• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0d714dbcfa0daa3c19c69f44c9bd472f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><center></center></p>\n<h1>ลาน สรรพคุณประโยชน์ของต้นลาน 15 ข้อ ! (ลานวัด,ลานป่า,ลานพรุ)</h1>\n<p></p>\n<div>\n<div><center><img src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" alt=\"รูปลาน\" width=\"1\" height=\"1\" /></center></div>\n<div>\n<div style=\"text-align: center;\">\n<div id=\"toc_container\">\n<p>Contents&nbsp;[<a href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99/#\">ซ่อน</a>]</p>\n<ul>\n<li><a href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99/#T\">1 ลาน</a></li>\n<li><a href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99/#T-2\">2 ลักษณะของต้นลานวัด</a></li>\n<li><a href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99/#T-3\">3 สรรพคุณของลาน</a></li>\n<li><a href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99/#T-4\">4 ประโยชน์ต้นลาน</a></li>\n<li><a href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99/#T-5\">5 แหล่งอ้างอิง</a></li>\n</ul>\n</div>\n<h2>ลาน</h2>\n<p><a title=\"ลาน สรรพคุณประโยชน์ของต้นลาน 15 ข้อ ! (ลานวัด,ลานป่า,ลานพรุ)\" href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99/\" target=\"_blank\">ลาน&nbsp;</a>ภาษาอังกฤษ&nbsp;Fan palm, Lontar palm, Talipot palm&nbsp;ต้นลาน ชื่อวิทยาศาสตร์&nbsp;Corypha Umbraculifera L. จัดอยู่ในวงศ์ปาล์ม (Arecaceae หรือในชื่อเดิมคือ Palmae) เช่นเดียวกับ<a title=\"ตาล สรรพคุณและประโยชน์ของต้นตาล 30 ข้อ ! (ลูกตาล)\" href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A5/\" target=\"_blank\">ตาล&nbsp;</a><a title=\"ต๋าว ต้นตาว ประโยชน์ของตาว 13 ข้อ ! (ต้นชิด,ต้นชก,ลูกชิด,ลูกชก)\" href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A7/\" target=\"_blank\">ตาว</a><a title=\"จาก สรรพคุณและประโยชน์ของต้นจาก 14 ข้อ ! (ลูกจาก)\" href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81/\" target=\"_blank\">&nbsp;จาก&nbsp;</a>หวาย และ<a title=\"มะพร้าว สรรพคุณ ประโยชน์ของมะพร้าว น้ำมะพร้าว\" href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7/\" target=\"_blank\">มะพร้าว</a>&nbsp;และต้นลานยังมีชื่ออื่นๆ อีกเช่น&nbsp;ลานบ้าน&nbsp;ลานวัด&nbsp;ลานหมื่นเถิดเทิง ปาล์มพัด เป็นต้น[1],[4]</p>\n<p>ต้นลาน&nbsp;เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่จะอยู่ในตระกูลปาล์ม มีถิ่นมีกำเนิดอยู่ในอเมริกาและในแถบเมดิเตอร์เรเนียน โดยส่วนใหญ่แล้วต้นลานมักจะขึ้นที่ที่มีอากาศชื้นเย็นและมีฝนตกมาก มีความทนทานต่อภัยธรรมชาติได้ดี ต้นเล็กแม้ว่าจะถูกไฟไม้แต่ก็สามารถงอกขึ้นมาใหม่ได้ เนื่องจากมีรากที่ลึกมาก โดยพรรณไม้ในสกุลลานจะมีอยู่ด้วย 6 ชนิดทั่วโลก แต่สำหรับในประเทศไทยจะพบต้นลานเพียงแค่ 3 ชนิดเท่านั้น[1],[3]&nbsp;คือ</p>\n<ul>\n<ul>\n<li>ลานพรุ&nbsp;(gehang palm, ebang Palm)&nbsp;ต้นลานพรุ&nbsp;มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Corypha utan Lam. มีเขตการกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียไปจนถึงฟิลิปปินส์ และรวมไปถึงทางตอนเหนือของออสเตรเลียและประเทศไทย พบได้มากในแถบภาคใต้แถวๆ จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา กระบี่และพังงา ปาล์มชนิดนี้มักขึ้นตามแนวชายฝั่งแม่น้ำหรือในพื้นที่ที่ชุ่ม<a title=\"ประโยชน์ของน้ำ 25 ข้อ! วิธีดื่มน้ำอย่างถูกวิธี ความสำคัญและโทษของน้ำ!\" href=\"http://www.greenerald.com/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3/\" target=\"_blank\">น้ำ&nbsp;</a>มีลักษณะของลำต้นที่สูงคล้ายกับต้นตาล โดยมีความสูงประมาณ 30 เมตร ขนาดของลำต้นไม่รวมกาบใบมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 40-60 เซนติเมตร และมักขึ้นรวมกันเป็นจำนวนมากในที่ราบท้องทุ่ง แม้ในบริเวณที่มีน้ำขัง[1],[3],[4]</li>\n<li>ลานป่า&nbsp;หรือ&nbsp;ลานทุ่ง&nbsp;(Indochinese fan palm)&nbsp;ต้นลานป่า&nbsp;มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Corypha lecomtei Beec. สามารถพบได้ในประเทศไทยและเวียดนาม จัดเป็นพันธุ์ไม้ดั้งเดิมของไทย โดยพบได้มากที่ปราจีนบุรี ขอนแก่น และสระบุรี และยังพบได้ทั่วไปในจังหวัดลพบุรี ตาก นครปฐม และพิษณุโลก และต้นลานป่านี้จะมีขนาดใหญ่ไม่เท่าลานวัด โดยมีความสูงประมาณ 15 เมตร และมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของต้นไม่รวบกาบใบประมาณ 45-75 เซนติเมตร[1],[3],[4]</li>\n<li>ลานวัด&nbsp;หรือ&nbsp;ลานบ้าน&nbsp;หรือ&nbsp;ลานหมื่นเถิดเทิง&nbsp;(ทั่วไปเรียกว่า “ลาน” หรือ “ต้นลาน“) (Fan palm, Lontar palm, Talipot palm)&nbsp;ต้นลานวัด&nbsp;มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Corepha umbraculifera เป็นปาล์มชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีถิ่นกำเนิดในประเทศศรีลังกาและอินเดีย และยังเป็นต้นไม้ประจำชาติของศรีลังกาอีกด้วย สำหรับในประเทศจะไม่พบตามธรรมชาติ แต่มักมีการนำมาเพาะปลูกในภาคเหนือ[1],[3],[</li>\n</ul>\n</ul>\n<p><img src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" alt=\"ต้นลานบ้าน\" /></p>\n<ul>\n<ul>\n<ul>\n<li>ใบลาน&nbsp;ใบมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายรูปฝ่ามือหรือรูปพัด ค่อนข้างกลมคล้ายกับใบตาล จนบางครั้งอาจเรียกว่า “ปาล์มพัด” ใบมีสีเขียวอมเทา แผ่นใบมีขนาดประมาณ 2.5-3×2.5-3 เมตร ส่วนก้านใบออกสีเขียวอ้วนสั้น ยาวประมาณ 2.5-3 เมตร และขอบก้านใบมีหนามแน่นเป็นฟันคมสีดำยาวประมาณ 1 เซนติเมตร และมีเส้นโค้งกลางใบยาวประมาณ 1 เมตร แผ่นใบหยักเป็นคลื่น มีร่องแฉกแยกแผ่นใบ 110 แฉก แต่ละแฉกมีขนาดประมาณ 75-150×4.6-5 เซนติเมตร (เป็นพันธุ์ไม้ที่มีใบใหญ่ที่สุดในโลก) เป็นไม้ทิ้งใบได้เองตามธรรมชาติ[1],[2],[3]</li>\n<li><img src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" alt=\"ดอกต้นลาน\" /></li>\n</ul>\n<li>&nbsp;</li>\n</ul>\n</ul>\n<p><img src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94.jpg\" alt=\"ลูกลานวัด\" /><img src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" alt=\"ลูกลาน\" /></p></div>\n<ul>\n<li>ผลลาน&nbsp;หรือ&nbsp;ลูกลาน&nbsp;หรือ&nbsp;ลูกต้นลาน&nbsp;ผลมีลักษณะกลมรี มีสีเขียว มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3.5-4.5 เซนติเมตร หนึ่งผลมีหนึ่งเมล็ด เมล็ดมีลักษณะกลมสีดำ ส่วนเนื้อในของผลจะคล้ายกับลูกจากหรือลูกชิด สามารถนำมารับประทานได้ ผลเมื่อแก่แล้วจะร่วงหล่นลงพื้นดิน แล้วจะงอกเป็นต้นลานเล็กๆ มากมาย[1],[3]&nbsp;ส่วนเนื้อของลูกลานจะคล้ายกับลูกชิดแต่จะมีลักษณกลม มีรสชาติจืดและเหนียวหนืด[5]</li>\n</ul>\n<p style=\"text-align: center;\"><a href=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" target=\"_blank\"><img title=\"ลูกต้นลาน\" src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" alt=\"ลูกต้นลาน\" width=\"570\" height=\"320\" data-lazy-type=\"image\" data-lazy-src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/ลูกต้นลาน.jpg\" /></a></p>\n<p><center><a href=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" target=\"_blank\"><img title=\"ผลลาน\" src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" alt=\"ผลลาน\" width=\"280\" height=\"210\" data-lazy-type=\"image\" data-lazy-src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/ผลลาน.jpg\" /></a>&nbsp; &nbsp;<a href=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" target=\"_blank\"><img title=\"ลูกลาน\" src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg\" alt=\"ลูกลาน\" width=\"280\" height=\"210\" data-lazy-type=\"image\" data-lazy-src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/ลูกลาน.jpg\" /></a></center></p>\n<h2>สรรพคุณของลาน</h2>\n<ol>\n<li>ช่วยรักษาไข้หวัด ด้วยการใช้รากนำมาฝนแล้วรับประทาน (ราก)[1],[2]</li>\n<li>รากนำมาฝนใช้รับประทานเป็นยาแก้ร้อนใน และช่วยขับเหงื่อ (ราก)[1],[2]</li>\n<li>สรรพคุณของลูกลาน&nbsp;ใช้รับประทานเป็นยารักษาโรคกระเพาะ ช่วยฆ่าเชื้อในลำไส้ และช่วยระบาย (ลูกลาน)[5]</li>\n<li>เปลือกของผลสามารถรับประทานเป็นยาขับระบายได้ดี (เปลือกผล)[1]</li>\n<li>ต้นลาน สรรพคุณช่วยแก้พิษต่างๆ (ต้น)[2]</li>\n<li>บางแห่งมีการนำใบลานเผาไฟมาใช้เป็นยาเพื่อช่วยดับพิษอักเสบ แก้อาการฟกช้ำบวมได้ดี ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า “ยามหานิล” (ใบแก่)[1],[2]</li>\n</ol>\n<h2>ประโยชน์ต้นลาน</h2>\n<ol>\n<li>ประโยชน์ของลูกลาน&nbsp;เนื้อในของผลนิยมนำมารับประทานได้เช่นเดียวกับลูกจากหรือลูกชิด ใช้ทำเป็นลูกลานเชื่อม&nbsp;ลูกลานลอยแก้ว[1],[5]</li>\n<li>ลูกลานเมื่อนำมาทุบทั้งเปลือก แล้วโยนลงน้ำจะช่วยทำให้ปลาเมา (แต่ไม่ถึงตาย) ทำให้ความสะดวกในการจับปลา[1]</li>\n<li>ประโยชน์ต้นลาน&nbsp;ในสวนของลำต้นเมื่อนำมาตัดเป็นท่อนๆ สามารถนำมาใช้ทำเป็นที่นั่งเล่น หรือนำไปใช้เพื่อตกแต่งหรือประดับสวนได้ และยังใช้ทำฟืนเป็นเชื้อเพลิงสำหรับการหุงต้ม ส่วนทางภาคใต้บางแห่งอาจมีการนำมาใช้ทำเป็นครกและสาก[1]&nbsp;นอกจากนี้ลำต้นยังสามารถนำมาใช้เลี้ยงด้วงได้เป็นอย่างดี ส่วนต้นลานที่แก่จัด ยังสามารถนำมาเลื่อยเอากาบมาใช้ทำเป็นโรงเรือนสำหรับเลี้ยงสัตว์ หรือใช้ทำเป็นที่อยู่อาศัยได้[6]</li>\n<li>สำหรับต้นลานป่านั้น เนื่องจากมีลำต้นและใบที่สวยงาม จึงมีผู้นำมาใช้สำหรับตกแต่งเป็นไม้ประดับตามสวนเพื่อใช้ปรับภูมิทัศน์ให้ดูสวยงาม[2]</li>\n<li>ใบลานอ่อน หรือ ยอดลานอ่อน นิยมใช้เป็นที่เขียนจารึกตัวอักษรในหนังสือพระธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา ด้วยการใช้เหล็กแหลมจารบนใบลานแล้วใช้ยางรักทา แล้วเอาทรายมาลบ ยางรักจะแทรกอยู่ในตัวหนังสือที่จารเป็นเส้นดำ หรือจะใช้เขม่าไฟแทนก็ได้ โดยเราจะเรียกหนังสือจากใบลานนี้ว่า “คัมภีร์ใบลาน” (ใบลานป่าก็ใช้ได้เช่นกัน) นอกจากนี้ยังสามารถนำมาพิมพ์เป็นการ์ด หรือนามบัตร ที่คั่นหนังสือ หรือนำไปใช้ในงานจักสารต่างๆ เพื่อใช้ทำเป็น พัด หมวก กระเป๋า เสื่อ งอบ ภาชนะต่างๆ ในครัวเรือน รวมไปถึงทำเป็นเครื่องประดับสำหรับตกแต่งบ้าน เช่น การทำเป็นโมบานรูปสัตว์ อย่างเช่นปลาตะเพียน[1]</li>\n<li>ใบลานแก่ สามารถนำมาใช้สำหรับมุงหลังคา ทำเป็นผนังหรือฝาบ้านได้[1]</li>\n<li>ก้านใบ สามารถนำมาใช้ทำเป็นโครงสร้าง ไม้ขื่ ไม้แป รวมไปถึงผนัง หรือนำมาใช้แทนเชือกเพื่อมัดสิ่งของได้ดีเพราะมีความเหนียวมาก[1]</li>\n<li>กระดูกลาน&nbsp;(ส่วนที่ใกล้กับบริเวณหนามแหลม) จะมีความแข็งและเหนียวมากกว่าก้านใบ สามารถนำมาใช้ทำเป็นคันกลดพระธุดงค์ได้ หรือนำไปใช้ทำเป็นขอบภาชนะจักสานทั่วๆ ไป เช่น ขอบตะกร้า ขอบกระด้ง กระบุง ตะแกรง ฯลฯ[1]</li>\n<li>ทางภาคใต้จะนำยอดของลานพรุมาฉีกเป็นใบ แล้วสางออกเป็นเส้นๆ ปั่นเป็นเส้นยาวคล้ายกับด้าย สามารถนำไปใช้ทอเป็นแผ่น หรือที่เรียกว่า “ห่งอวน” หรือ “หางอวน” ทำเป็นถึงรูปสามเหลี่ยมใช้สำหรับไว้ต่อปลายอวน ใช้เป็นถุงจับกุ้ง หรือสานเป็นถุงใส่เกลือ ซองใส่ยาเส้น ซองใส่แว่นตา หรือใช้ทำเป็นเคยสำหรับทำกะปิ ฯลฯ[1]</li>\n</ol>\n<p style=\"text-align: center;\"><a href=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94.jpg\" target=\"_blank\"><img src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94.jpg\" alt=\"ลูกลานวัด\" data-lazy-type=\"image\" data-lazy-src=\"http://www.greenerald.com/wp-content/uploads/2013/11/ลูกลานวัด.jpg\" /></a></p>\n<p style=\"text-align: right;\">&nbsp;</p>\n</div>\n</div>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong>&nbsp;วิธีการปลูกต้นลาน</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><iframe src=\"http://www.youtube.com/embed/0XVGZgupO7s\" frameborder=\"0\" width=\"425\" height=\"350\"></iframe></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1729373134, expire = 1729459534, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0d714dbcfa0daa3c19c69f44c9bd472f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต้นลาน

 

 

ลาน สรรพคุณประโยชน์ของต้นลาน 15 ข้อ ! (ลานวัด,ลานป่า,ลานพรุ)

รูปลาน

ลาน

ลาน ภาษาอังกฤษ Fan palm, Lontar palm, Talipot palm ต้นลาน ชื่อวิทยาศาสตร์ Corypha Umbraculifera L. จัดอยู่ในวงศ์ปาล์ม (Arecaceae หรือในชื่อเดิมคือ Palmae) เช่นเดียวกับตาล ตาว จาก หวาย และมะพร้าว และต้นลานยังมีชื่ออื่นๆ อีกเช่น ลานบ้าน ลานวัด ลานหมื่นเถิดเทิง ปาล์มพัด เป็นต้น[1],[4]

ต้นลาน เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่จะอยู่ในตระกูลปาล์ม มีถิ่นมีกำเนิดอยู่ในอเมริกาและในแถบเมดิเตอร์เรเนียน โดยส่วนใหญ่แล้วต้นลานมักจะขึ้นที่ที่มีอากาศชื้นเย็นและมีฝนตกมาก มีความทนทานต่อภัยธรรมชาติได้ดี ต้นเล็กแม้ว่าจะถูกไฟไม้แต่ก็สามารถงอกขึ้นมาใหม่ได้ เนื่องจากมีรากที่ลึกมาก โดยพรรณไม้ในสกุลลานจะมีอยู่ด้วย 6 ชนิดทั่วโลก แต่สำหรับในประเทศไทยจะพบต้นลานเพียงแค่ 3 ชนิดเท่านั้น[1],[3] คือ

    • ลานพรุ (gehang palm, ebang Palm) ต้นลานพรุ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Corypha utan Lam. มีเขตการกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียไปจนถึงฟิลิปปินส์ และรวมไปถึงทางตอนเหนือของออสเตรเลียและประเทศไทย พบได้มากในแถบภาคใต้แถวๆ จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา กระบี่และพังงา ปาล์มชนิดนี้มักขึ้นตามแนวชายฝั่งแม่น้ำหรือในพื้นที่ที่ชุ่มน้ำ มีลักษณะของลำต้นที่สูงคล้ายกับต้นตาล โดยมีความสูงประมาณ 30 เมตร ขนาดของลำต้นไม่รวมกาบใบมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 40-60 เซนติเมตร และมักขึ้นรวมกันเป็นจำนวนมากในที่ราบท้องทุ่ง แม้ในบริเวณที่มีน้ำขัง[1],[3],[4]
    • ลานป่า หรือ ลานทุ่ง (Indochinese fan palm) ต้นลานป่า มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Corypha lecomtei Beec. สามารถพบได้ในประเทศไทยและเวียดนาม จัดเป็นพันธุ์ไม้ดั้งเดิมของไทย โดยพบได้มากที่ปราจีนบุรี ขอนแก่น และสระบุรี และยังพบได้ทั่วไปในจังหวัดลพบุรี ตาก นครปฐม และพิษณุโลก และต้นลานป่านี้จะมีขนาดใหญ่ไม่เท่าลานวัด โดยมีความสูงประมาณ 15 เมตร และมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของต้นไม่รวบกาบใบประมาณ 45-75 เซนติเมตร[1],[3],[4]
    • ลานวัด หรือ ลานบ้าน หรือ ลานหมื่นเถิดเทิง (ทั่วไปเรียกว่า “ลาน” หรือ “ต้นลาน“) (Fan palm, Lontar palm, Talipot palm) ต้นลานวัด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Corepha umbraculifera เป็นปาล์มชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีถิ่นกำเนิดในประเทศศรีลังกาและอินเดีย และยังเป็นต้นไม้ประจำชาติของศรีลังกาอีกด้วย สำหรับในประเทศจะไม่พบตามธรรมชาติ แต่มักมีการนำมาเพาะปลูกในภาคเหนือ[1],[3],[

ต้นลานบ้าน

      • ใบลาน ใบมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายรูปฝ่ามือหรือรูปพัด ค่อนข้างกลมคล้ายกับใบตาล จนบางครั้งอาจเรียกว่า “ปาล์มพัด” ใบมีสีเขียวอมเทา แผ่นใบมีขนาดประมาณ 2.5-3×2.5-3 เมตร ส่วนก้านใบออกสีเขียวอ้วนสั้น ยาวประมาณ 2.5-3 เมตร และขอบก้านใบมีหนามแน่นเป็นฟันคมสีดำยาวประมาณ 1 เซนติเมตร และมีเส้นโค้งกลางใบยาวประมาณ 1 เมตร แผ่นใบหยักเป็นคลื่น มีร่องแฉกแยกแผ่นใบ 110 แฉก แต่ละแฉกมีขนาดประมาณ 75-150×4.6-5 เซนติเมตร (เป็นพันธุ์ไม้ที่มีใบใหญ่ที่สุดในโลก) เป็นไม้ทิ้งใบได้เองตามธรรมชาติ[1],[2],[3]
      • ดอกต้นลาน
    •  

ลูกลานวัดลูกลาน

  • ผลลาน หรือ ลูกลาน หรือ ลูกต้นลาน ผลมีลักษณะกลมรี มีสีเขียว มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3.5-4.5 เซนติเมตร หนึ่งผลมีหนึ่งเมล็ด เมล็ดมีลักษณะกลมสีดำ ส่วนเนื้อในของผลจะคล้ายกับลูกจากหรือลูกชิด สามารถนำมารับประทานได้ ผลเมื่อแก่แล้วจะร่วงหล่นลงพื้นดิน แล้วจะงอกเป็นต้นลานเล็กๆ มากมาย[1],[3] ส่วนเนื้อของลูกลานจะคล้ายกับลูกชิดแต่จะมีลักษณกลม มีรสชาติจืดและเหนียวหนืด[5]

ลูกต้นลาน

ผลลาน   ลูกลาน

สรรพคุณของลาน

  1. ช่วยรักษาไข้หวัด ด้วยการใช้รากนำมาฝนแล้วรับประทาน (ราก)[1],[2]
  2. รากนำมาฝนใช้รับประทานเป็นยาแก้ร้อนใน และช่วยขับเหงื่อ (ราก)[1],[2]
  3. สรรพคุณของลูกลาน ใช้รับประทานเป็นยารักษาโรคกระเพาะ ช่วยฆ่าเชื้อในลำไส้ และช่วยระบาย (ลูกลาน)[5]
  4. เปลือกของผลสามารถรับประทานเป็นยาขับระบายได้ดี (เปลือกผล)[1]
  5. ต้นลาน สรรพคุณช่วยแก้พิษต่างๆ (ต้น)[2]
  6. บางแห่งมีการนำใบลานเผาไฟมาใช้เป็นยาเพื่อช่วยดับพิษอักเสบ แก้อาการฟกช้ำบวมได้ดี ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า “ยามหานิล” (ใบแก่)[1],[2]

ประโยชน์ต้นลาน

  1. ประโยชน์ของลูกลาน เนื้อในของผลนิยมนำมารับประทานได้เช่นเดียวกับลูกจากหรือลูกชิด ใช้ทำเป็นลูกลานเชื่อม ลูกลานลอยแก้ว[1],[5]
  2. ลูกลานเมื่อนำมาทุบทั้งเปลือก แล้วโยนลงน้ำจะช่วยทำให้ปลาเมา (แต่ไม่ถึงตาย) ทำให้ความสะดวกในการจับปลา[1]
  3. ประโยชน์ต้นลาน ในสวนของลำต้นเมื่อนำมาตัดเป็นท่อนๆ สามารถนำมาใช้ทำเป็นที่นั่งเล่น หรือนำไปใช้เพื่อตกแต่งหรือประดับสวนได้ และยังใช้ทำฟืนเป็นเชื้อเพลิงสำหรับการหุงต้ม ส่วนทางภาคใต้บางแห่งอาจมีการนำมาใช้ทำเป็นครกและสาก[1] นอกจากนี้ลำต้นยังสามารถนำมาใช้เลี้ยงด้วงได้เป็นอย่างดี ส่วนต้นลานที่แก่จัด ยังสามารถนำมาเลื่อยเอากาบมาใช้ทำเป็นโรงเรือนสำหรับเลี้ยงสัตว์ หรือใช้ทำเป็นที่อยู่อาศัยได้[6]
  4. สำหรับต้นลานป่านั้น เนื่องจากมีลำต้นและใบที่สวยงาม จึงมีผู้นำมาใช้สำหรับตกแต่งเป็นไม้ประดับตามสวนเพื่อใช้ปรับภูมิทัศน์ให้ดูสวยงาม[2]
  5. ใบลานอ่อน หรือ ยอดลานอ่อน นิยมใช้เป็นที่เขียนจารึกตัวอักษรในหนังสือพระธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา ด้วยการใช้เหล็กแหลมจารบนใบลานแล้วใช้ยางรักทา แล้วเอาทรายมาลบ ยางรักจะแทรกอยู่ในตัวหนังสือที่จารเป็นเส้นดำ หรือจะใช้เขม่าไฟแทนก็ได้ โดยเราจะเรียกหนังสือจากใบลานนี้ว่า “คัมภีร์ใบลาน” (ใบลานป่าก็ใช้ได้เช่นกัน) นอกจากนี้ยังสามารถนำมาพิมพ์เป็นการ์ด หรือนามบัตร ที่คั่นหนังสือ หรือนำไปใช้ในงานจักสารต่างๆ เพื่อใช้ทำเป็น พัด หมวก กระเป๋า เสื่อ งอบ ภาชนะต่างๆ ในครัวเรือน รวมไปถึงทำเป็นเครื่องประดับสำหรับตกแต่งบ้าน เช่น การทำเป็นโมบานรูปสัตว์ อย่างเช่นปลาตะเพียน[1]
  6. ใบลานแก่ สามารถนำมาใช้สำหรับมุงหลังคา ทำเป็นผนังหรือฝาบ้านได้[1]
  7. ก้านใบ สามารถนำมาใช้ทำเป็นโครงสร้าง ไม้ขื่ ไม้แป รวมไปถึงผนัง หรือนำมาใช้แทนเชือกเพื่อมัดสิ่งของได้ดีเพราะมีความเหนียวมาก[1]
  8. กระดูกลาน (ส่วนที่ใกล้กับบริเวณหนามแหลม) จะมีความแข็งและเหนียวมากกว่าก้านใบ สามารถนำมาใช้ทำเป็นคันกลดพระธุดงค์ได้ หรือนำไปใช้ทำเป็นขอบภาชนะจักสานทั่วๆ ไป เช่น ขอบตะกร้า ขอบกระด้ง กระบุง ตะแกรง ฯลฯ[1]
  9. ทางภาคใต้จะนำยอดของลานพรุมาฉีกเป็นใบ แล้วสางออกเป็นเส้นๆ ปั่นเป็นเส้นยาวคล้ายกับด้าย สามารถนำไปใช้ทอเป็นแผ่น หรือที่เรียกว่า “ห่งอวน” หรือ “หางอวน” ทำเป็นถึงรูปสามเหลี่ยมใช้สำหรับไว้ต่อปลายอวน ใช้เป็นถุงจับกุ้ง หรือสานเป็นถุงใส่เกลือ ซองใส่ยาเส้น ซองใส่แว่นตา หรือใช้ทำเป็นเคยสำหรับทำกะปิ ฯลฯ[1]

ลูกลานวัด

 

 วิธีการปลูกต้นลาน

 

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 392 คน กำลังออนไลน์