• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:513d5509de4a1999b050f4687756ed65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span><strong>ห้ามลบ</strong> ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n  ระบบย่อยอาหาร<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" />\n</div>\n<p><span class=\"style30\"></span></p>\n<div>\n<table border=\"0\" width=\"90%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span class=\"style28\"><span style=\"font-size: small\">    </span></span>   ระบบย่อยอาหาร เป็นกระบวนการแปรรูปอาหารที่ร่างกาย รับเข้ามาให้กลายไปเป็นพลังงานและสารประกอบสำคัญส่ง เข้าสู่ กระแสเลือด เพื่อให้ร่างกายนำไปใช้ประโยชน์ในการ เสริมสร้างอวัยวะต่างๆ เพื่อให้ร่างกายสามารถดำเนินกิจ กรรมต่างๆได้ตามปกติสุข </p>\n<p>         ลองมาลงลึกในราละเอียดเพิ่มเติมกัน ระบบย่อยอาหารนั้นคือระบบการเตรียม อาหารก่อนที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่ ร่างกายเดยมีการสัมพันธ์กันมากมายเริ่มตั้ง แต่เมื่อนึกถึงอาหารขึ้นมา เราจะเกิดอาการน้ำลายสอนั้นแสดงให้เห็นถึงกระบวนการย่อยอาหาร ได้เริ่มต้นแล้ว ยิ่งเมื่อได้กลิ่น ได้เห็นสีสันได้ลิ้มรส อาหาร น้ำลายจะเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับเริ่มมีการหลั่งของน้ำย่อย เพิ่มมากขึ้น แต่ถ้าอาหารนั้นไม่ถูกปาก กระบวนการต่อเนื่องจะหยุดชงักลงทันที แต่ถ้าอร่อยถูกปากทุกอย่างก็จะดำเนินการต่อไปสู่กระบวนการนำอาหารเข้าปากมี การบดเคี้ยวผสมผสานกับน้ำลายอย่างละเอียดนี้เป็นจุดเริ่มต้นของระบบการย่อยอาหารโดยอาหารชิ้นโตๆคำโตๆจะถูกบดเคี้ยวให้เล็กลง ในขั้นตอนนี้ถ้าให้<br />\n เวลาในการบดเคี้ยวให้ละเอียด ก็เป็นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ ย่อยได้ดีขึ้น ดีกว่าการกินแบบลวกๆเคี้ยวไม่ทันไรก็กลืนอาหารเลย เพราะการ เคี้ยวให้ละอียดจะเป็นการเพิ่มพื้นทีผิวของอาหารให้เอนไซม์ในน้ำลายเข้าไป จับตัวกับอาหารได้มากขึ้นแล้วเกิดการย่อยอาหารขั้นต้น โดยเอนไซม์ในน้ำลายจะเริ่มทำปฏิกริยาและย่อยอาหารพวกแป้งและน้ำตาลเมื่ออาหารถูกกลืนผ่าน หลอดอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร ในบริเวณนี้อาหารจะพักอยู่ใรฃนกระเพาะ นานประมาณ ชั่วโมงในกระเพาะอาหารนี้อาหารจะถูกบีบรัดตัวให้คลุกเคล้า กับน้ำย่อยซึ่งมีสภาพความเป็นกรดสูง โดยน้ำย่อยในกระเพาะนี้จะย่อยสลาย อาหารพวกโปรตีนให้มีการแตกตัวให้มีขนาดเล็กลง อาหารจะเริ่มมีสภาพ เปื่อยยุ่ยมากขึ้น แล้วอาหารจะเริ่มเคลื่อนตัวลงไปยังลำไส้เล็กต่อไป ในส่วน กระเพาะนี้จะมีการดูดซึม เข้าสู่ร่างกายเพียงเล็กน้อยเท่านั้น\n </p>\n<p align=\"left\" class=\"style25\">\n <span class=\"style28\"><span style=\"font-size: small\">       </span></span><span class=\"style33\"><span style=\"color: #000000\"> อาหารที่ถูกย่อยมากแล้วเมื่อเดินทางมาถึงลำไส้เล็กสภาพความเป็นกรดของอาหารจะถูกเจือจางจน หมดความเป็นกรดด้วยน้ำดีซึ่งมีสภาพ เป็นด่าง (เมื่อ กรดมาเจอกับด่างจะเกิดปฏิกริยาหักล้างกัน ให้มีสภาพเป็นกลาง)ที่ลำไส้เล็กนี้จะมีเอนไซม์มากมายหลายชนิด ที่สามารถ ย่อยอาหารประเภท ไขมันและอาหารอื่นๆที่ไม่ถูกย่อย ในสภาพที่เป็นกรดแต่จะเริ่มแตกตัวออกเป็นอณูเล็กๆ ได้ในสภาพที่เป็นด่าง ก็จะเริ่มถูกย่อยในบริเวณนี้ เนื่องจากลำไส้เล็กของคน เรามีความยาวมากถึง 21 ฟุต (ประมาณ 7-8 เมตร) อาหารที่ถูกย่อยมาแล้วเป็น ระยะก็จะค่อยๆถูกดูดซึมเข้า สู่ร่างกายในขณะที่อาหารถูกบีบให้ค่อยๆ เคลื่อนตัวผ่านลงไปเรื่อยๆ อาหารพวกแป้ง โปรตีน ไขมันที่ถูกย่อยเป็นอณู เล็กๆแล้วจะถูกดูดซึมผ่านผนังลำไส้เข้าสู่กระแสเลือด และกระจายไปทั่ว ร่างกายไปสู่เซลต่างๆ <br />\n              ในกระแสเลือดตอนนี้หากเจาะเลือดมาตั้งทิ้งใว้ให้เกิดการแยกชั้นจะพบว่าใน ส่วนน้ำเหลืองซึ่งปกติจะมีสภาพใสมีสีเหลืองอ่อน แต่ในระยะนี้น้ำเหลืองจะมี ลักษณะขุ่นขาวคล้ายน้ำนมเป็นผลมาจากอณูอาหาร ที่ถูกย่อยและถูกดูดซึมเข้า สู่กระแสเลือดนั้นเอง อาหารอีกส่วน ที่ไม่สามารถย่อยและถูกดูดซึมได้เช่นพวก กากใยพืชอาหารที่ชิ้นใหญ่เกินไปและย่อยไม่ทัน กากอาหารที่ถูกย่อยแล้ว แร่ธาตุบางชนิด จะเคลื่อนตัวต่อไปสู่ลำไส้ใหญ่ ในส่วนของลำไส้ใหญ่จะมีการ ดูดซึมน้ำกลับเข้าร่างกายพร้อมสารอาหารบางชนิด รวมถึงยาและสารเคมีที่ ละลายในน้ำเข้าสู่กระแสเลือด ส่วนนี้จะมีแบคทีเรียประจำถิ่นมากมายซึ่งจะ ถูกคลุกเคล้ากับกากอาหารที่เหลือมาช่วยย่อยสลายกากเศษอาหาร ให้กลาย สภาพเป็นอุจจาระแล้วถูกขับออกจากร่างกายไปในที่สุด เป็นอันเสร็จขบวน การย่อยอาหารตามปกติ</span></span>\n </p>\n<p> <span class=\"style33\">        </span></p>\n<table border=\"0\" align=\"center\" width=\"80%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n <strong>1.</strong>ปาก<strong>(mouth)</strong>เป็นส่วนต้นสุดของท่อทางเดินอาหารและมักจะทำงานสัมพันธ์ควบคู่ไปกับช่องปาก(oralcavity)ซึ่งอาหารเมื่อเข้าสู่ร่างกายจะถูกลดขนาดลงที่ช่องปากนี้ โดยมีส่วนของฟันและลิ้นเป็นตัวช่วยในการทำงาน ให้มีการผสมผสานกับน้ำลาย กลายเป็นก้อนอาหาร (bolus) ที่พร้อมสำหรับการกลืนต่อไป<br />\n <strong>2.</strong>ฟัน<strong>(teeth)</strong>จะทำงานเป็นตัวลดขนาดของอาหารลงด้วยการบดเคี้ยวฉีกตัดซึ่งในสัตว์บางชนิดพบว่าฟันนอกจากจะใช้ในระบบย่อยอาหารแล้วยัง<br />\n ใช้ในการต่อสู้ป้องกันอันตรายให้กับตัวเอง หรือแม้กระทั่งใช้ในการล่าเหยื่อเพื่อให้ได้มาซึ่งอาหารดำรงชีพตัวฟัน มี 4 รูปแบบ เมื่อแบ่งตามหน้าที่และ<br />\n ตำแหน่งที่มันวางตัวอยู่คือ <br />\n <strong>1). </strong>ฟันตัด (incisor = Di,I) เป็นฟันด้านหน้าสุดวางตัวอยู่บนกระดูก incisive ทำหน้าที่ในการตัด บางครั้งเราเรียกว่า <strong>nippers <br />\n 2). </strong>ฟันเขี้ยว (canine = Dc,C) เป็นฟันที่อยู่ถัดจากฟันตัด ทำหน้าที่ในการฉีก หรือแยกอาหารให้ออกจากกัน บางครั้งเราเรียกกันว่า <strong>fangs ,eye teeth ,tusks </strong>* <br />\n <strong>3).</strong>ฟันกรามน้อย(premolars=Dp,P)เป็นฟันที่อยู่บนกระดูกmaxillaวางตัวถัดจากฟันเขี้ยวรูปร่างและขนาดของฟันเหมาะสมสำหรับการบด (grinding) อาหาร <br />\n <strong>4).</strong>ฟันกรามใหญ่(molar=Dm,M)เป็นฟันที่อยู่บนกระดูกmaxillaตอนท้ายวางตัวถัดจากฟันกรามน้อยและทำหน้าที่คล้ายกับฟันกรามน้อย\n </p>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n หมายเหตุ : ฟันกรามน้อยและฟันกรามใหญ่ บางครั้งเรียกรวมกันว่า ฟันแก้ม (cheek teeth)\n </p>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n <strong>* tusks </strong>คำนี้หมายถึง งาช้าง ซึ่งงาของช้างนั้นคือส่วนของฟันตัด (incisor)\n </p>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n สูตรฟัน(dental formulas)ในสัตว์แต่ละชนิดจะแตกต่างกันไปแต่สำหรับโคพบว่าจะไม่มีส่วนของฟันตัดบน <br />\n (upper incisor)แต่จะมีส่วนของแผ่นฟัน(dental pad)อยู่แทนที่และรองรับการสบของฟันตัดล่าง(lower incisor) พื้นผิวของฟัน จะมี 4 พื้นผิวใหญ่ๆขึ้นอยู่กับตำแหน่งคือ\n </p>\n<ul class=\"style16\">\n<li>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n พื้นผิวที่สบกับฟันที่อยู่ขากรรไกรตรงข้าม ( <strong>wearing </strong>หรือ <strong>occlusal </strong>หรือ <strong>masticatory </strong>surface)\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n พื้นผิวที่อยู่ใกล้ชิดกับริมฝีปากและกระพุ้งแก้ม ( <strong>vestibular </strong>surface) แบ่งเป็นส่วนของ <strong>labial </strong>ที่ติดริมฝีปาก และ <strong>buccal </strong>ที่ติดกับกระพุ้งแก้ม\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n พื้นผิวที่อยู่ใกล้ชิดกับส่วนของลิ้น ( <strong>lingual </strong>surface)\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n พื้นผิวที่อยู่ใกล้ชิดกับฟันข้างเคียง ( <strong>contact </strong>surface) แบ่งเป็นด้านหน้า (mesial) และด้านหลัง (distal)\n </p>\n</li>\n</ul>\n<p align=\"justify\" class=\"style14\">\n บางครั้งพบว่าการกินอาหารของสัตว์ ( เช่น ม้า โค กระบือ ) จะมีการสึกของฟัน ไม่เท่ากันทั้งพื้นผิว (wearing surface) ดังนั้นจึงต้องมีการขัดหรือตะไบฟัน<br />\n (floating the teeth) นอกจากนี้ยังพบว่าการขึ้นของฟันและการสึกของฟันนั้นจะสามารถใช้เป็นตัวดูอายุของสัตว์ได้ด้วย เช่นในม้า จะดูการสึกของฟันตัดล่างได้\n </p>\n<p align=\"justify\" class=\"style16\">\n <span class=\"style14\"><strong>3.</strong>ลิ้น<strong>(tongue)</strong>เป็นอวัยวะที่ประกอบขึ้นจากส่วนของมัดกล้ามเนื้อที่ช่วยในการแปรสภาพอาหารเมื่ออยู่ในช่องปากเนื่องจากตัวมันประกอบมาจากกล้ามเนื้อ 3ทิศทางทำให้มีการเคลื่อนไหวที่ดีเยี่ยมและส่งตัวอาหารเข้าสู่หลอดอาหาร(esophagus)นอกจากนี้ลิ้นอาจจะทำหน้าที่ใน<br />\n การเก็บเกี่ยวอาการเข้าสู่ปากได้ในสัตว์บางชนิดด้วยเช่นแพะโคพื้นที่ด้านบนของผิวลิ้นจะค่อนข้างหยาบเพราะว่ามีส่วนของปุ่มหนามแหลมคล้ายหัวนม<strong>(papillae) </strong>จำนวนมากหลายชนิดซึ่งจะทำหน้าที่ในการลำเลียงอาหารไปในทิศทางเดียวกันและยังช่วยในการทำความสะอาดร่างกายได้เช่นการ <br />\n เลียขนของแมว (grooming) บางครั้งพบว่าบนลิ้นจะมีต่อมรับรส (taste buds) อาศัยอยู่บนปุ่มหนามแหลมคล้ายหัวนมชนิด fungiform<br />\n และ vallate ซึ่งการที่มีต่อมรับรสนี้จะช่วยได้ บางส่วนในการที่สัตว์ จะแยกแยะระหว่างอาหารที่เป็นอันตราย และอาหารที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายได้</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p><strong><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #cc9933\"><span style=\"font-family: Georgia\"><span class=\"style9\">หลอดอาหาร </span></span></span></span></strong></p>\n<p>\n</p>\n<table border=\"0\" width=\"75%\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p>\n     หลอดอาหาร ทำหน้าที่หดตัว บีบอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร เพราะหลอดอาหารมีผนังที่ยึดและหดตัวได้บริเวณคอหอยมีช่องเปิดเข้าสู่หลอดลมและหลอดอาหารส่วนบนของหลอดลมมีแผ่นกระดูกอ่อนปิดกั้นกัน อาหารเข้าไปในหลอดลมขณะกลืนอาหารเรียกว่า ฝาปิดกล่องเสียง (epiglotottis ) ภายในโพรงปาก ด้านบนมีเพดานอ่อน (soft palate) ห้อยโค้งลงมาใกล้กับโคนลิ้นขณะที่อาหารผ่านเข้าสู่ลำคอ เพดานอ่อนจะถูกดันยกไปปิดช่องหายใจ อากาศผ่านช่องนี้ไม่ได้ อาหารนั้นจะถูกกล้ามเนื้อลิ้นบังคับให้ผ่านเข้าไปในหลอดอาหารได้พร้อมกับฝาปิดกล่องเสียงจะปิดหลอดลมในขณะที่ส่วนกล่องเสียงทั้งหมด ยกขึ้น ทำให้ฝาปิดกล่องเสียงปิดหลอดลมได้สนิท อาหารจึงเคลื่อนลงไปในหลอดอาหารได้โดยไมผลัดตกลงไปในหลอดอาหาร\n </p>\n<p>\n <span class=\"style1\"><strong><span style=\"font-size: large; color: #996699\">กระเพาะอาหาร</span></strong></span></p>\n<p> \n </p>\n<ul>\n<li class=\"style2\">\n<table border=\"0\" width=\"80%\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td class=\"style10\"><span class=\"style11\"><strong>กระเพาะอาหาร </strong>มีลักษณะเป็นถุง รูปร่างคล้ายตัวเจ ปกติกระเพาะอาหารที่ไม่มีอาหารจะมีขนาดประมาณ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร และสามารถขยายตัวเมื่อมีอาหารได้อีก 10 - 40 เท่าอาหารผ่านไปตามหลอดอาหาร แล้วผ่านไปตามทางเดินอาหารโดยการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดอาหาร การหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อ หลอดอาหารจะคืนสู่สภาพปกติเมื่อก้อนอาหารผ่านพ้นไปแล้วการหดตัวและคลายตัว เรียกว่าเพอริสตัลซิล (peristalsis)ผนังกระเพาะ มีกล้ามเนื้อแข็งแรงมากและยืดหยุ่นขยายขนาดจุ ได้ถึงประมาณ1000 - 1200 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีกล้ามเนื้อหูรูด (sphincter muscle) อยู่สองแห่งคือ กล้ามเนื้อหูรูดส่วนติดต่อกับหลอดอาหารกับกล้ามเนื้อ หูรูดส่วนติดกับลำไส้เล็ก ขณะเคี้ยวอาหารจะมีการกระตุ้นให้กระเพาะอาหารหลั่นน้ำย่อยบ้างเล็กน้อยเมื่ออาหารเคลื่อนลงสู่กระเพาะอาหารจะมีการกระตุ้น ให้เซลล์ในกระเพาะหลั่งน้ำย่อยเพิ่มมากขึ้น น้ำย่อยในกระเพาะอาหาร ประกอบด้วย เพปซิน (pepsin) เรนนิน (rennin) และ ไลเพส (lipase)นอกจากนี้ยังมีกรดไฮโดรคลอริก และน้ำเมือก อีกด้วย สำหรับ เพปซินและเรนนินจะอยู่ในรูปเพปซิโนเจน (pepsinogen)และโพรเรนนิน (prorennin) ซึ่งไม่พร้อมที่จะทำงาน แต่ยังมี กรดไฮโดรคลอริกจึงเปลี่ยนสภาพเป็นเป็น เพปซินและเรนนินและพร้อมทีจะทำงานได้ อาหารจะคลุกเคล้าอยู่ในกระเพาะด้วยการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ ที่แข็งแรงของกระเพาะโดยน้ำย่อยเพปซินโปรตีนที่ถูกเพปซินย่อยส่วนใหญ่ จึงเป็นพอลิเพปไทด์ที่สั้นลง ไลเพส ทำหน้าที่ ย่อยไขมัน กระเพาะอาหารมีลิเพส ในปริมาณน้อยมาก และไม่สามารถทำงานได้ เนื่องจากกระเพาะอาหารมีสภาพเป็นกรด ไขมันจะผ่านกระเพาะอาหารออกไปโดยไม่ถูกย่อย น้ำเมือกที่ขับออกมาจากกระเพาะเคลือบผนังชั้นในของกระเพาะ กระเพาะก็ถูกทำลายได้แต่จะมีการสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนได้ทันที เซลล์ถูกทำลายมากกว่าปกติ การหลั่งเพปซินและกรดไฮรโดรคลอริก แต่ไม่มีอาหารอยู่ใน กระเพาะจะทำให้ถูกทำลายจนเป็นแผลในกระเพาะได้ การมีกรด ในกระเพาะอาหารมากเกินปรกติมีสาเหตุ เช่น การรับประทาน อาหารไม่ตรงเวลา รับประทานอาหารเผ็ดจัด การกินยาแก้ปวดท้องเมื่อท้องว่าง การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน นอกจากนี้สุขภาพจิตก็มีความสำคัญมาก เช่น การมีอารมณ์เครียด วิตกกังวล ขาดการพักผ่อน ก็เป็นปัจจัยทำให้มีการหลั่งกรดออก มาในกระเพาะอาหารมาก อาหารอยู่ในกระเพาะอาหารนาน 30 นาที - 3 ชั่วโมง ซึ่งขึ้งอยู่กับชนิดของอาหารนั้น กระเพาะอาหารสามารถดูดซึมแอลกอฮอล์ได้ดี พบว่า 30 - 40% ของแอลกอฮอล์ที่ดื่มเข้าไป จะถูกดูดซึมที่กระเพาะอาหาร อาหารโปรตีนบางชนิดที่ย่อยยาก เช่น เนื้อวัว เนื้อควาย ย่อยยากกว่าเนื้อปลา อาหารโปรตีนบางชนิดเพื่อให้ย่อยง่าย อาจใช้การหมักหรือใส่สารบางอย่างลง เช่น ผงเนื้อนุ่ม เพื่อช่วยในการย่อยก่อนที่จะมาประกอบอาหารรับประทาน สารที่ทำให้เนื้อนุ่มอาจได้มาจากเอนไซม์ที่ได้จากพืช เช่น ยางมะละกอหรือสับประรด เป็นต้น ในยางมะละกอมีเอนไซม์ซื่อปาเปน (papain) สามารถย่อยโปรตีนได้ ในพืชมีเอนไซม์ย่อยอาหารเช่นกัน เช่น ในเมล็ดที่กำลัง งอกมี เอนไซม์อะไมเลส ทำหน้าที่ ย่อยอาหารที่สะสมอยู่ในเมล็ด เพื่อนำไปใช้ในการเจริญของต้นอ่อนภายในกระเพาะอาหารจะมีเอนไซม์ ชื่อว่า “เพปซิน” ที่ช่วยย่อยโปรตีน ซึ่งเอนไซม์นี้จะทำงานได้ดีในสภาวะที่เป็นกรด กรดที่กระเพาะอาหารสร้างคือ กรดไฮโดรคลอริก (กรดเกลือ) อาหารจะสามารถอยู่ในกระเพาะอาหารได้ประมาณ 3 – 4 ช.ม. แล้วจะถูกส่งต่อไปยังลำไส้เล็ก</span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</li>\n<p><span class=\"style1\"><strong><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #0033ff\"><span class=\"style10\">ลำไส้เล็ก</span></span></span></strong></span></p>\n<p> </p>\n<table border=\"0\" width=\"75%\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p>\n <strong>    </strong>\n </p>\n<p>\n <strong>       ลำไส้เล็ก </strong>มีรูปร่างเป็นท่อ ในลำไส้เล็กมีน้ำย่อยหลายชนิดใช้ย่อยอาหารได้ทุกประเภท ถ้าน้ำย่อยในลำไส้เล็กไม่พอจะมีน้ำย่อยจากตับและตับอ่อนเข้ามาช่วย โดยตับจะสร้างน้ำดีสำหรับย่อยไขมันให้มีขนาดเล็ก ที่ลำไส้เล็กจะเป็นการย่อยครั้งสุดท้ายจนอาหารมีขนาดเล็กที่สุด สามารถซึมผ่านผนังลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอาหารจะเคลื่อนจากกระเพาะเข้าสู่ลำไส้เล็ก โดยการทำงานของกล้ามเนื้อกระเพาะอาหารและกล้ามเนื้อหูรูดลำไส้เล็กตอนต้น เรียกว่า ดูโอดีนัม (duodenum) ลำไส้เล็กที่อยู่ถัดไปคือ เจจูนัม (jejunum) และไอเลียม น้ำย่อยจากตับอ่อนประกอบด้วย น้ำย่อยโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต น้ำย่อยโปรตีน ได้แก่ เอนไซม์ทริปซิน (trypsin)ไคโมทริปซิน (chymotrypsin) คาร์บอกซิเพปทิเดส (carboxypeptidase) ผนังด้านในของลำไส้เล็กเป็นคลื่นและมีส่วนยื่นออกมาเป็นปุ่มเล็ก ๆ จำนวนมากมาย เรียกว่า วิลลัส (villus) วิลลัสช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมให้มากขึ้น ผิวด้านนอกของเซลล์ยังยื่นออกไป เรียกว่า ไมโครวิลไล (microvilli) ภายในวิลลัสแต่ละอันมีเส้นเลือดและเส้นน้ำเหลือง ซึ่งจะรับอาหารที่ย่อยแล้วและซึมผ่านเซลล์ที่บุผิวผนังลำไส้เข้ามา นอกจากนี้ยังมีเซลล์ในวิลลัสทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยอีกด้วย\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</ul>\n<ul>\n <br />\n <span style=\"color: #ff0000\">ลำไส้ใหญ่</span> \n<p>\n ภาย่่ในลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร เมื่อลำไส้ใหญ่ <br />\n รับกากอาหารมาจากลำไส้เล็กแล้วผนังของลำไส้ใหญ่จะดูดน้ำและ <br />\n แร่ธาตุจากกากอาหารเข้าสู่กระแสเลือด กากอาหารจะเหนียวและ <br />\n ข้นขึ้นรอการขับถ่ายออกมาเป็นอุจจาระต่อไป </p>\n<p> กากอาหารที่หมักอยู่ในลำไส้ใหญ่จะทำให้เกิดก๊าชขึ้น กากอาหาร <br />\n ค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่นานเกินไป ทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า ท้องผูก <br />\n ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายประการ เช่น ลักษณะของอาหารที่รับทาน <br />\n เป็นอาหารพวกเนื้อสัตว์มากกว่าผัก ผลไม้ ดื่มน้ำน้อย อารมณ์เครียด <br />\n สุขภาพร่างกายไม่ปกติ และขาดการออกกำลังกาย เป็นต้น <br />\n ในลำไส้เล็กสารอาหารส่วนใหญ่และน้ำจะเข้าสู่เส้นเลือดฝอยหรือ <br />\n เส้นน้ำเหลืองในวิลลัส โดยวิธีต่าง ๆ กัน เช่น การแพร่หรือการ <br />\n แพร่แบบฟาซิลิเทต การเคลื่อนที่โดยกระบวนการ <br />\n แอกทีฟทรานสปอร์ต หรือวิธีพิโนไซโทซีสของเซลล์บางเซลล์ <br />\n ของวิลลัส <span class=\"style7\"><br />\n </span>\n </p>\n</ul>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1714326895, expire = 1714413295, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:513d5509de4a1999b050f4687756ed65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กระบวนการย่อยอาหาร

รูปภาพของ anuradee14

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


  ระบบย่อยอาหาร

       ระบบย่อยอาหาร เป็นกระบวนการแปรรูปอาหารที่ร่างกาย รับเข้ามาให้กลายไปเป็นพลังงานและสารประกอบสำคัญส่ง เข้าสู่ กระแสเลือด เพื่อให้ร่างกายนำไปใช้ประโยชน์ในการ เสริมสร้างอวัยวะต่างๆ เพื่อให้ร่างกายสามารถดำเนินกิจ กรรมต่างๆได้ตามปกติสุข

        ลองมาลงลึกในราละเอียดเพิ่มเติมกัน ระบบย่อยอาหารนั้นคือระบบการเตรียม อาหารก่อนที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่ ร่างกายเดยมีการสัมพันธ์กันมากมายเริ่มตั้ง แต่เมื่อนึกถึงอาหารขึ้นมา เราจะเกิดอาการน้ำลายสอนั้นแสดงให้เห็นถึงกระบวนการย่อยอาหาร ได้เริ่มต้นแล้ว ยิ่งเมื่อได้กลิ่น ได้เห็นสีสันได้ลิ้มรส อาหาร น้ำลายจะเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับเริ่มมีการหลั่งของน้ำย่อย เพิ่มมากขึ้น แต่ถ้าอาหารนั้นไม่ถูกปาก กระบวนการต่อเนื่องจะหยุดชงักลงทันที แต่ถ้าอร่อยถูกปากทุกอย่างก็จะดำเนินการต่อไปสู่กระบวนการนำอาหารเข้าปากมี การบดเคี้ยวผสมผสานกับน้ำลายอย่างละเอียดนี้เป็นจุดเริ่มต้นของระบบการย่อยอาหารโดยอาหารชิ้นโตๆคำโตๆจะถูกบดเคี้ยวให้เล็กลง ในขั้นตอนนี้ถ้าให้
เวลาในการบดเคี้ยวให้ละเอียด ก็เป็นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ ย่อยได้ดีขึ้น ดีกว่าการกินแบบลวกๆเคี้ยวไม่ทันไรก็กลืนอาหารเลย เพราะการ เคี้ยวให้ละอียดจะเป็นการเพิ่มพื้นทีผิวของอาหารให้เอนไซม์ในน้ำลายเข้าไป จับตัวกับอาหารได้มากขึ้นแล้วเกิดการย่อยอาหารขั้นต้น โดยเอนไซม์ในน้ำลายจะเริ่มทำปฏิกริยาและย่อยอาหารพวกแป้งและน้ำตาลเมื่ออาหารถูกกลืนผ่าน หลอดอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร ในบริเวณนี้อาหารจะพักอยู่ใรฃนกระเพาะ นานประมาณ ชั่วโมงในกระเพาะอาหารนี้อาหารจะถูกบีบรัดตัวให้คลุกเคล้า กับน้ำย่อยซึ่งมีสภาพความเป็นกรดสูง โดยน้ำย่อยในกระเพาะนี้จะย่อยสลาย อาหารพวกโปรตีนให้มีการแตกตัวให้มีขนาดเล็กลง อาหารจะเริ่มมีสภาพ เปื่อยยุ่ยมากขึ้น แล้วอาหารจะเริ่มเคลื่อนตัวลงไปยังลำไส้เล็กต่อไป ในส่วน กระเพาะนี้จะมีการดูดซึม เข้าสู่ร่างกายเพียงเล็กน้อยเท่านั้น

        อาหารที่ถูกย่อยมากแล้วเมื่อเดินทางมาถึงลำไส้เล็กสภาพความเป็นกรดของอาหารจะถูกเจือจางจน หมดความเป็นกรดด้วยน้ำดีซึ่งมีสภาพ เป็นด่าง (เมื่อ กรดมาเจอกับด่างจะเกิดปฏิกริยาหักล้างกัน ให้มีสภาพเป็นกลาง)ที่ลำไส้เล็กนี้จะมีเอนไซม์มากมายหลายชนิด ที่สามารถ ย่อยอาหารประเภท ไขมันและอาหารอื่นๆที่ไม่ถูกย่อย ในสภาพที่เป็นกรดแต่จะเริ่มแตกตัวออกเป็นอณูเล็กๆ ได้ในสภาพที่เป็นด่าง ก็จะเริ่มถูกย่อยในบริเวณนี้ เนื่องจากลำไส้เล็กของคน เรามีความยาวมากถึง 21 ฟุต (ประมาณ 7-8 เมตร) อาหารที่ถูกย่อยมาแล้วเป็น ระยะก็จะค่อยๆถูกดูดซึมเข้า สู่ร่างกายในขณะที่อาหารถูกบีบให้ค่อยๆ เคลื่อนตัวผ่านลงไปเรื่อยๆ อาหารพวกแป้ง โปรตีน ไขมันที่ถูกย่อยเป็นอณู เล็กๆแล้วจะถูกดูดซึมผ่านผนังลำไส้เข้าสู่กระแสเลือด และกระจายไปทั่ว ร่างกายไปสู่เซลต่างๆ
             ในกระแสเลือดตอนนี้หากเจาะเลือดมาตั้งทิ้งใว้ให้เกิดการแยกชั้นจะพบว่าใน ส่วนน้ำเหลืองซึ่งปกติจะมีสภาพใสมีสีเหลืองอ่อน แต่ในระยะนี้น้ำเหลืองจะมี ลักษณะขุ่นขาวคล้ายน้ำนมเป็นผลมาจากอณูอาหาร ที่ถูกย่อยและถูกดูดซึมเข้า สู่กระแสเลือดนั้นเอง อาหารอีกส่วน ที่ไม่สามารถย่อยและถูกดูดซึมได้เช่นพวก กากใยพืชอาหารที่ชิ้นใหญ่เกินไปและย่อยไม่ทัน กากอาหารที่ถูกย่อยแล้ว แร่ธาตุบางชนิด จะเคลื่อนตัวต่อไปสู่ลำไส้ใหญ่ ในส่วนของลำไส้ใหญ่จะมีการ ดูดซึมน้ำกลับเข้าร่างกายพร้อมสารอาหารบางชนิด รวมถึงยาและสารเคมีที่ ละลายในน้ำเข้าสู่กระแสเลือด ส่วนนี้จะมีแบคทีเรียประจำถิ่นมากมายซึ่งจะ ถูกคลุกเคล้ากับกากอาหารที่เหลือมาช่วยย่อยสลายกากเศษอาหาร ให้กลาย สภาพเป็นอุจจาระแล้วถูกขับออกจากร่างกายไปในที่สุด เป็นอันเสร็จขบวน การย่อยอาหารตามปกติ

        

1.ปาก(mouth)เป็นส่วนต้นสุดของท่อทางเดินอาหารและมักจะทำงานสัมพันธ์ควบคู่ไปกับช่องปาก(oralcavity)ซึ่งอาหารเมื่อเข้าสู่ร่างกายจะถูกลดขนาดลงที่ช่องปากนี้ โดยมีส่วนของฟันและลิ้นเป็นตัวช่วยในการทำงาน ให้มีการผสมผสานกับน้ำลาย กลายเป็นก้อนอาหาร (bolus) ที่พร้อมสำหรับการกลืนต่อไป
2.ฟัน(teeth)จะทำงานเป็นตัวลดขนาดของอาหารลงด้วยการบดเคี้ยวฉีกตัดซึ่งในสัตว์บางชนิดพบว่าฟันนอกจากจะใช้ในระบบย่อยอาหารแล้วยัง
ใช้ในการต่อสู้ป้องกันอันตรายให้กับตัวเอง หรือแม้กระทั่งใช้ในการล่าเหยื่อเพื่อให้ได้มาซึ่งอาหารดำรงชีพตัวฟัน มี 4 รูปแบบ เมื่อแบ่งตามหน้าที่และ
ตำแหน่งที่มันวางตัวอยู่คือ
1). ฟันตัด (incisor = Di,I) เป็นฟันด้านหน้าสุดวางตัวอยู่บนกระดูก incisive ทำหน้าที่ในการตัด บางครั้งเราเรียกว่า nippers
2).
ฟันเขี้ยว (canine = Dc,C) เป็นฟันที่อยู่ถัดจากฟันตัด ทำหน้าที่ในการฉีก หรือแยกอาหารให้ออกจากกัน บางครั้งเราเรียกกันว่า fangs ,eye teeth ,tusks *
3).ฟันกรามน้อย(premolars=Dp,P)เป็นฟันที่อยู่บนกระดูกmaxillaวางตัวถัดจากฟันเขี้ยวรูปร่างและขนาดของฟันเหมาะสมสำหรับการบด (grinding) อาหาร
4).ฟันกรามใหญ่(molar=Dm,M)เป็นฟันที่อยู่บนกระดูกmaxillaตอนท้ายวางตัวถัดจากฟันกรามน้อยและทำหน้าที่คล้ายกับฟันกรามน้อย

หมายเหตุ : ฟันกรามน้อยและฟันกรามใหญ่ บางครั้งเรียกรวมกันว่า ฟันแก้ม (cheek teeth)

* tusks คำนี้หมายถึง งาช้าง ซึ่งงาของช้างนั้นคือส่วนของฟันตัด (incisor)

สูตรฟัน(dental formulas)ในสัตว์แต่ละชนิดจะแตกต่างกันไปแต่สำหรับโคพบว่าจะไม่มีส่วนของฟันตัดบน
(upper incisor)แต่จะมีส่วนของแผ่นฟัน(dental pad)อยู่แทนที่และรองรับการสบของฟันตัดล่าง(lower incisor) พื้นผิวของฟัน จะมี 4 พื้นผิวใหญ่ๆขึ้นอยู่กับตำแหน่งคือ

  • พื้นผิวที่สบกับฟันที่อยู่ขากรรไกรตรงข้าม ( wearing หรือ occlusal หรือ masticatory surface)

  • พื้นผิวที่อยู่ใกล้ชิดกับริมฝีปากและกระพุ้งแก้ม ( vestibular surface) แบ่งเป็นส่วนของ labial ที่ติดริมฝีปาก และ buccal ที่ติดกับกระพุ้งแก้ม

  • พื้นผิวที่อยู่ใกล้ชิดกับส่วนของลิ้น ( lingual surface)

  • พื้นผิวที่อยู่ใกล้ชิดกับฟันข้างเคียง ( contact surface) แบ่งเป็นด้านหน้า (mesial) และด้านหลัง (distal)

บางครั้งพบว่าการกินอาหารของสัตว์ ( เช่น ม้า โค กระบือ ) จะมีการสึกของฟัน ไม่เท่ากันทั้งพื้นผิว (wearing surface) ดังนั้นจึงต้องมีการขัดหรือตะไบฟัน
(floating the teeth) นอกจากนี้ยังพบว่าการขึ้นของฟันและการสึกของฟันนั้นจะสามารถใช้เป็นตัวดูอายุของสัตว์ได้ด้วย เช่นในม้า จะดูการสึกของฟันตัดล่างได้

3.ลิ้น(tongue)เป็นอวัยวะที่ประกอบขึ้นจากส่วนของมัดกล้ามเนื้อที่ช่วยในการแปรสภาพอาหารเมื่ออยู่ในช่องปากเนื่องจากตัวมันประกอบมาจากกล้ามเนื้อ 3ทิศทางทำให้มีการเคลื่อนไหวที่ดีเยี่ยมและส่งตัวอาหารเข้าสู่หลอดอาหาร(esophagus)นอกจากนี้ลิ้นอาจจะทำหน้าที่ใน
การเก็บเกี่ยวอาการเข้าสู่ปากได้ในสัตว์บางชนิดด้วยเช่นแพะโคพื้นที่ด้านบนของผิวลิ้นจะค่อนข้างหยาบเพราะว่ามีส่วนของปุ่มหนามแหลมคล้ายหัวนม(papillae) จำนวนมากหลายชนิดซึ่งจะทำหน้าที่ในการลำเลียงอาหารไปในทิศทางเดียวกันและยังช่วยในการทำความสะอาดร่างกายได้เช่นการ
เลียขนของแมว (grooming) บางครั้งพบว่าบนลิ้นจะมีต่อมรับรส (taste buds) อาศัยอยู่บนปุ่มหนามแหลมคล้ายหัวนมชนิด fungiform
และ vallate ซึ่งการที่มีต่อมรับรสนี้จะช่วยได้ บางส่วนในการที่สัตว์ จะแยกแยะระหว่างอาหารที่เป็นอันตราย และอาหารที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายได้

หลอดอาหาร

    หลอดอาหาร ทำหน้าที่หดตัว บีบอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร เพราะหลอดอาหารมีผนังที่ยึดและหดตัวได้บริเวณคอหอยมีช่องเปิดเข้าสู่หลอดลมและหลอดอาหารส่วนบนของหลอดลมมีแผ่นกระดูกอ่อนปิดกั้นกัน อาหารเข้าไปในหลอดลมขณะกลืนอาหารเรียกว่า ฝาปิดกล่องเสียง (epiglotottis ) ภายในโพรงปาก ด้านบนมีเพดานอ่อน (soft palate) ห้อยโค้งลงมาใกล้กับโคนลิ้นขณะที่อาหารผ่านเข้าสู่ลำคอ เพดานอ่อนจะถูกดันยกไปปิดช่องหายใจ อากาศผ่านช่องนี้ไม่ได้ อาหารนั้นจะถูกกล้ามเนื้อลิ้นบังคับให้ผ่านเข้าไปในหลอดอาหารได้พร้อมกับฝาปิดกล่องเสียงจะปิดหลอดลมในขณะที่ส่วนกล่องเสียงทั้งหมด ยกขึ้น ทำให้ฝาปิดกล่องเสียงปิดหลอดลมได้สนิท อาหารจึงเคลื่อนลงไปในหลอดอาหารได้โดยไมผลัดตกลงไปในหลอดอาหาร

กระเพาะอาหาร

  • กระเพาะอาหาร มีลักษณะเป็นถุง รูปร่างคล้ายตัวเจ ปกติกระเพาะอาหารที่ไม่มีอาหารจะมีขนาดประมาณ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร และสามารถขยายตัวเมื่อมีอาหารได้อีก 10 - 40 เท่าอาหารผ่านไปตามหลอดอาหาร แล้วผ่านไปตามทางเดินอาหารโดยการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดอาหาร การหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อ หลอดอาหารจะคืนสู่สภาพปกติเมื่อก้อนอาหารผ่านพ้นไปแล้วการหดตัวและคลายตัว เรียกว่าเพอริสตัลซิล (peristalsis)ผนังกระเพาะ มีกล้ามเนื้อแข็งแรงมากและยืดหยุ่นขยายขนาดจุ ได้ถึงประมาณ1000 - 1200 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีกล้ามเนื้อหูรูด (sphincter muscle) อยู่สองแห่งคือ กล้ามเนื้อหูรูดส่วนติดต่อกับหลอดอาหารกับกล้ามเนื้อ หูรูดส่วนติดกับลำไส้เล็ก ขณะเคี้ยวอาหารจะมีการกระตุ้นให้กระเพาะอาหารหลั่นน้ำย่อยบ้างเล็กน้อยเมื่ออาหารเคลื่อนลงสู่กระเพาะอาหารจะมีการกระตุ้น ให้เซลล์ในกระเพาะหลั่งน้ำย่อยเพิ่มมากขึ้น น้ำย่อยในกระเพาะอาหาร ประกอบด้วย เพปซิน (pepsin) เรนนิน (rennin) และ ไลเพส (lipase)นอกจากนี้ยังมีกรดไฮโดรคลอริก และน้ำเมือก อีกด้วย สำหรับ เพปซินและเรนนินจะอยู่ในรูปเพปซิโนเจน (pepsinogen)และโพรเรนนิน (prorennin) ซึ่งไม่พร้อมที่จะทำงาน แต่ยังมี กรดไฮโดรคลอริกจึงเปลี่ยนสภาพเป็นเป็น เพปซินและเรนนินและพร้อมทีจะทำงานได้ อาหารจะคลุกเคล้าอยู่ในกระเพาะด้วยการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ ที่แข็งแรงของกระเพาะโดยน้ำย่อยเพปซินโปรตีนที่ถูกเพปซินย่อยส่วนใหญ่ จึงเป็นพอลิเพปไทด์ที่สั้นลง ไลเพส ทำหน้าที่ ย่อยไขมัน กระเพาะอาหารมีลิเพส ในปริมาณน้อยมาก และไม่สามารถทำงานได้ เนื่องจากกระเพาะอาหารมีสภาพเป็นกรด ไขมันจะผ่านกระเพาะอาหารออกไปโดยไม่ถูกย่อย น้ำเมือกที่ขับออกมาจากกระเพาะเคลือบผนังชั้นในของกระเพาะ กระเพาะก็ถูกทำลายได้แต่จะมีการสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนได้ทันที เซลล์ถูกทำลายมากกว่าปกติ การหลั่งเพปซินและกรดไฮรโดรคลอริก แต่ไม่มีอาหารอยู่ใน กระเพาะจะทำให้ถูกทำลายจนเป็นแผลในกระเพาะได้ การมีกรด ในกระเพาะอาหารมากเกินปรกติมีสาเหตุ เช่น การรับประทาน อาหารไม่ตรงเวลา รับประทานอาหารเผ็ดจัด การกินยาแก้ปวดท้องเมื่อท้องว่าง การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน นอกจากนี้สุขภาพจิตก็มีความสำคัญมาก เช่น การมีอารมณ์เครียด วิตกกังวล ขาดการพักผ่อน ก็เป็นปัจจัยทำให้มีการหลั่งกรดออก มาในกระเพาะอาหารมาก อาหารอยู่ในกระเพาะอาหารนาน 30 นาที - 3 ชั่วโมง ซึ่งขึ้งอยู่กับชนิดของอาหารนั้น กระเพาะอาหารสามารถดูดซึมแอลกอฮอล์ได้ดี พบว่า 30 - 40% ของแอลกอฮอล์ที่ดื่มเข้าไป จะถูกดูดซึมที่กระเพาะอาหาร อาหารโปรตีนบางชนิดที่ย่อยยาก เช่น เนื้อวัว เนื้อควาย ย่อยยากกว่าเนื้อปลา อาหารโปรตีนบางชนิดเพื่อให้ย่อยง่าย อาจใช้การหมักหรือใส่สารบางอย่างลง เช่น ผงเนื้อนุ่ม เพื่อช่วยในการย่อยก่อนที่จะมาประกอบอาหารรับประทาน สารที่ทำให้เนื้อนุ่มอาจได้มาจากเอนไซม์ที่ได้จากพืช เช่น ยางมะละกอหรือสับประรด เป็นต้น ในยางมะละกอมีเอนไซม์ซื่อปาเปน (papain) สามารถย่อยโปรตีนได้ ในพืชมีเอนไซม์ย่อยอาหารเช่นกัน เช่น ในเมล็ดที่กำลัง งอกมี เอนไซม์อะไมเลส ทำหน้าที่ ย่อยอาหารที่สะสมอยู่ในเมล็ด เพื่อนำไปใช้ในการเจริญของต้นอ่อนภายในกระเพาะอาหารจะมีเอนไซม์ ชื่อว่า “เพปซิน” ที่ช่วยย่อยโปรตีน ซึ่งเอนไซม์นี้จะทำงานได้ดีในสภาวะที่เป็นกรด กรดที่กระเพาะอาหารสร้างคือ กรดไฮโดรคลอริก (กรดเกลือ) อาหารจะสามารถอยู่ในกระเพาะอาหารได้ประมาณ 3 – 4 ช.ม. แล้วจะถูกส่งต่อไปยังลำไส้เล็ก
  • ลำไส้เล็ก

        

           ลำไส้เล็ก มีรูปร่างเป็นท่อ ในลำไส้เล็กมีน้ำย่อยหลายชนิดใช้ย่อยอาหารได้ทุกประเภท ถ้าน้ำย่อยในลำไส้เล็กไม่พอจะมีน้ำย่อยจากตับและตับอ่อนเข้ามาช่วย โดยตับจะสร้างน้ำดีสำหรับย่อยไขมันให้มีขนาดเล็ก ที่ลำไส้เล็กจะเป็นการย่อยครั้งสุดท้ายจนอาหารมีขนาดเล็กที่สุด สามารถซึมผ่านผนังลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอาหารจะเคลื่อนจากกระเพาะเข้าสู่ลำไส้เล็ก โดยการทำงานของกล้ามเนื้อกระเพาะอาหารและกล้ามเนื้อหูรูดลำไส้เล็กตอนต้น เรียกว่า ดูโอดีนัม (duodenum) ลำไส้เล็กที่อยู่ถัดไปคือ เจจูนัม (jejunum) และไอเลียม น้ำย่อยจากตับอ่อนประกอบด้วย น้ำย่อยโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต น้ำย่อยโปรตีน ได้แก่ เอนไซม์ทริปซิน (trypsin)ไคโมทริปซิน (chymotrypsin) คาร์บอกซิเพปทิเดส (carboxypeptidase) ผนังด้านในของลำไส้เล็กเป็นคลื่นและมีส่วนยื่นออกมาเป็นปุ่มเล็ก ๆ จำนวนมากมาย เรียกว่า วิลลัส (villus) วิลลัสช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมให้มากขึ้น ผิวด้านนอกของเซลล์ยังยื่นออกไป เรียกว่า ไมโครวิลไล (microvilli) ภายในวิลลัสแต่ละอันมีเส้นเลือดและเส้นน้ำเหลือง ซึ่งจะรับอาหารที่ย่อยแล้วและซึมผ่านเซลล์ที่บุผิวผนังลำไส้เข้ามา นอกจากนี้ยังมีเซลล์ในวิลลัสทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยอีกด้วย


    ลำไส้ใหญ่

    ภาย่่ในลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร เมื่อลำไส้ใหญ่
    รับกากอาหารมาจากลำไส้เล็กแล้วผนังของลำไส้ใหญ่จะดูดน้ำและ
    แร่ธาตุจากกากอาหารเข้าสู่กระแสเลือด กากอาหารจะเหนียวและ
    ข้นขึ้นรอการขับถ่ายออกมาเป็นอุจจาระต่อไป

    กากอาหารที่หมักอยู่ในลำไส้ใหญ่จะทำให้เกิดก๊าชขึ้น กากอาหาร
    ค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่นานเกินไป ทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า ท้องผูก
    ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายประการ เช่น ลักษณะของอาหารที่รับทาน
    เป็นอาหารพวกเนื้อสัตว์มากกว่าผัก ผลไม้ ดื่มน้ำน้อย อารมณ์เครียด
    สุขภาพร่างกายไม่ปกติ และขาดการออกกำลังกาย เป็นต้น
    ในลำไส้เล็กสารอาหารส่วนใหญ่และน้ำจะเข้าสู่เส้นเลือดฝอยหรือ
    เส้นน้ำเหลืองในวิลลัส โดยวิธีต่าง ๆ กัน เช่น การแพร่หรือการ
    แพร่แบบฟาซิลิเทต การเคลื่อนที่โดยกระบวนการ
    แอกทีฟทรานสปอร์ต หรือวิธีพิโนไซโทซีสของเซลล์บางเซลล์
    ของวิลลัส

สร้างโดย: 
นางอารีย์ จันทร โรงเรียนปิยะบุตร์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 717 คน กำลังออนไลน์