• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e1a12ec6af20dee17ec2c91faa35a9ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ห้ามลบ</b> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial; color: #333333\">    </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial; color: #333333\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"color: #0000ff\"><img src=\"/files/u2452/c2.jpg\" border=\"0\" width=\"246\" height=\"248\" /> </span></b>\n</div>\n<p>\n<b><span style=\"color: #0000ff\">  </span></b><b><span style=\"color: #0000ff\"> <span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\"> </span> </span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\"><b><span style=\"color: #0000ff\">   </span></b></span>\n</p>\n<p></p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\"><span><b>        <span style=\"color: #0000ff\">บรรยากาศ</span><br />\n</b>        บรรยากาศ คือ อากาศที่ห่หุ้มโลกเราอยู่โดยรอบ</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\">  โดยมีขอบเขตนับจากระดับน้ำทะเลขึ้นไปประมาณ 1,000 กิโลเมตร  บริเวณใกล้พื้นดินอากาศจะมีความหนาแน่นมากและจะลดลงเมื่ออยู่สูงขึ้นไปจากระดับพื้นดินบริเวณใกล้พื้นดิน</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\"> \n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: tahoma,tahoma,tahoma\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333\" lang=\"TH\">        <span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"color: #0000ff\">ความสำคัญของบรรยากาศ</span><br />\n</b></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333\" lang=\"TH\">tahomaบรรยากาศมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต ดังนี้<br />\n</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333\" lang=\"TH\"> 1. ช่วยปรับอุณหภูมิบนผิวโลกไม่ให้สูงหรือต่ำเกินไป เพื่อให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้<br />\n2. ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีและอนุภาคต่างๆที่มาจากภายนอกโลก เช่น ช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตไม่ให้ส่องผ่ายมายังผิวโลกมากเกินไป ช่วยทำให้วัตถุจากภายนอกโลกที่ถูกแรงดึงดูดของโลกดึงเข้ามาเกิดการลุกไหม้หรือมีขนาดเล็กลงก่อนตกถึงพื้นโลก</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span langtahoma=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; color: #333333\"><img src=\"/files/u2452/c3.gif\" border=\"0\" width=\"350\" height=\"202\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\">        <span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"color: #0000ff\">องค์ประกอบของบรรยากาศ<br />\n</span></b>        </span><span style=\"color: #000000\">บรรยากาศหรืออากาศ จัดเป็นของผสม ซึ่งประกอบไปด้วยแก๊สต่าง ๆ เช่น แก๊สไนโตนเจน (N<sub>2</sub>) แก๊สออกซิเจน (O<sub>2</sub>)แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO<sub>2</sub>)แก๊สอาร์กอน ( Ar ) ฝุ่นละออง  และแก๊สอื่น ๆ เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u2452/c4.gif\" border=\"0\" width=\"230\" height=\"210\" /> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<b></b>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\">             <span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"color: #0000ff\">การแบ่งชั้นบรรยากาศ<br />\n</span></b>            </span><span style=\"color: #000000\"> </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">นักวิทยาศาสตร์แบ่งโครงสร้างของบรรยากาศของเป็นชั้นๆ โดยใช้เกณฑ์ต่างๆ กัน อาทิ แบ่งตามสัดส่วนของก๊าซ แบ่งตามคุณสมบัติทางไฟฟ้า แต่ในการศึกษาด้านอุตุนิยมวิทยาแล้ว เราแบ่งชั้นบรรยากาศตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ดังนี้<br />\n<span style=\"color: #008000\"><b>1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) <br />\n</b></span>                  เป็นบรรยากาศชั้นล่างสุดที่เราอาศัย มีความหนาประมาณ 10 - 15 กิโลเมตร ร้อยละ 80 ของมวลอากาศทั้งหมดอยู่ในบรรยากาศชั้นนี้ แหล่งกำเนิดความร้อนของโทรโพสเฟียร์คือ พื้นผิวโลกซึ่งดูดกลืนรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ และแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา ดังนั้นยิ่งสูงขึ้นไปอุณหภูมิจะลดต่ำลงในอัตรา 6.5°C ต่อ 1 กิโลเมตร จนกระทั่งระยะสูงประมาณ 12 กิโลเมตร อุณหภูมิจะคงที่ประมาณ -60°C ที่รอยต่อชั้นบนซึ่งเรียกว่า โทรโพพอส (Tropopause) <br />\nโทรโพสเฟียร์มีไอน้ำอยู่จำนวนมาก จึงทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำฟ้าต่างๆ เช่น เมฆ พายุ ฝน เป็นต้น บรรยากาศชั้นนี้มักปรากฏสภาพอากาศรุนแรง เนื่องจากมีมวลอากาศอยู่หนาแน่น และการดูดคายความร้อนแฝง อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนสถานะของน้ำในอากาศ รวมทั้งอิทธิพลทางภูมิศาสตร์ของพื้นผิวโลก<br />\n<b><span style=\"color: #008000\"> 2. สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere)</span></b><br />\nมวลอากาศในชั้นนี้มีร้อยละ 19.9 ของมวลอากาศทั้งหมด เหนือระดับโทรโพพอสขึ้นไป อุณหภูมิยิ่งสูงขึ้นในอัตรา 2°C ต่อ 1 กิโลเมตร เนื่องจากโอโซนที่ระยะสูง 48 กิโลเมตร ดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอาทิตย์เอาไว้ บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มีความสงบมากกว่าชั้นโทรโพสเฟียรส์ เครื่องบินไอพ่นจึงนิยมบินในตอนล่างของบรรยากาศชั้นนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงสภาพอากาศที่รุนแรงในชั้นโทรโพสเฟียร์<br />\n<b><span style=\"color: #008000\">3.  เมโซสเฟียร์ (Mesosphere)</span></b><br />\nเหนือสตราโตรสเฟียรส์ขึ้นไป อุณหภูมิลดต่ำลงอีกครั้ง จนถึง -90°C ที่ระยะสูง 80 กิโลเมตร ทั้งนี้เนื่องจากห่างจากแหล่งความร้อนในชั้นโอโซนออกไป มวลอากาศในชั้นนี้มีไม่ถึงร้อยละ 0.1 ของมวลอากาศทั้งหมด <br />\n<span style=\"color: #008000\"><b>4.  เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere)<br />\n</b></span>                   มวลอากาศในชั้นเทอร์โมสเฟียร์มิได้อยู่ในสถานะของก๊าซ หากแต่อยู่ในสถานะของประจุไฟฟ้า เนื่องจากอะตอมของก๊าซไนโตรเจนและออกซิเจนในบรรยากาศชั้นบน ได้รับรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ เช่น รังสีเอ็กซ์ และแตกตัวเป็นประจุ อย่างไรก็ตามแม้ว่าบรรยากาศชั้นนี้จะมีอุณหภูมิสูงมาก แต่ก็มิได้มีความร้อนมาก เนื่องจากมีอะตอมของก๊าซอยู่เบาบางมาก (อุณหภูมิเป็นเพียงค่าเฉลี่ยของพลังงานในแต่ละอะตอม ปริมาณความร้อนขึ้นอยู่กับมวลทั้งหมดของสสาร)<br />\nเหนือชั้นเทอร์โมสเฟียร์ขึ้นไป ที่ระยะสูงประมาณ 500 กิโลเมตร โมเลกุลของอากาศอยู่ห่างไกลกันมาก จนอาจมิสามารถวิ่งชนกับโมเลกุลอื่นได้ ในบางครั้งโมเลกุลซึ่งเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงเหล่านี้ อาจหลุดพ้นอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงโลก เราเรียกบรรยากาศในชั้นที่อะตอมหรือโมเลกุลของอากาศมีแนวโน้มจะหลุดหนีไปสู่อวกาศนี้ว่า <span style=\"color: #008000\"><b>“เอ็กโซสเฟียร์” (Exosphere)</b></span></span></span> \n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><br />\n<span style=\"color: #ff0000\">หมายเหตุ:</span> บางครั้งเราเรียกบรรยากาศที่ระดับความสูง 80 - 400 กิโลเมตร ว่า “ไอโอโนสเฟียร์” (Ionosphere) เนื่องจากก๊าซในบรรยากาศชั้นนี้มีสถานะเป็นประจุไฟฟ้า ซึ่งมีประโยชน์ในการสะท้อนคลื่นวิทยุสำหรับการสื่อสารโทรคมนาคม </span></span>\n</p>\n<p></p></span>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><b>อุณหภูมิของอากาศ</b> </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'tahoma\'; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><img src=\"/files/u2452/c5.gif\" style=\"width: 377px; height: 340px\" border=\"0\" width=\"400\" height=\"359\" /></b></span> \n</div>\n<p>\n<br />\nอากาศในช่วงประมาณ 0 -10 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล นักวิทยาศาสตร์พบว่า ยิ่งสูงขึ้นไปจากพื้นโลกอุณหภูมิยิ่งลดลง เนื่องจากผิวโลกเมื่อได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ในเวลากลาวันจะดูดกลืนความร้อนเอาไว้และจะคายความร้อนให้แก่บรรยากาศของโลกในเวลากลางคืน  ดังนั้น บรรยากาศในระดับสูงจะเย็นกว่าบรรยากาศเหนือพื้นดิน\n</p>\n<p align=\"center\">\nตารางแสดงอุณหภูมิของอากาศที่ระดับความสูงต่างๆกัน\n</p>\n<table align=\"center\" border=\"1\" width=\"350\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n ความสูงจากระดับน้ำทะเล ( km )\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n อุณหภูมิของอากาศ (องศาเซลเซียส )\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 0\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 27.5 \n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 1\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 22.0\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 2\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 16.5\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 3\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 11.0\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 4\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 5.5\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 5\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 0\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 6\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n -5.5\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 7\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n -11.0\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 8\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n -16.5\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 9\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n -22.0\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n 10\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n -27.5\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\nจากข้อมูลในตาราง สรุปได้ว่า ในช่วงระดับความสูงไม่เกิน10 กิโลเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศจะลดลง 6 องศาเซลเซียส เมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้นทุกๆ 1 กิโลเมตร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><b>แหล่งอ้างอิง</b></span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><a href=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2412211100/\">http://www.Maceducation.com/e-knowledge/2412211100/</a></span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; font-family: tahoma; color: #333333\" lang=\"TH\"><a href=\"http://www.lesa.in.th/6/atm_structure/atm_structure/atm_structure.html\">http://www.lesa.in.th/6/atm_structure/atm_structure/atm_structure.html</a><br />\n </span></li>\n</ul>\n<p></p>\n', created = 1714316140, expire = 1714402540, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e1a12ec6af20dee17ec2c91faa35a9ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บรรยากาศ

รูปภาพของ momo

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


   

        

        บรรยากาศ
        บรรยากาศ คือ อากาศที่ห่หุ้มโลกเราอยู่โดยรอบ
  โดยมีขอบเขตนับจากระดับน้ำทะเลขึ้นไปประมาณ 1,000 กิโลเมตร  บริเวณใกล้พื้นดินอากาศจะมีความหนาแน่นมากและจะลดลงเมื่ออยู่สูงขึ้นไปจากระดับพื้นดินบริเวณใกล้พื้นดิน

        ความสำคัญของบรรยากาศ
tahomaบรรยากาศมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต ดังนี้
 1. ช่วยปรับอุณหภูมิบนผิวโลกไม่ให้สูงหรือต่ำเกินไป เพื่อให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
2. ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีและอนุภาคต่างๆที่มาจากภายนอกโลก เช่น ช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตไม่ให้ส่องผ่ายมายังผิวโลกมากเกินไป ช่วยทำให้วัตถุจากภายนอกโลกที่ถูกแรงดึงดูดของโลกดึงเข้ามาเกิดการลุกไหม้หรือมีขนาดเล็กลงก่อนตกถึงพื้นโลก

        องค์ประกอบของบรรยากาศ
       
บรรยากาศหรืออากาศ จัดเป็นของผสม ซึ่งประกอบไปด้วยแก๊สต่าง ๆ เช่น แก๊สไนโตนเจน (N2) แก๊สออกซิเจน (O2)แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)แก๊สอาร์กอน ( Ar ) ฝุ่นละออง  และแก๊สอื่น ๆ เป็นต้น

 

สร้างโดย: 
นางเรไร แสงทอง โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี 15110
รูปภาพของ stnrachadaporn

หนิงก็เริ่มทำบ้างแล้วนะ แต่คงสู้พี่โมไม่ได้ เพิ่งอบรมวันนี้เอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 416 คน กำลังออนไลน์