที่วิทยาลัยครูสงขลา และเป็นลูกศิษย์ของครูพุ่ม  เอ๊ะ ที่ว่าคนแก่มักคิดถึงความหลัง เห็นท่าจะจริงแล้วล่ะค่ะ  ดิฉันขอเริ่มเรื่องโดยเล่าประวัติของ<br />\nโนราพุ่มเทวา </span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img border=\"100\" align=\"baseline\" width=\"100\" src=\"/files/u2443/teacher_0.jpg\" height=\"111\" style=\"width: 142px; height: 121px\" />\n</p>\n<p>\n         <span style=\"font-size: small\"><strong>ขุนอุปภัมภ์นรากร</strong> (พุ่ม) เกิดวันศุกร์ เดือน ๔ ขึ้น ๗ ค่ำ เวลา ๑๑ นาฬิกา ปีเถาะ พ.ศ.๒๔๓๔ เป็นบุตร นายเงิน นางชุม    ช่วยพูลเงิน เกิด ณ บ้านเกาะม่วง หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง เมื่ออายุได้ ๗ ปี บิดาก็ถึงแก่กรรม มารดาก็ย้ายมาอยู่บ้านชายคลอง ตำบลชะมวง อำเภอเดียวกัน เมื่ออายุได้ ๑๑ ปี มารดาได้นำไปฝากให้เข้าเรียนในสำนักท่านพระครูกาเดิม (หนู) ณ วัดวิหารเบิก ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง เพื่อศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทย อยู่ที่นั่นไม่นาน พระครูกาเดิม (หนู) ไปกรุงเทพฯ ท่านต้องกลับมาอยู่บ้านเดิมต่อมาได้มีผู้มาชักนำท่านไปทางขับร้อง ฟ้อนรำ ได้อุตส่าห์ฝึกฝนพากเพียรเรียนวิชาการรำโนรา   กับ    นายชุม ที่ตำบลป่าพะยอมอยู่ประมาณ ๒ ปี ยังหาความชำนาญไม่ได้ก็ไปเล่าเรียนเพิ่มเติมกับนายลูกโก ซึ่งเป็นโนราอยู่บ้านไม้เสียบ ตำบลท่าประจะ อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียนวิชานี้อยู่ประมาณ ๘ ปี ก็สำเร็จวิชาทางรำโนรา บริบูรณ์ดี ท่านก็กลับมาอยู่บ้านตามเดิม<br />\n     เมื่ออายุได้ ๒๑ ปี ได้เข้าถวายตัวเป็นอันเตวาสิกกับท่านพระครูกาชาติ (แก้ว) ณ วัดพิกุลทอง ศึกษาเล่าเรียนทางฝ่ายพระศาสนา และได้อุปสมบทที่วัดพิกุลทอง โดยมีท่านพระครูกาเดิม (หนู) เป็นอุปัชฌาย์ เมื่ออุปสมบทแล้วได้พยายามปฎิบัติธรรมในพระศาสนาตามพระวินัยแห่งพุทธบัญญัติตามกำลัง  ต่อจากนั้นได้ลาออกจากเพศบรรพชิตมาอยู่อาศัยกับนางพลับผู้เป็นพี่ของข้าพเจ้า (ท่านพี่น้องร่วมบิดา มารดาเดียวกัน ๒ คนคือ พี่พลับกับตัวท่าน)  เมื่อท่านมีอายุได้ ๒๘ ปี ได้แต่งงานกับนางแหม้ว และได้ตั้งหน้าตั้งตาทำมาหากิน อาชีพของข้าพเจ้าคือ ทำนา ดำเนินการไปตามชอบธรรม อยู่เป็นสุขตลอดมา<br />\n    พ.ศ.๒๔๖๘ ท่านอายุได้ ๓๕ ปี ในระหว่างนั้นกำนันตำบลชะมวง ว่างลง โดยเหตุที่กำนันพุ่ม นาคะวิโรจน์ ลาออก รองอำมาตย์โทขุนเทพภัคดี นายอำเภอควนขนุน จึงเรียกประชุมผู้ใหญ่บ้านทุกนายเพื่อเลือกกำนัน ที่ประชุมลงความเห็นชอบเลือกท่านเป็นกำนันตำบลชะมวง ท่านได้รับหน้าที่ราชการ ได้พยายามปฎิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตธรรม มีพรหมวิหาร ๔ เป็นที่ตั้ง เพื่อผดุงไว้ซึ่งชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ อันเป็นสถาบันที่ท่านเคารพเทิดทูนเป็นที่สุด<br />\n    พ.ศ.๒๔๗๕ เมื่อท่านรับราชการมาได้ ๖ ปี ก็ได้รับแต่งตั้งจากเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเป็น &quot; <strong>ขุนอุปถัมภ์นรากร</strong> &quot;<br />\n    พ.ศ.๒๔๗๕ ท่านได้รับพระราชทานเหรียญพระพุทธยอดฟ้า พระปกเกล้าฯ เนื่องในงานเฉลิมฉลองพระนครครบ ๑๕๐ ปี<br />\n    พ.ศ.๒๔๗๗ ราษฎรในตำบลชะมวงเลือกท่านเป็นผู้แทนตำบลชะมวงไปรับพระราชทานเข็ม เรียกว่า &quot;เข็มผู้แทนตำบล &quot; <br />\n    พ.ศ.๒๔๗๘ รัฐบาลได้มอบเงินรางวัลจำนวน ๑๐๐ บาท เป็นรางวัลที่ ๑ สำหรับกำนันในจังหวัดพัทลุง เพื่อตอบแทนความดีความชอบที่ทำงานตรงหน้าที่ ซื่อสัตย์ สุจริต พร้อมมอบประกาศนียบัตร 1 ฉบับเป็นหลักฐานแห่งความดี<br />\n    พ.ศ.๒๔๘๐ ท่านได้ร้องเรียนต่อคณะกรรมการอำเภอควนขนุนว่า ควรจะตัดถนนจากตำบลชะมวง ไปติดต่อกับตำบลป่าพะยอม ต่อกับถนนสายควนขนุน ทางอำเภอเห็นดีด้วย จึงได้ชักนำให้ท่านนำราษฎรมาช่วยกันทำถนนจากตำบลชะมวง ไปตำบลป่าพะยอม มีเจ้าของที่ดินบางคนขัดข้อง ท่านจึงได้ไปขอความช่วยเหลือจากท่านพระครูกัลยาฯ เจ้าคณะแขวงอำเภอควนขนุน และท่านพระครูศิริรัตโนภาส เจ้าอาวาสวัดพิกุลทอง ได้ช่วยพูดคุยกับเจ้าของที่ดิน บางคนก็ได้ตกลง การทำถนนจึงดำเนินไปได้ตามความประสงค์โดยได้พูนดินเป็นตัวถนนบ้าง และได้ตัดทางไปติดต่อกับตำบลป่าพะยอม ได้สำเร็จ<br />\n   พ.ศ.๒๔๘๑ ทางราชการได้จัด ให้นำข้าวพื้นเมืองไปประกวดในงานปีใหม่ ณ จังหวัดพัทลุง ท่านได้นำข้าวในครัวเรือนไปประกวด คือ &quot; <strong>ข้าวนางงาม</strong> &quot; ในการประกวดนั้นได้รับรางวัลที่ ๑ ได้รับรางวัล ไถเกษตร ๑ เครื่อง กับเงิน ๑๕ บาท<br />\n    พ.ศ.๒๔๘๕  ท่านได้ลาออกจากตำแหน่งกำนัน รวมเวลาอยู่ในตำแหน่งนี้ ๒๐ ปี ออกไปประกอบอาชีพทำนา ค้าขายและทำสวน ในระหว่างนี้ได้ซื้อช้างไปขายที่จังหวัดยะลา และไปซื้อช้างที่จังหวัดชุมพรและระนองมาใช้งานลากไม้ ได้ทำงานนี้อยู่ ๑๐ ปี ในปีนี้และได้มอบที่ดิน ๑ แปลงยาว ๑ เส้น กว้าง ๑๐ วา ให้แก่วัดพิกุลทองเพื่อเป็นสมบัติของสงฆ์<br />\n    พ.ศ.๒๔๙๘ ได้รับการคัดเลือกจากอำเภอให้เป็นคนขยันของชาติ ในตำบลชะมวง ได้รับรางวัลแหวน ๑ วง เป็นตัวเงินเรือนทอง จารึกอักษรไว้ที่หัวแหวนว่า &quot;เป็นคนขยันของชาติ&quot; และได้รับบัตรประจำตัวลดค่าโดยสารรถไฟครึ่งราคา<br />\n    พ.ศ.๒๔๙๙ ท่านได้ไปถวายตัวกับท่านเจ้าคุณพุทธิธรรมธาดา เข้าวิปัสสนากรรมฐาน ณ วัดสุวรรณวิชัย รู้สึกว่าได้รับผลอย่างดี  เป็นที่ปลื้มใจอย่างยิ่ง<br />\n    พ.ศ.๒๕๐๐ ท่านพระครูสิริรัตโนภาส ได้จัดทำสะพานข้ามคลองเข้าวัด ได้นำเงินส่วนตัวถวาย ๑,๐๐๐ บาท เพราะถือว่าเป็นบุญจริงๆ พร้อมกับช่วยขอจากผู้มีจิตศรัทธา ๔,๐๐๐ บาท ลูกศิษย์เก่ามารำโนรา ๒ ครั้งได้เงิน ๑๐,๐๐๐ บาทเศษ ได้นำถวายท่านพระครูศิริรัตโนภาส เจ้าอาวาสวัดพิกุลทองเพื่อสมทบทุนทำสะพานและพระอุโบสถ ในโอกาสนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าเฉลิมพลทิฆัมพร บริจาคเพื่อสร้างประตูเหล็กพระอุโบสถเป็นเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><strong>ระยะการรำโนรา</strong> </span>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"font-size: small\">เมื่อเรียนวิชารำโนราแล้วก็เที่ยวรำโนรา จนมีชื่อเสียงมากเป็นที่ชอบใจพอใจของผู้ดูผู้ชม ประชาชนได้ตั้งชื่อให้ว่า &quot;โนราพุ่มเทวา&quot; คือรำเหมือนเทวดาลงมาจากสวรรค์ ท่านมาหยุดรำโนรา เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๘ เพราะงานในตำแหน่งกำนันมีมากไม่มีเวลา จากนั้นก็ได้รำอีกครั้งหนึ่ง เพื่อถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๒ เมื่อคราวพระองค์เสด็จเยี่ยมราษฎรจังหวัดพัทลุง<br />\n    พ.ศ.๒๕๐๗ อาจารย์ใหญ๋โรงเรียนสตรีฝึกหัดครูสงขลา (สมบุญ ศรียาภัย) ได้ให้อาจารย์ภิญโญ จิตต์ธรรม มาขอร้องให้ไปเป็นอาจารย์พิเศษสอนรำโนราให้นักเรียน ท่านก็ไปให้ตามความประสงค์ และได้สอนที่วิทยาลัยครูสงขลาจนกระทั่งถึงประมาณปี พ.ศ.๒๕๑๕<br />\n    พ.ศ.๒๕๑๓ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าเฉลิมพลทิฆัมพร สั่งให้หลวงคเชนทรามาตย์นำข้าพเจ้าไปรำถวายที่โรงเรียนนาฏศิลป์ รำออกโทรทัศน์ช่อง ๔ และ รำเพื่อทำภาพยนต์ที่หนองแขม<br />\n    พ.ศ.๒๕๑๔ ผู้อำนวยการวิทยาลัยครูสงขลา (สมบุญ ศรียาภัย) ได้นำข้าพเจ้าไปรำให้ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และคณะโขนธรรมศาสตร์ดู ณ โรงแรมสมิหลา สงขลา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong>รำถวายหน้าพระที่นั่ง ๕ ครั้ง</strong><br />\n๑.พ.ศ.๒๔๕๘ รำถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ณ พลับพลานาวง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง<br />\n๒.พ.ศ.๒๔๕๘ รำถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ณ หน้าวังสมเด็จฯ สงขลา<br />\n๓.พ.ศ.๒๔๗๖ รำถวายสมเด็จกรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เสด็จแทนพระองค์ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๗ ณ ภัตตาคารลำปำ จังหวัดพัทลุง ได้รับพระราชทานรางวัลเป็นเงิน ๕๐๐ บาท<br />\n๔.พ.ศ.๒๕๐๒ รำถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ และ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ณ หน้าศาลากลางจังหวัดพัทลุง ได้รับพระราชทานเหรียญที่ระลึก ๑ เหรียญ<br />\n๕.พ.ศ.๒๕๑๔ รำถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ได้รับพระราชทานเหรียญ ภ.ป.ร. ในการรำครั้งนี้ข้าพเจ้าและคณะได้มีโอกาสเข้าเฝ้าอย่างใกล้ชิด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong>ได้รับยกย่องและเชิดชูเกียรติ<br />\n</strong>   จากคุณความดีที่ท่านได้ปฎิบัติมาแต่ต้น นักข่าวหนังสือพิมพ์วารสาร โทรทัศน์ช่อง ๑๐ หาดใหญ่ ได้นำประวัติของท่านไปลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ดังกล่าว โดยยกย่องว่าเป็น &quot;คนดีชาวใต้&quot;<br />\n   นอกจากหนังสือพิมพ์ดังกล่าวยังมีหนังสือพิมพ์อื่นๆ เช่น สยามรัฐรายวัน วารสารศิลปวัฒนธรรม ฯลฯ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong>ได้รับเชิดชูเกียรติ<br />\n</strong>    เมื่อท่านอายุได้ ๙๐ ปี สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติพร้อมด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา วิทยาลัยครูสงขลา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ สงขลา วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราข ได้ร่วมกันพิจารณาเห็นว่า &quot;ขุนอุปถัมภ์นรากร&quot; เป็นบุคคลที่สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติศิลปินภาคใต้ในการำโนรา ได้ฝึกลูกศิษย์ไว้มากมาย เป็นการรักษาศิลปะการรำประจำภาคใต้ไว้มิให้สูญหาย ประกอบกับขุนอุปถัมภ์นรากร เป็นบุคคลที่มีคุณธรรม ไม่ยุ่งกับอบายมุขมีผลงานดีเด่น จึงมีมติให้จัดงานเชิดชูเกียรติให้เป็น <strong>ศิลปินประจำภาคใต้</strong> แก่ ขุนอุปถัมภ์นรากร ที่จังหวัดพัทลุง เมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๒๓ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong>ได้รับพระราชทานปริญญาครุศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์<br />\n</strong>       เมื่ออายุได้ ๙๓ ปี วิทยาลัยครูสงขลาเสนอขอให้สภาการฝึกหัดครู พิจารณาให้ปริญญากิตติมศักดิ์แก่ขุนอุปถัมภ์นรากร ซึ่งเป็นผู้มีผลงานยอดเยี่ยมควรเชิดชูเกียรติในฐานะเป็นศิลปินยอดเยี่ยมของภาคใต้ เป็นบุคคลที่มีคุณธรรมสูง มีความซื่อสัตย์สุจริต เป็นบุคคลที่บำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป สมควรแก่การยกย่องและเป็นบุคคลที่มีผลงานทางวิชาการดีเด่น ในสาขาวิชาที่เปิดสอนในวิทยาลัยครู และผลงานทางวิชาการนั้นเป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้งแก่บุคคลที่อยู่ในวงการศึกษา สภาการฝึกหัดครูอนุมัติปริญญาดังกล่าว </span><span style=\"font-size: small\"><strong>ได้รับพระราชทานปริญญาครุศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์เป็นบุคคลแรกจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ณ สวนอัมพร ในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๒๖<br />\n</strong>        หลังจากได้รับพระราชทานปริญญาครุศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์แล้ว ก็ได้ล้มป่วยด้วยความชรา ประมาณ ๔ เดือน ก็<strong>ถึงแก่กรรมด้วยความสงบ ในวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๒๖ ณ บ้านพักบ้านหัวถนน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง</strong> </span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: small\">       <strong>สิ่งที่ดิฉันได้รับการสั่งสอนจากครูพุ่มเทวา</strong>  <br />\nเริ่มจากประวัติความเป็นมาของการรำมโนรา มีดังนี้ <br />\n            ครูพุ่มเทวาเล่าว่าโนราเกิดขึ้นครั้งแรกที่ หัวเมืองพัทลุง ปัจจุบันคือ ตำบล บางแก้ว จังหวัด พัทลุง แล้วแพร่ขยายไปยังหัวเมืองต่างๆของภาคใต้ จนไปถึงภาคกลาง และกลายเป็นละครชาตรี และจังหวะ ตะลุง ที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดนี้ โนราเกิดขึ้นในราชสำนักของพัทลุงซึ่งมีตำนานเล่ากันมาว่า เจ้าเมืองพัทลุง มีชื่อว่า พระยาสายฟ้าฟาด มีลูกสาวชื่อ ศรีมาลา ซึ่งมีความสามารถในการร่ายรำมาก ต่อมานางได้เกิดตั้งครรภ์โดยที่ยังไม่ได้แต่งงาน จึงเชื่อกันว่าเป็นท้องกับเทวดา พระยาสายฟ้าฟาดเห็นดังนั้นก็โกรธมาก สั่งให้นำนางศรีมาลาไปลอยแพในทะเล ( คือ ทะเลสาบสงขลา) และแพได้ไปติดที่เกาะใหญ่ นางศรีมาลาจึงให้กำเนิด ลูกชาย โดยตั้งชื่อว่า เทพสิงหล ซึ่งมีนัยความว่า ลูกของเทวดา นางศรีมาลา ได้ฝึกให้เทพสิงหลร่ายรำ ซึ่งเทพสิงหลก็สามารถร่ายรำได้อย่าง สวยงาม และการร่ายรำของเทพสิงหล มีชื่อเสียงมากที่เกาะใหญ่ จนรู้ไปถึงหูพระยาสายฟ้าฟาด ซึ่งพระยาสายฟ้าฟาดก็ยังไม่รู้ว่าเทพสิงหลคือหลานตัวเอง จึงเชิญไปรำในราชสำนัก ฝ่ายนางศรีมาลานั้น ก็น้อยเนื้อต่ำใจเมื่อครั้งที่ถูกลอยแพ ก็บอกกับคนที่มาติดต่อว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\">&quot;โนราคณะนี้จะไปรำได้ แต่ต้องปูผ้าขาวตั้งแต่ริมฝั่งที่ลงจากเรือจนไปถึงตำหนัก&quot; </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             พระยาสายฟ้าฟาดก็ตอบตกลง ดังนั้นเทพสิงหลจึงไปรำในราชสำนัก เทพสิงหลรำ ได้สวยงามมาก จนพระยาสายฟ้าฟาดตกตะลึงในความงดงาม จึงถอดเครื่องทรงที่ทรงอยู่ให้กับเทพสิงหล แล้วบอกว่า &quot;เครื่อง แต่งกายกษัตริย์ชุดนี้มอบให้เป็นเครื่องแต่งกาย ของโนรานับแต่นี้เป็นต้นไป&quot; เทพสิงหลจึง บอกว่าแท้จริงแล้วเป็นหลานของพระยาสาย ฟ้าฟาด พระยาสายฟ้าฟาดจึงรับโนราไว้ ในราชสำนักและให้สิทธิแต่งกายเหมือนกษัตริย์ทุกประการ </span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong>ท่ารำ</strong><br />\n         ท่ารำของโนราไม่มีกฏเกณฑ์ตายตัวว่าทุกคนหรือทุกคณะจะต้องรำเหมือนกัน เพราะการรำโนรา คนรำจะบังคับเครื่องดนตรี หมายถึงคนรำจะรำไปอย่างไรก็ได้แล้วแต่ลีลา หรือความถนัดของแต่ละคน เครื่องดนตรีจะบรรเลงตามท่ารำ เมื่อผู้รำจะเปลี่ยนท่ารำจากท่าหนึ่งไปยังอีกท่าหนึ่ง เครื่องดนตรีจะต้องสามารถเปลี่ยนเพลงได้ตามคนรำ ความจริงแล้วท่ารำที่มีมาแต่กำเนิดนั้นมีแบบแผนแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่ารำในบทครูสอนรำ และบทประถม โดยรับการถ่ายทอดมาเป็นช่วง ๆ ทำให้ท่ารำที่เป็นแบบแผนดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไป เพราะหากจะประมวลท่ารำต่าง ๆของโนราแล้ว จะเห็นว่าเป็นการรำตีท่าตามบทที่ร้องแต่ละบทนี้เองที่เป็นประเด็นหนึ่งที่ทำให้ท่ารำเปลี่ยนแปลงและแตกต่างกันออกไป เพราะท่ารำที่ตีออกมานั้นขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้รำว่าบทอย่างนี้จะตีท่าอย่างไร <br />\nท่ารำที่ค่อนข้างจะแน่นอนว่าเป็นแบบแผนมาแต่เดิมอันเป็นที่ยอมรับของผู้รำโนราจะต้องมีพื้นฐานเบื้องต้น ดังนี้ <br />\n    <strong>การทรงตัวของผู้รำ</strong>   ผู้ที่จะรำโนราได้สวยงามและมีส่วนถูกต้องอยู่มากนั้น จะต้องมีพื้นฐานการทรงตัว ดังนี้ <br />\n        - ช่วงลำตัว จะต้องแอ่นอกอยู่เสมอ หลังจะต้องแอ่นและลำตัวยื่นไปข้างหน้า <br />\n        - ช่วงวงหน้า วงหน้าหมายถึงส่วนลำคอจนถึงศีรษะ จะต้องเชิดหน้าหรือแหงนขึ้นเล็กน้อยในขณะรำ <br />\n        - การย่อตัว การย่อตัวเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง การรำโนรานั้นลำตัวหรือทุกส่วนจะต้องย่อลงเล็กน้อย นอกจากย่อลำตัวแล้ว เข่าก็จะต้องย่อลงด้วย <br />\n        - ส่วนก้น จะต้องงอนเล็กน้อย ช่วงสะเอวจะต้องหัก จึงจะทำให้แลดูแล้วสวยงาม <br />\n        - การเคลื่อนไหว นับว่าเป็นสิ่งจำเป็นอีกอย่าง เพราะการรำโนราจะดีได้นั้น ในขณะที่เคลื่อนไหวลำตัว หรือจะเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งก็ดี เช่น การเดินรำ ถ้าหากส่วนเท้าเคลื่อนไหว ช่วงลำตัวจะต้องนิ่ง ส่วนบนมือและวงหน้าจะไปตามลีลาท่ารำ <br />\n        ท่ารำโนราที่ถือว่าเป็นแม่ท่ามาแต่เดิมนั้นคือ &quot; <strong>ท่าสิบสอง</strong> &quot; </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">สรุปท่ารำโนรา    ท่ารำของโนราที่เป็นหลัก ๆ นั้นเมื่อแกะออกมารวมประมาณ ๘๓ ท่ารำ ดังนี้<br />\nท่าประถม ( ปฐม )  ๔๑  ท่า<br />\n ๑. ตั้งต้นเป็นประถม                                  ๒. ถัดมาพระพรหมสี่หน้า <br />\n ๓. สอดสร้อยห้อยเป็นพวงมาลา                    ๔. เวโหนโยนช้า <br />\n ๕. ให้น้องนอน                                        ๖. พิสมัยร่วมเรียง <br />\n ๗. เคียงหมอน                                        ๘. ท่าต่างกัน <br />\n ๙. หันเป็นมอน                                      ๑๐. มรคาแขกเต้าบินเข้ารัง <br />\n๑๑. กระต่ายชมจันทร์                               ๑๒. จันทร์ทรงกลด <br />\n๑๓. พระรถโยนสาส์น                                ๑๔. มารกลับหลัง <br />\n๑๕. ชูชายนาดกรายเข้าวัง                         ๑๖. กินนรร่อนรำ <br />\n๑๗. เข้ามาเปรียบท่า                               ๑๘. พระรามาน้าวศิลป์ <br />\n๑๙. มัจฉาล่องวาริน                                 ๒๐. หลงไหลไปสิ้นงามโสภา <br />\n๒๑. โตเล่นหาง                                      ๒๒. กวางโยนตัว <br />\n๒๓. รำยั่วเอาแป้งผัดหน้า                          ๒๔. หงส์ทองลอยล่อง <br />\n๒๕. เหราเล่นน้ำ (จรเข้เล่นน้ำ)                    ๒๖. กวางเดินดง <br />\n๒๗. สุริวงศ์ทรงศักดิ์                                ๒๘. ช้างสารหว้านหญ้า <br />\n๒๙. ดูสาน่ารัก                                       ๓๐. พระลักษณ์แผลงศรจรลี<br />\n๓๑. ขี้หนอนฟ้อนฝูง(นางกินรี)                     ๓๒. ยูงฟ้อนหาง <br />\n๓๓. ขัดจางหยางนางรำทั้งสองศรี                ๓๔. นั่งลงให้ได้ที่ <br />\n๓๕. ชักสีซอสามสายย้ายเพลงรำ                 ๓๖. กระบี่ตีท่า <br />\n๓๗. จีนสาวไส้                                      ๓๘. ชะนีร่ายไม้ <br />\n๓๙. เมขลาล่อแก้ว                                 ๔๐. ชักลำนำ <br />\n๔๑. เพลงรำแต่ก่อนครูสอนมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ท่าสิบสอง   ๑๒  ท่า<br />\n๔๒. พนมมือ                                       ๔๓. จีบซ้ายตึงเทียมบ่า <br />\n๔๔. จีบขวาตึงเทียมบ่า                         ๔๕. จับซ้ายเพียงเอว                       <br />\n๔๖. จีบขวาเพียงเอว                             ๔๗. จีบซ้ายไว้หลัง <br />\n๔๘. จีบขวาไว้หลัง                               ๔๙. จีบซ้ายเพียงบ่า <br />\n๕๐. จีบขวาเพียงบ่า                              ๕๑. จีบซ้ายเสมอหน้า <br />\n๕๒. จีบขวาเสมอหน้า                            ๕๓. เขาควาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">บทครูสอนรำ  ๑๖  ท่ารำ<br />\n๕๔. ครูเอยครูสอน                                ๕๕. เสดื้องกร <br />\n๕๖. ต่อง่า                                         ๕๗. ครูสอนให้ผูกผ้า <br />\n๕๘. สอนทรงกำไล                               ๕๙. ครอบเทริดน้อย <br />\n๖๐. จับสร้อยพวงมาลัย                           ๖๑. สอนทรงกำไลใสแขนซ้ายขวา <br />\n๖๒. เสดื้องเยื้องข้างซ้าย                         ๖๓. ตีค่าได้ห้าพารา <br />\n๖๔. เสดื้องเยื้องข้างขวา                         ๖๕. ตีค่าได้ห้าตำลึงทอง <br />\n๖๖. ตีนถับพนัก                                    ๖๗. มือชักแสงทอง <br />\n๖๘. หาไหนจะได้เสมือนน้อง                    ๖๙. ทำนองพระเทวดา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">บทสอนรำ  ๑๔  ท่ารำ<br />\n๗๐. สอนเจ้าเอย                                  ๗๑. สอนรำ <br />\n๗๒. รำเทียมบ่า                                   ๗๓. ปลดปลงลงมา <br />\n๗๔. รำเทียมพก (เอว)                           ๗๕. วาดไว้ฝ่ายอก <br />\n๗๖. ยกเป็นแพนผาหลา                          ๗๗. ยกสูงเสมอหน้า <br />\n๗๘. เรียกช่อระย้าพวงมาลัย                     ๗๙. โคมเวียน <br />\n๘๐. วาดไว้ให้เสมือนรูปเขียน                    ๘๑. กระเชียนปาดตาล <br />\n๘๒. พระพุทธเจ้าห้ามมาร                        ๘๓. พระรามจะข้ามสมุทร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ส่วนภาพท่ารำ  ดิฉันค้นคว้ามาได้เพียงบางท่าค่ะ </span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" />\n</p>\n<p>\n<img border=\"200\" width=\"142\" src=\"/files/u2443/pratom26.jpg\" height=\"250\" />        <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u2443/pratom01.jpg\" height=\"218\" />      <img border=\"0\" width=\"126\" src=\"/files/u2443/pratom30.jpg\" height=\"250\" />\n</p>\n', created = 1719967705, expire = 1720054105, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a706f194abac85175f79ceddb85328db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8627c1bdcba5822724f21fe83d5b4ed3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"150\" src=\"/files/u2443/nora05.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 192px; height: 148px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ภาพนี้ดิฉันค้นพบโดยบังเอิญทางเนต ในภาพมีดิฉันอยู่ด้วยทางซ้ายสุด ผู้ที่อยู่บนสุดคือ </span><a href=\"/node/16662\"><span style=\"font-size: small\">ครูโนราพุ่มเทวา</span></a><span style=\"font-size: small\">  หรือขุนอุปถัมภ์นรากร ซึ่งเป็นอาจารย์สอนรำมโนราที่วิทยาลัยครูสงขลา ภาพนี้ถ่ายเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๔ ขณะนั้นดิฉันเรียนอยู่ที่วิทยาลัยครูสงขลา และเป็นลูกศิษย์ของครูพุ่ม  เอ๊ะ ที่ว่าคนแก่มักคิดถึงความหลัง เห็นท่าจะจริงแล้วล่ะค่ะ  ดิฉันขอเริ่มเรื่องโดยเล่าประวัติของ<br />\nโนราพุ่มเทวา </span>\n</p>\n', created = 1719967705, expire = 1720054105, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8627c1bdcba5822724f21fe83d5b4ed3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความทรงจำที่อยากเล่า

รูปภาพของ souw999

ภาพนี้ดิฉันค้นพบโดยบังเอิญทางเนต ในภาพมีดิฉันอยู่ด้วยทางซ้ายสุด ผู้ที่อยู่บนสุดคือ ครูโนราพุ่มเทวา  หรือขุนอุปถัมภ์นรากร ซึ่งเป็นอาจารย์สอนรำมโนราที่วิทยาลัยครูสงขลา ภาพนี้ถ่ายเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๔ ขณะนั้นดิฉันเรียนอยู่ที่วิทยาลัยครูสงขลา และเป็นลูกศิษย์ของครูพุ่ม  เอ๊ะ ที่ว่าคนแก่มักคิดถึงความหลัง เห็นท่าจะจริงแล้วล่ะค่ะ  ดิฉันขอเริ่มเรื่องโดยเล่าประวัติของ
โนราพุ่มเทวา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 430 คน กำลังออนไลน์