• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:abc8d555331bfeaad8b6b2f7a4fc3077' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n                             การเลี้ยงปลาสวายประเภทเลี้ยงชนิดเดียวนั้น ปัจจุบันมีการเลี้ยงอยู่ 2 วิธีคือเลี้ยงในบ่อดินและเลี้ยง ในกระชัง\n</p>\n<p>\n<br />\n1. การเลี้ยงปลาในบ่อดิน\n</p>\n<p>\n<br />\n                      การเลี้ยงปลาสวายในบ่อดินทำกันมากในภาคกลาง โดยเฉพาะในเขตจังหวัดนครสวรรค์ลงมาถึงสุพรรณบุรี ปทุมธานี\n</p>\n<p>\nและกรุงเทพมหานคร แต่ข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยง การให้อาหารตลอดจนการเจริญเติบโตค่อนข้างจะแตกต่างกันมาก ทั้งนี้เป็น เพราะมี\n</p>\n<p>\nปัจจัยอยู่หลายอย่างที่ทำให้มีข้อแตกต่างดังกล่าว เช่น น้ำและคุณสมบัติของน้ำที่ใช้เลี้ยง อาหารที่ใช้เลี้ยง วิธีการเลี้ยง และการจัดการ\n</p>\n<p>\nตลอดจนการเอาใจใส่ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยที่สำคัญใน การเลี้ยงทั้งนั้น\n</p>\n<p>\n<br />\n                      อย่างไรก็ตามการเลี้ยงปลาสวาย ควรจะได้มีการพิจารณาหลักทั่ว ๆ ไปดังต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n<br />\n                     1.1 ขนาดของบ่อและที่ตั้ง ควรเป็นบ่อขนาดใหญ่ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 1 ไร่ขึ้นไปหรืออย่างน้อยไม่ควร ต่ำกว่า 400\n</p>\n<p>\n                          ตารางเมตร ความลึกประมาณ 2 เมตร ที่ตั้งของบ่อควรใกล้แม่น้ำหรือลำคลองที่สามารถรับน้ำและ ระบายน้ำเข้า\n</p>\n<p>\n                          ออกได้เมื่อต้องการ\n</p>\n<p>\n<br />\n                     1.2 การเตรียมบ่อ ใช้หลักการและวิธีการเดียวกับหลักการเตรียมบ่อเลี้ยงปลาทั่วไป\n</p>\n<p>\n<br />\n                     1.3 น้ำที่เอามาใส่ไว้ในบ่อ ต้องเป็นน้ำที่มีคุณสมบัติมีความเป็นกรด-ด่าง และปริมาณออกซิเจนเหมาะสม\n</p>\n<p>\n<br />\n                     1.4 การคัดเลือกพันธุ์ปลาสำหรับปล่อยลงบ่อเลี้ยงควรพิจารณาถือเอาหลักง่าย ๆ ดังนี้\n</p>\n<p>\n<br />\n                          - เป็นปลาที่สมบูรณ์ ไม่เป็นแผล ไม่แคระแกร็นหรือพิการ และปราศจากโรค\n</p>\n<p>\n<br />\n                          - เป็นปลาขนาดไล่เลี่ยกัน เพราะปลาที่โตแตกต่างกันจะรังแกกันและแย่งอาหาร สู้ตัวโตไม่ได้ เมื่อถึงเวลา จับ\n</p>\n<p>\n                            ขายทำให้มีปัญหา บางทีต้องคัดทำการเลี้ยงต่อไปหรือบางทีมีอุปสรรคในการเลี้ยง\n</p>\n<p>\n<br />\n                    1.5 อัตราการปล่อย ปลาที่ปล่อยควรมีขนาดค่อนข้างโต หรือขนาด 5 - 12 ซม. อัตราการปล่อย 2 - 3 ตัว/\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                         ตารางเมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณณและคุณภาพของอาหาร และความอุดมสมบูรณ์ของน้ำที่ใช้เลี้ยง\n</p>\n<p>\n<br />\n                   1.6 อาหาร ปลาสวายเป็นปลากินอาหารได้ทุกประเภทโดยไม่เลือก ซึ่งได้แก่พืช สัตว์เล็ก ๆ อยู่ในน้ำ เช่น พวกแมลง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        ไส้เดือน หนอนและตะไคร่น้ำ ตลอดจนพวกจอกแหนและผักที่กินใบ นอกจากนั้นปลาสวายยังมีความ สามารถในการ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        ใช้มูลสัตว์จำพวกหมู ไก่ และจำพวก วัว ควาย ให้เป็นอาหารโดยตรงได้อีกด้วย เพราะเหตุนี้เอง ปลาสวายจึงเป็น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        ปลาที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นปลาเลี้ยงแบบไร่ผสมหรือเรียกว่าแบบผสมผสานชนิดหนึ่งที่ได้รับ ความนิยม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        อย่างกว้างขวาง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        การหาวัสดุมาใช้เป็นอาหารของปลาสวายเป็นจุดสำคัญจุดหนึ่งของการเลี้ยงปลาสวายเพราะในการเลี้ยง ปลาสวาย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nให้มีความสำเร็จหรือให้ได้ผลกำไรนั้นอยู่ที่การหาวัสดุมาใช้เป็นอาหาร ถ้าหากการหาวัสดุมาได้ด้วยราคา ถูก การเลี้ยงปลาก็ได้กำไร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nและในทางตรงกันข้ามถ้าวัสดุอาหารหาได้ด้วยราคาแพงก็จะได้กำไรน้อยหรือขาดทุน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                        อาหารที่ใช้เลี้ยงปลาสวายในเขตชานเมืองของกรุงเทพมหานครปทุมธานี และจังหวัดใกล้เคียง ซึ่งเป็นแหล่งผลิต\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nปลาสวาย ส่วนใหญ่จะได้มาจาก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                        - เศษอาหารจากภัตตาคารและร้านค้า\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                        - พวกมูลสัตว์ หรืออาหารจากส่วนที่ย่อยไม่หมดของกระเพาะและลำไส้ของโค กระบือและสุกรจาก โรงฆ่าสัตว์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                       - เศษผักจากสวนผักซึ่งผู้ทำสวนผักตัดและคัดทิ้ง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                       - เศษผักจากตลาดสดที่ถูกตัดทิ้ง ตลอดจนเศษเครื่องในและเหงือกปลาที่แม่ค้าในตลาดควักออกทิ้ง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                       - เศษมันเส้น (จากมันสำปะหลัง) หรือมันเส้น หรือหัวมัน ตลอดจนใบมัน โดยเฉพาะใบมันอาจโยนให้ โดยตรงหรือ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                         ต้มผสมกับวัสดุอื่นให้กิน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                   1.7 การเจริญเติบโต การเลี้ยงปลาสวายในบ่อดินจะใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 8-12 เดือน ปลาสวายจะมีขนาด 1 - 1.5\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        กก. ซึ่งเป็นขนาดที่จำหน่ายได้ใ นท้องตลาดทั่ว ๆ ไป\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                 1.8 การจับ หากทำการจับปลาจำนวนน้อย ให้ใช้แหหรือสวิงแต่ถ้าจำนวนมาก ควรใช้อวนหรือเฝือกสุกล้อม หากเป็นบ่อ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                       ขนาดใหญ่ให้แบ ่งตอนของบ่อด้วยเฝือกหรืออวนก่อน แล้วใช้อวนล้อมสกัดจับส่วนที่ต้องการ ออก เพื่อไม่ให้ปลาใน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                       บริเวณที่เหลือมีอาการตื่นตกใจตามไปด้วย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n                 1.9 ผลผลิต ปลาที่เลี้ยงในบ่อดินจะมีผลผลิตในระยะ 8 - 12 เดือน ประมาณ 4,000 - 6,000 กก./ไร่ ทั้งนี้แล้วแต่\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                      ความอุดมสมบูรณ์ของอาหารที่ให้และน้ำที่ใช้เลี้ยง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"309\" src=\"/files/u2458/sw5.jpg\" height=\"243\" style=\"width: 221px; height: 172px\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n                                          การแก้ปัญหากลิ่นสาบโคลนของปลาสวายที่เลี้ยงในบ่อ\n</p>\n<p>\n<br />\n                      จากการเลี้ยงปลาสวายในบ่อโดยเฉพาะที่เลี้ยงอย่างหนาแน่นนั้น มักจะมีกลิ่นสาบโคลนเมื่อนำมาทำเป็น อาหาร การ\n</p>\n<p>\nแก้ปัญหากลิ่นสาบโคลนมีดังนี้\n</p>\n<p>\n<br />\n                     - ถ่ายเทน้ำที่เลี้ยงปลาติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง ก่อนจะนำปลาสวายไปจำหน่ายหรือทำอาหาร\n</p>\n<p>\n<br />\n                     - ก่อนจะนำไปจำหน่ายหรือทำอาหาร ควรจับปลาหรือถ่ายปลาจากบ่อใหม่ที่มีน้ำสะอาดและถ่ายเทได้ พอสมควร\n</p>\n<p>\n                       แล้วให้อาหารจำพวกปลายข้าวต้มผสมรำก่อนนำไปจำหน่าย 2 - 3 วัน จะทำให้ปลามีกลิ่นดีขึ้นเมื่อ ทำอาหาร\n</p>\n<p>\n2. การเลี้ยงปลาในกระชัง\n</p>\n<p>\n<br />\n                       การเลี้ยงปลาสวายในกระชังนั้น เป็นการเลี้ยงที่ให้ผลผลิตสูงกว่าการเลี้ยงในบ่อดิน เป็นการเลี้ยงที่ได้รับ ความนิยม\n</p>\n<p>\nอย่างมาก จากราษฎรที่อาศัยเรือนแพในแม่น้ำ ลำคลองแถบภาคกลาง เช่น จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี พระนครศรีอยุธยา ฯลฯ หลัก\n</p>\n<p>\nเกณฑ์การเลี้ยงปลาสวายในกระชังมีดังนี้\n</p>\n<p>\n<br />\n                       1. ที่ตั้งของกระชัง ควรตั้งในแหล่งน้ำจืดที่มีน้ำไหลถ่ายเทได้ เช่น แม่น้ำ ลำคลอง หากจะเลี้ยงในอ่างเก็บน้ำควรตั้ง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                           กระชังให้อยู่ในบริเวณตอนบนของอ่าง ซึ่งมีกระแสน้ำพอที่จะช่วยถ่ายเทของเสียจากกระชังได้บ้างก็จะเป็นการดี\n</p>\n<p>\n<br />\n                       2. วัสดุที่ใช้สร้างกระชัง ส่วนใหญ่นิยมทำด้วยไม้เนื้อแข็ง และจะมีอยู่บ้างที่ยังใช้ไม้ไผ่สานทำเป็นกระชัง นอกจาก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nนั้นก็มีการใช้เนื้ออวนโพลีเอททีลิน แต่ยังไม่แพร่หลายมากนัก ในการใช้วัสดุพยุงกระชังให้ลอยน้ำนั้นนิยม ใช้ไม้ไผ่มัดเป็นแพลูกบวบ\n</p>\n<p>\n<br />\n                       3. ขนาดของกระชัง ส่วนใหญ่ถ้าเป็นกระชังไม้หรืออวนจะมีขนาด 8 - 15 ตารางเมตร ลึก 1.25 - 1.50 เมตร และ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                           ถ้าเป็นไม้ไผ่สานจะมีขนาด 2 x 5 x 1.5 เมตร\n</p>\n<p>\n<br />\n                       4. อัตราการปล่อย ปลาที่ปล่อยเลี้ยงในกระชังขนาด 7 - 12 ซม. ปล่อยในอัตรา 100 - 200 ตัว/ตารางเมตร\n</p>\n<p>\n<br />\n                       5. อาหารและการให้อาหาร ใช้อาหารและส่วนประกอบของอาหารที่เลี้ยงในบ่อ แต่มีข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับ\n</p>\n<p>\n                           การให้อาหารปลาที่เลี้ยงในกระชังนั้น อาหารอาจจะฟุ้งกระจายขณะที่ปลาสวายแย่งกันกินอาหาร จะมีส่วนสูญ\n</p>\n<p>\n                           เสียอยู่จำนวนหนึ่งอาจแก้ไขได้โดยใส่สารเหนียวผสมในอาหารที่ให้ควรจะให้วันละ 1 ครั้ง ในปริมาณ 3 - 5\n</p>\n<p>\n                           เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว\n</p>\n<p>\n<br />\n                       6. การเจริญเติบโต ขึ้นอยู่กับปริมาณและคุณภาพของอาหารที่ให้ หากเป็นกระชังขนาดประมาณ 10 ตารางเมตร\n</p>\n<p>\n                           ลึก 1.25 เมตร ปล่อยปลา 150 - 200 ตัว/ตารางเมตร ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 1 ปี จะให้ผลผลิตประมาณ\n</p>\n<p>\n                           1,500 กก./กระชัง\n</p>\n<p>\n<br />\n                       7. การจับและลำเลียงส่งตลาด การจับปลาสวายที่เลี้ยงในกระชังนั้น ทำง่าย ๆ แบบใช้อวนล้อมจับในกระชังซึ่ง\n</p>\n<p>\n                           ง่ายกว่าการ จับในบ่อมาก\n</p>\n<p>\n                                                                                                                  <br />\n                           การลำเลียงทางบกเพื่อให้ได้ปลามีชีวิตไปขายในตลาด ทำได้ง่าย ๆ โดยรถยนต์โดยเฉพาะรถปิกอัพ ใช้ ถังสี่\n</p>\n<p>\nเหลี่ยมขังน้ำประมาณเพียงเพื่อให้ท่วมปลา แล้วใช้อวนปิดถัง การลำเลียงแบบนี้ควรทำตอนเช้ามืดหรือ กลางวันซึ่งมีอากาศเย็นจะได้\n</p>\n<p>\nผลดีมาก\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n--------------------------------------------------------------------------------\n</p>\n', created = 1727530569, expire = 1727616969, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:abc8d555331bfeaad8b6b2f7a4fc3077' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเลี้ยงปลาสวาย

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


                             การเลี้ยงปลาสวายประเภทเลี้ยงชนิดเดียวนั้น ปัจจุบันมีการเลี้ยงอยู่ 2 วิธีคือเลี้ยงในบ่อดินและเลี้ยง ในกระชัง


1. การเลี้ยงปลาในบ่อดิน


                      การเลี้ยงปลาสวายในบ่อดินทำกันมากในภาคกลาง โดยเฉพาะในเขตจังหวัดนครสวรรค์ลงมาถึงสุพรรณบุรี ปทุมธานี

และกรุงเทพมหานคร แต่ข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยง การให้อาหารตลอดจนการเจริญเติบโตค่อนข้างจะแตกต่างกันมาก ทั้งนี้เป็น เพราะมี

ปัจจัยอยู่หลายอย่างที่ทำให้มีข้อแตกต่างดังกล่าว เช่น น้ำและคุณสมบัติของน้ำที่ใช้เลี้ยง อาหารที่ใช้เลี้ยง วิธีการเลี้ยง และการจัดการ

ตลอดจนการเอาใจใส่ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยที่สำคัญใน การเลี้ยงทั้งนั้น


                      อย่างไรก็ตามการเลี้ยงปลาสวาย ควรจะได้มีการพิจารณาหลักทั่ว ๆ ไปดังต่อไปนี้


                     1.1 ขนาดของบ่อและที่ตั้ง ควรเป็นบ่อขนาดใหญ่ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 1 ไร่ขึ้นไปหรืออย่างน้อยไม่ควร ต่ำกว่า 400

                          ตารางเมตร ความลึกประมาณ 2 เมตร ที่ตั้งของบ่อควรใกล้แม่น้ำหรือลำคลองที่สามารถรับน้ำและ ระบายน้ำเข้า

                          ออกได้เมื่อต้องการ


                     1.2 การเตรียมบ่อ ใช้หลักการและวิธีการเดียวกับหลักการเตรียมบ่อเลี้ยงปลาทั่วไป


                     1.3 น้ำที่เอามาใส่ไว้ในบ่อ ต้องเป็นน้ำที่มีคุณสมบัติมีความเป็นกรด-ด่าง และปริมาณออกซิเจนเหมาะสม


                     1.4 การคัดเลือกพันธุ์ปลาสำหรับปล่อยลงบ่อเลี้ยงควรพิจารณาถือเอาหลักง่าย ๆ ดังนี้


                          - เป็นปลาที่สมบูรณ์ ไม่เป็นแผล ไม่แคระแกร็นหรือพิการ และปราศจากโรค


                          - เป็นปลาขนาดไล่เลี่ยกัน เพราะปลาที่โตแตกต่างกันจะรังแกกันและแย่งอาหาร สู้ตัวโตไม่ได้ เมื่อถึงเวลา จับ

                            ขายทำให้มีปัญหา บางทีต้องคัดทำการเลี้ยงต่อไปหรือบางทีมีอุปสรรคในการเลี้ยง


                    1.5 อัตราการปล่อย ปลาที่ปล่อยควรมีขนาดค่อนข้างโต หรือขนาด 5 - 12 ซม. อัตราการปล่อย 2 - 3 ตัว/

 

                         ตารางเมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณณและคุณภาพของอาหาร และความอุดมสมบูรณ์ของน้ำที่ใช้เลี้ยง


                   1.6 อาหาร ปลาสวายเป็นปลากินอาหารได้ทุกประเภทโดยไม่เลือก ซึ่งได้แก่พืช สัตว์เล็ก ๆ อยู่ในน้ำ เช่น พวกแมลง

 

                        ไส้เดือน หนอนและตะไคร่น้ำ ตลอดจนพวกจอกแหนและผักที่กินใบ นอกจากนั้นปลาสวายยังมีความ สามารถในการ

 

                        ใช้มูลสัตว์จำพวกหมู ไก่ และจำพวก วัว ควาย ให้เป็นอาหารโดยตรงได้อีกด้วย เพราะเหตุนี้เอง ปลาสวายจึงเป็น

 

                        ปลาที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นปลาเลี้ยงแบบไร่ผสมหรือเรียกว่าแบบผสมผสานชนิดหนึ่งที่ได้รับ ความนิยม

 

                        อย่างกว้างขวาง

 

                        การหาวัสดุมาใช้เป็นอาหารของปลาสวายเป็นจุดสำคัญจุดหนึ่งของการเลี้ยงปลาสวายเพราะในการเลี้ยง ปลาสวาย

 

ให้มีความสำเร็จหรือให้ได้ผลกำไรนั้นอยู่ที่การหาวัสดุมาใช้เป็นอาหาร ถ้าหากการหาวัสดุมาได้ด้วยราคา ถูก การเลี้ยงปลาก็ได้กำไร

 

และในทางตรงกันข้ามถ้าวัสดุอาหารหาได้ด้วยราคาแพงก็จะได้กำไรน้อยหรือขาดทุน

 


                        อาหารที่ใช้เลี้ยงปลาสวายในเขตชานเมืองของกรุงเทพมหานครปทุมธานี และจังหวัดใกล้เคียง ซึ่งเป็นแหล่งผลิต

 

ปลาสวาย ส่วนใหญ่จะได้มาจาก

 


                        - เศษอาหารจากภัตตาคารและร้านค้า

 


                        - พวกมูลสัตว์ หรืออาหารจากส่วนที่ย่อยไม่หมดของกระเพาะและลำไส้ของโค กระบือและสุกรจาก โรงฆ่าสัตว์

 


                       - เศษผักจากสวนผักซึ่งผู้ทำสวนผักตัดและคัดทิ้ง

 


                       - เศษผักจากตลาดสดที่ถูกตัดทิ้ง ตลอดจนเศษเครื่องในและเหงือกปลาที่แม่ค้าในตลาดควักออกทิ้ง

 


                       - เศษมันเส้น (จากมันสำปะหลัง) หรือมันเส้น หรือหัวมัน ตลอดจนใบมัน โดยเฉพาะใบมันอาจโยนให้ โดยตรงหรือ

 

                         ต้มผสมกับวัสดุอื่นให้กิน

 


                   1.7 การเจริญเติบโต การเลี้ยงปลาสวายในบ่อดินจะใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 8-12 เดือน ปลาสวายจะมีขนาด 1 - 1.5

 

                        กก. ซึ่งเป็นขนาดที่จำหน่ายได้ใ นท้องตลาดทั่ว ๆ ไป

 


                 1.8 การจับ หากทำการจับปลาจำนวนน้อย ให้ใช้แหหรือสวิงแต่ถ้าจำนวนมาก ควรใช้อวนหรือเฝือกสุกล้อม หากเป็นบ่อ

 

                       ขนาดใหญ่ให้แบ ่งตอนของบ่อด้วยเฝือกหรืออวนก่อน แล้วใช้อวนล้อมสกัดจับส่วนที่ต้องการ ออก เพื่อไม่ให้ปลาใน

 

                       บริเวณที่เหลือมีอาการตื่นตกใจตามไปด้วย

 


                 1.9 ผลผลิต ปลาที่เลี้ยงในบ่อดินจะมีผลผลิตในระยะ 8 - 12 เดือน ประมาณ 4,000 - 6,000 กก./ไร่ ทั้งนี้แล้วแต่

 

                      ความอุดมสมบูรณ์ของอาหารที่ให้และน้ำที่ใช้เลี้ยง

 

 


                                          การแก้ปัญหากลิ่นสาบโคลนของปลาสวายที่เลี้ยงในบ่อ


                      จากการเลี้ยงปลาสวายในบ่อโดยเฉพาะที่เลี้ยงอย่างหนาแน่นนั้น มักจะมีกลิ่นสาบโคลนเมื่อนำมาทำเป็น อาหาร การ

แก้ปัญหากลิ่นสาบโคลนมีดังนี้


                     - ถ่ายเทน้ำที่เลี้ยงปลาติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง ก่อนจะนำปลาสวายไปจำหน่ายหรือทำอาหาร


                     - ก่อนจะนำไปจำหน่ายหรือทำอาหาร ควรจับปลาหรือถ่ายปลาจากบ่อใหม่ที่มีน้ำสะอาดและถ่ายเทได้ พอสมควร

                       แล้วให้อาหารจำพวกปลายข้าวต้มผสมรำก่อนนำไปจำหน่าย 2 - 3 วัน จะทำให้ปลามีกลิ่นดีขึ้นเมื่อ ทำอาหาร

2. การเลี้ยงปลาในกระชัง


                       การเลี้ยงปลาสวายในกระชังนั้น เป็นการเลี้ยงที่ให้ผลผลิตสูงกว่าการเลี้ยงในบ่อดิน เป็นการเลี้ยงที่ได้รับ ความนิยม

อย่างมาก จากราษฎรที่อาศัยเรือนแพในแม่น้ำ ลำคลองแถบภาคกลาง เช่น จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี พระนครศรีอยุธยา ฯลฯ หลัก

เกณฑ์การเลี้ยงปลาสวายในกระชังมีดังนี้


                       1. ที่ตั้งของกระชัง ควรตั้งในแหล่งน้ำจืดที่มีน้ำไหลถ่ายเทได้ เช่น แม่น้ำ ลำคลอง หากจะเลี้ยงในอ่างเก็บน้ำควรตั้ง

 

                           กระชังให้อยู่ในบริเวณตอนบนของอ่าง ซึ่งมีกระแสน้ำพอที่จะช่วยถ่ายเทของเสียจากกระชังได้บ้างก็จะเป็นการดี


                       2. วัสดุที่ใช้สร้างกระชัง ส่วนใหญ่นิยมทำด้วยไม้เนื้อแข็ง และจะมีอยู่บ้างที่ยังใช้ไม้ไผ่สานทำเป็นกระชัง นอกจาก

 

นั้นก็มีการใช้เนื้ออวนโพลีเอททีลิน แต่ยังไม่แพร่หลายมากนัก ในการใช้วัสดุพยุงกระชังให้ลอยน้ำนั้นนิยม ใช้ไม้ไผ่มัดเป็นแพลูกบวบ


                       3. ขนาดของกระชัง ส่วนใหญ่ถ้าเป็นกระชังไม้หรืออวนจะมีขนาด 8 - 15 ตารางเมตร ลึก 1.25 - 1.50 เมตร และ

 

                           ถ้าเป็นไม้ไผ่สานจะมีขนาด 2 x 5 x 1.5 เมตร


                       4. อัตราการปล่อย ปลาที่ปล่อยเลี้ยงในกระชังขนาด 7 - 12 ซม. ปล่อยในอัตรา 100 - 200 ตัว/ตารางเมตร


                       5. อาหารและการให้อาหาร ใช้อาหารและส่วนประกอบของอาหารที่เลี้ยงในบ่อ แต่มีข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับ

                           การให้อาหารปลาที่เลี้ยงในกระชังนั้น อาหารอาจจะฟุ้งกระจายขณะที่ปลาสวายแย่งกันกินอาหาร จะมีส่วนสูญ

                           เสียอยู่จำนวนหนึ่งอาจแก้ไขได้โดยใส่สารเหนียวผสมในอาหารที่ให้ควรจะให้วันละ 1 ครั้ง ในปริมาณ 3 - 5

                           เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว


                       6. การเจริญเติบโต ขึ้นอยู่กับปริมาณและคุณภาพของอาหารที่ให้ หากเป็นกระชังขนาดประมาณ 10 ตารางเมตร

                           ลึก 1.25 เมตร ปล่อยปลา 150 - 200 ตัว/ตารางเมตร ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 1 ปี จะให้ผลผลิตประมาณ

                           1,500 กก./กระชัง


                       7. การจับและลำเลียงส่งตลาด การจับปลาสวายที่เลี้ยงในกระชังนั้น ทำง่าย ๆ แบบใช้อวนล้อมจับในกระชังซึ่ง

                           ง่ายกว่าการ จับในบ่อมาก

                                                                                                                 
                           การลำเลียงทางบกเพื่อให้ได้ปลามีชีวิตไปขายในตลาด ทำได้ง่าย ๆ โดยรถยนต์โดยเฉพาะรถปิกอัพ ใช้ ถังสี่

เหลี่ยมขังน้ำประมาณเพียงเพื่อให้ท่วมปลา แล้วใช้อวนปิดถัง การลำเลียงแบบนี้ควรทำตอนเช้ามืดหรือ กลางวันซึ่งมีอากาศเย็นจะได้

ผลดีมาก


--------------------------------------------------------------------------------

สร้างโดย: 
นายสุรินทร์ ขันหล่อ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 315 คน กำลังออนไลน์