• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:368683ae84ecff51ec982e90b1f899f4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2><span style=\"color: #000000;\"><span style=\"color: #ff0000;\">คำชี้แจง</span>&nbsp;&nbsp; ให้นักเรียนสร้างบล็อก เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์โดยค้นหาข้อมูลจากในอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วยหัวข้อดังนี้</span></h2>\n<h2><span style=\"color: #000000;\">1. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์</span></h2>\n<h2><span style=\"color: #000000;\">2. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์</span></h2>\n<h2><span style=\"color: #000000;\">3. แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ&nbsp;</span></h2>\n<h2><span style=\"color: #000000;\">4. คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง</span></h2>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px;\"><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/160153\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u98359/Untitled-1_0.gif\" alt=\"\" width=\"422\" height=\"88\" /></a></p>\n<h2>&nbsp;</h2>\n<h2><span style=\"color: #0e191b; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px; font-weight: normal; line-height: 14.390625px;\" data-mce-mark=\"1\">แจ้งการส่งที่ตรงแสดงความคิดเห็นว่าอยู่ที่ URL อะไร เช่น&nbsp;</span><a style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; color: #3d6c76; font-weight: normal; font-size: 12px; line-height: 14.390625px;\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/21511\">http://www.thaigoodview.com/node/21511</a></h2>\n', created = 1729452629, expire = 1729539029, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:368683ae84ecff51ec982e90b1f899f4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b893d380e65a9782fc5518fa99eb5335' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\"><strong>หน่วยการเรียนรู้ที่ 2</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>เรื่อง องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์</strong></p>\n<p>การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 5 หน่วย ได้แก่</p>\n<ol>\n<li>หน่วยรับเข้า&nbsp; (Input Unit)</li>\n<li>หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU)</li>\n<li>หน่วยความจำหลัก (Main memory)</li>\n<li>หน่วยความจำรอง (Secondary Memory)</li>\n<li>หน่วยแสดงผล (Output Unit)</li>\n</ol>\n<p><strong>องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>1.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>หน่วยรับเข้า</strong></li>\n</ol>\n<p>-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คีย์บอร์ด &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -&nbsp; เครื่องอ่านพิกัด</p>\n<p>-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมาส์&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -&nbsp; จอสัมผัส</p>\n<p>-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ลูกกลมควบคุม&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -&nbsp; เครื่องอ่านรหัสแท่ง</p>\n<p>-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แท่งชี้ควบคุม &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; – เครื่องกราดตรวจ</p>\n<p>-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แผ่นรองสัมผัส&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; – กล้องดิจิตอล</p>\n<p>-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ก้านควบคุม&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; – กล้องเว็บแคม</p>\n<p>-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปากกาแสง&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; – ไมโครโฟน</p>\n<ol>\n<li><strong>2.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>หน่วยประมวลผลกลาง</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>2.1 หน่วยควบคุม</strong>&nbsp;(Control Unit) หรือเรียกว่า (CU) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>2.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>หน่วยคำนวณและตรรกะ</strong>(Arithmetic and logic Unit) หรือเรียกว่า (ALU) ทำหน้าที่ ประมวลการคำนวณทางคณิตศาสตร์และการเปรียบเทียบตรรกะ</p>\n<ol>\n<li><strong>3.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>หน่วยความจำหลัก</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>3.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>แรม</strong>&nbsp; ย่อมาจาก (Random Access Memory) หรือ RAM เป็นหน่วยความจำหลักที่จำเป็น เป็นหน่วยความจำแบบ Volatile Memory หน่วยความจำชนิดนี้จะสามารถเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น</p>\n<p><strong>ประเภทของแรม</strong></p>\n<p><strong>3.1.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>DRAM (Dynamic Random Access Memory)</p>\n<p><strong>3.1.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>SRAM&nbsp; (Static Random Access Memory)</p>\n<p><strong>3.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>รอม</strong>&nbsp; ย่อมาจาก (Read-only Memory) หรือ ROM เป็นหน่วยความจำแบบ NonVolatile Memory คือ หน่วยความจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้วและพร้อมที่จะนำมาต่อกันกับไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรงข้อมูลที่เก็บอยู่ในรอมสามารถอ่านได้อย่างเดียว</p>\n<p><strong>3.3&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>แคช</strong>&nbsp; (Cache) คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงจะเก็บคำสั่งหรือข้อมูลที่เรียกใช้งานบ่อยๆ</p>\n<p>ชนิดของแคช</p>\n<p><strong>3.3.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>Level 1 มีขนาดเล็ก ความเร็วสูง</p>\n<p><strong>3.3.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>Level 2 มีขนาดใหญ่ ความเร็วต่ำ</p>\n<ol>\n<li><strong>4.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>หน่วยความจำรอง</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>4.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>ฮาร์ดดิสก์</strong></p>\n<p><strong>ส่วนประกอบของฮาร์ดดิสก์</strong></p>\n<p><strong>4.1.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>Platter หรือ แผ่นจานเหล็กเคลือบสารแม่เหล็กรูปวงกลมมีขนาดแตกต่างกัน</p>\n<p><strong>4.1.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>Spindle Motor เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่หมุน Platter</p>\n<p><strong>4.1.3&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>Read/Write Head ทำหน้าที่ อ่านหรือเขียนข้อมูลที่อยู่บน Platter ระยะห่าง 0.5 Micronches</p>\n<p><strong>4.1.4&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>Head Arm and Actuator เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายหัวอ่านเข้าออกตามแนวตัดกับ Track ของ Platter</p>\n<p><strong>4.1.5&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong>Logic Board คือ แผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่เป็นส่วนควบคุมการทำงานของ Hard disk ทั้งหมด นอกจากนี้ยังมี Buffer Memory ใช้สำหรับเป็นที่พักข้อมูลระหว่างฮาร์ดดิสก์และเมนบอร์ด</p>\n<p><strong>ชนิดของ&nbsp;</strong><strong>Hard disk (แบ่งตามการเชื่อมต่อ Interface)</strong></p>\n<ol>\n<li>แบบ IDE (Integrate Drive Electronics) ใช้สายแพขนาด 40 เส้น ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 8.3 เมกะไบต์/วินาที ความจุ 504 MB</li>\n<li>แบบ E-IDE (Enhanced Integrate Drive Electronics) ใช้สายแพ 80 เส้น ผ่านคอนเน็คเตอร์ 40 ขาความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 133 เมกะไบต์/วินาที</li>\n</ol>\n<p><strong>วิธีการรับส่งข้อมูลของ&nbsp;</strong><strong>Hard disk แบบ E-IDE แบ่งออกเป็น 2 โหมด คือ</strong></p>\n<p>2.1โหมด PIO (Programmed Input Output) เป็นการรับส่งข้อมูลโดยผ่านการประมวลผลของซีพียู เหมาะกับงานที่เรียกว่า Multitasking Environment)</p>\n<p>2.2โหมด DMA (Direct Memory Access) เป็นการรับส่งข้อมูลไปยัง RAMทำให้ซีพียูทำงานเร็วขึ้น</p>\n<p>3. แบบ SCSI (Small Computer System Interface) เรียกว่า สกัสซี่ จะมีการ์ดควบคุมการทำงาน เรียกว่า การ์ดสกัสซี่ ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 320 เมกะไบต์/วินาที เหมาะกับงานด้านเครือข่าย</p>\n<p>4. แบบ Serial ATA เรียกว่า SATA หรือ S-ATA มีความนิยมมากในปัจจุบัน มีอัตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลขั้นแรกอยู่ที่ 150 เมกะไบต์/วินาที</p>\n<p><strong>การพิจารณาฮาร์ดดิสก์</strong></p>\n<p>1)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความจุ มีหน่วยเป็นกิกะไบต์ (GB) เช่น 320 GB</p>\n<p>2)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความเร็ว มีหน่วยเป็น RPM เช่น 5400 RPM</p>\n<p>3)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การเชื่อมต่อ (ชนิดของฮาร์ดดิสก์)</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<ol>\n<li><strong>5.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>หน่วยแสดงผล</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>5.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>จอภาพ (</strong><strong>Monitor)</strong>&nbsp;เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่แสดงผลจากการสร้างจุดจำนวนมากเรียงกันทั้งแนวตั้ง-นอน ประกอบกันเป็นรูปภาพและตัวอักษร จำนวนจุดดังกล่าวจะเป็นตัวบอกความชัดของภาพ</p>\n<p><strong>ประเภทของ จอภาพ มี 2 ประเภท คือ</strong></p>\n<p><strong>5.1.1 จอภาพแบบซีอาร์ที (</strong><strong>CRT)</strong>&nbsp;มีลักษณะเหมือนจอโทรทัศน์ทำงานโดยใช้เทคโนโลยีหลอดรังสีอิเล็กตรอน โดยการยิงแสงอิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในของจอภาพ ผิวของจอภาพที่ฉาบด้วยสารฟอสฟอรัส จะทำให้ตำแหน่งที่ลำแสงอิเล็กตรอนวิ่งมาชนเกิดแสงสว่างขึ้น</p>\n<p><strong>5.1.2 จอภาพแบบแอลซีดี (</strong><strong>LCD)</strong>&nbsp;ทำงานโดยอาศัยการเบี่ยงเบนของแสงตามการควบคุมทิศทางของโพราไลเซชั่นของวัตถุ ที่กั้นระหว่างแหล่งกำเนิดแสงและแผ่นเคลือบสารเรืองแสง</p>\n<p><strong>5.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>จอสัมผัส (</strong><strong>Touch Screen)</strong>&nbsp;เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่รับข้อมูลจากการใช้นิ้วสัมผัสลงบนจอโดยเมื่อมีการเลือกตำแหน่งที่ถูกเลือกจะถูกแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังซอฟต์แวร์ที่แปลคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานปัจจุบันนิยมใช้กับโทรศัพท์มือถือ</p>\n<p><strong>5.3&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>เครื่องพิมพ์ (</strong><strong>Printer)</strong>&nbsp;เป็นอุปกรณ์ส่งออกซึ่งแสดงผลงานพิมพ์ลงบนกระดาษ</p>\n<p><strong>ประเภทของ เครื่องพิมพ์ มี 4 ประเภท คือ</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>1.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>เครื่องพิมพ์แบบจุด</strong>&nbsp;(Dot Matrix Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ขาว-ดำ และสี แต่พิมพ์สีจะทำงานช้า เหมาะสำหรับพิมพ์หลายสำเนาในครั้งเดียว เช่น ใบรับ-ส่งของ</li>\n<li><strong>2.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>แบบเลเซอร์</strong>&nbsp;(Laser Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ได้รับความนิยมเพราะมีคุณภาพการพิมพ์สูง ทำให้ภาพและตัวอักษรที่ได้คมชัดขึ้นพิมพ์ได้ทั้งสี และขาว-ดำ</li>\n<li><strong>3.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>แบบฉีดหมึกหรือ พ่นหมึก</strong>&nbsp;(Inkjet Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีราคาถูกพิมพ์ได้ทั้งสี และขาว-ดำ คุณภาพพิมพ์สีจะอยู่ในเกณฑ์ดี</li>\n<li><strong>4.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>แบบพล็อตเตอร์</strong>&nbsp;(plotter) เป็นเครื่องพิมพ์ขนาดใหญ่ที่ให้ความเที่ยงตรง มีความละเอียดและสัดส่วนที่ถูกต้องสูง เหมาะสำหรับพิมพ์ลงบนกระดาษขนาดใหญ่</li>\n</ol>\n<p align=\"center\"><strong>แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ</strong></p>\n<p><strong>แผงวงจรหลัก</strong><strong>(</strong><a href=\"http://www.google.co.th/url?sa=t&amp;rct=j&amp;q=%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81&amp;source=web&amp;cd=1&amp;cad=rja&amp;ved=0CCQQFjAA&amp;url=http%3A%2F%2Fwww.sglcomp.com%2Findex.php%3Flay%3Dshow%26ac%3Darticle%26Id%3D376106&amp;ei=xns8UODTG4nTrQe9h4DgBQ&amp;usg=AFQjCNHKpNEePgWDkvWzMgnzpeLVA9HYbA\"><strong>Mainboard)</strong></a>คือ เป็นอุปกรณ์ที่บรรจุอยู่ในเคส (Case) เปรียบเสมือนศูนย์กลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะอุปกรณ์ของหน่วยทั้ง 5 หน่วย ต้องถูกนำมาเชื่อมต่อกับเมนบอร์ดจึงจะทำงานได้</p>\n<p align=\"center\"><strong>การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ</strong></p>\n<p><strong>บัส (</strong><strong>Bus)</strong>&nbsp;คือ ช่องทางการสื่อสารขนถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์อื่น บัสเปรียบเสมือนช่องทางจราจร</p>\n<p><strong>ประเภทของบัส</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>1.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>บัสข้อมูล (</strong><strong>Data Bus)</strong>&nbsp;คือ เป็นเส้นทางผ่านและควบคุมการส่งถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์ภายนอกหรือ รับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่ซีพียู</li>\n<li><strong>2.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>บัสรองรับข้อมูล (</strong><strong>AddressBus)</strong>&nbsp;เป็นบัสที่ซีพียูเลือกที่จะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใดและต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางบัสรองรับข้อมูลนี้</li>\n<li><strong>3.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>บัสควบคุม (</strong><strong>Control Bus)&nbsp;</strong>เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากซีพียู เพื่อบังคับว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามาหรือส่งข้อมูลออกไปจากหน่วยประมวลผลกลาง</li>\n</ol>\n<p align=\"center\"><strong>ส่วนประกอบของเมนบอร์ด</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>1.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>CPU Socket</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>ใช้สำหรับติดตั้งซีพียูเข้ากับเมนบอร์ด</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>2.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>AGP Slot (Accelerator Graphic Port)</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>เป็นสล็อตที่มีไว้สำหรับติดตั้งการ์ดแสดงผลหรือการ์ดจอเท่านั้น สล็อตเอจีพีจะมีสีน้ำตาล</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>3.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>ATX Power Connector</strong></li>\n</ol>\n<p>เป็น<strong>ขั้วต่อสายไฟจากพาวเวอร์ซัพพลายเข้ากับเมนบอร์ด</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>4.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>BIOS (Basic Input Output )</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>เป็น</strong><strong>&nbsp;CHIP IC ชนิดหนึ่งที่อยู่บนเมนบอร์ดภายในจะมีโปรแกรมที่ใช้ตรวจสอบค้นหาอุปกรณ์ประเภทฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ดิสก์ไดร์ฟที่ติดตั้งเข้าไป</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>5.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>Floppy Disk Connector</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>คอนเน็คเตอร์สำหรับต่อสายแพเข้ากับ</strong><strong>&nbsp;Disk Drive</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>6.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>IDE Connector</strong><strong><br /><strong>เป็นคอนเน็คเตอร์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อสายแพกับฮาร์ดดิสก์แบบ</strong><strong>&nbsp;IDE</strong></strong></li>\n<li><strong>7.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>PCI Slots(Peripherals component interconnect)</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>สล็อตพีซีไอเป็นช่องที่เอาไว้สำหรับติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม เช่น ติดตั้งการ์ด</strong><strong>SCSI การ์ดเสียง</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>8.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>RAM Sockets</strong><strong><br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>&nbsp;เป็นช่องที่ใช้สำหรับติดตั้งแรมเข้าไป</strong></strong></li>\n<li><strong>9.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>PS/2 Mouse, PS/2 Keyboard Port</strong></li>\n</ol>\n<p><strong>เป็นพอร์ต์ที่ใช้สำหรับต่อสายเม้าส์กับสายคีย์บอร์ดเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์</strong></p>\n<ol>\n<li><strong>10.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>USB Port (Universal Serial Bus)</strong><br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>พอร์ตสำหรับต่อพ่วงกับอุปกรณ์ที่มีพอร์ตแบบยูเอสบี เช่นพรินเตอร์ สแกนเนอร์</strong></li>\n<li><strong>11.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>Parallel Port</strong><br /><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>&nbsp;พอร์ตพาราเรล เป็นพอร์ตแบบตัวเมียมีรู 25 รู สำหรับต่อสายพรินเตอร์หรือสแกนเนอร์</strong></strong></li>\n<li><strong>12.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>Serial Port</strong><br /><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>&nbsp;เป็นพอร์ตที่ใช้สำหรับต่อโมเด็ม เม้าส์ หรือจอยสติ๊ก</strong></strong></li>\n<li><strong>13.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>Video Port</strong><strong><br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>&nbsp;&nbsp;พอร์ตสำหรับต่อสายสัญญาณภาพ กับจอคอมพิวเตอร์</strong></strong></li>\n<li><strong>14.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</strong><strong>Line in / Line out / Microphone Jack</strong><strong><br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>&nbsp;&nbsp;ช่องสำหรับต่อไมโครโฟน ลำโพง แล้วก็เครื่องเล่นเทป</strong></strong></li>\n</ol>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;<img src=\"/files/u99106/wonnaKadee01.jpg\" alt=\"\" width=\"372\" height=\"500\" /></p>\n', created = 1729452629, expire = 1729539029, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b893d380e65a9782fc5518fa99eb5335' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ac2a81c3fbd1636f50571346a1135dec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>นางสาวเบญญาภา ศรสุนทร</p>\n<p><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/161045\">http://www.thaigoodview.com/node/161045</a></p>\n', created = 1729452629, expire = 1729539029, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ac2a81c3fbd1636f50571346a1135dec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d7ca08e5e5e3cf734659c81e75a2a592' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table class=\"contentpaneopen\">\n<tbody>\n<tr>\n<td valign=\"top\">\n<p><strong>1. ฮาร์ดแวร์ (</strong><strong>Hardware)</strong>&nbsp;หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนำมาต่อเชื่อมเพื่อทำงานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า \"ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)\" ที่มีโครงสร้างของระบบจะทำงานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น</p>\n<p><strong>2. ซอฟต์แวร์ (</strong><strong>Software)</strong>&nbsp;หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา</p>\n<p>ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ</p>\n<p><strong>1) ซอฟต์แวร์ระบบ (</strong><strong>System Software)&nbsp;</strong>เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือสำหรับการทำงานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทำงานจะเป็นไปตามชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์</p>\n<p><strong>2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (</strong><strong>Application Software)</strong>&nbsp;หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ</p>\n<p><strong>3. ข้อมูล/สารสนเทศ (</strong><strong>Data/Information)</strong>&nbsp;คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทำงาน ซึ่งอาจนำมาจำแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สำหรับคำนวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชำระให้กับการไฟฟ้าฯ</p>\n<p><strong>4. บุคคลากร (</strong><strong>Peopleware)</strong>&nbsp;คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสำคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดำเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทำด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้</p>\n<p>- เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)</p>\n<p>- บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)</p>\n<p>- ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager)</p>\n<p>- ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)</p>\n<p><strong>5. กระบวนการทำงาน (</strong><strong>Documentation/Procedure)</strong>&nbsp;เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์จำเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทำงาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทำคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็จะง่ายขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน</p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>&nbsp;<img src=\"/files/u99106/Warren-Buffet.jpg\" alt=\"\" width=\"380\" height=\"400\" /></p>\n', created = 1729452629, expire = 1729539029, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d7ca08e5e5e3cf734659c81e75a2a592' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานครั้งที่ 4 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ ม.4/2

รูปภาพของ benMontakan

คำชี้แจง   ให้นักเรียนสร้างบล็อก เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์โดยค้นหาข้อมูลจากในอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วยหัวข้อดังนี้

1. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

2. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

3. แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ 

4. คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

 

แจ้งการส่งที่ตรงแสดงความคิดเห็นว่าอยู่ที่ URL อะไร เช่น http://www.thaigoodview.com/node/21511

รูปภาพของ Piyatida2540

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

เรื่อง องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 5 หน่วย ได้แก่

  1. หน่วยรับเข้า  (Input Unit)
  2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU)
  3. หน่วยความจำหลัก (Main memory)
  4. หน่วยความจำรอง (Secondary Memory)
  5. หน่วยแสดงผล (Output Unit)

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

  1. 1.            หน่วยรับเข้า

-                   คีย์บอร์ด                                                    -  เครื่องอ่านพิกัด

-                   เมาส์                                                          -  จอสัมผัส

-                   ลูกกลมควบคุม                                         -  เครื่องอ่านรหัสแท่ง

-                   แท่งชี้ควบคุม                                            – เครื่องกราดตรวจ

-                   แผ่นรองสัมผัส                                          – กล้องดิจิตอล

-                   ก้านควบคุม                                               – กล้องเว็บแคม

-                   ปากกาแสง                                                            – ไมโครโฟน

  1. 2.            หน่วยประมวลผลกลาง

2.1 หน่วยควบคุม (Control Unit) หรือเรียกว่า (CU) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ

 

 

2.2    หน่วยคำนวณและตรรกะ(Arithmetic and logic Unit) หรือเรียกว่า (ALU) ทำหน้าที่ ประมวลการคำนวณทางคณิตศาสตร์และการเปรียบเทียบตรรกะ

  1. 3.            หน่วยความจำหลัก

3.1    แรม  ย่อมาจาก (Random Access Memory) หรือ RAM เป็นหน่วยความจำหลักที่จำเป็น เป็นหน่วยความจำแบบ Volatile Memory หน่วยความจำชนิดนี้จะสามารถเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น

ประเภทของแรม

3.1.1                DRAM (Dynamic Random Access Memory)

3.1.2                SRAM  (Static Random Access Memory)

3.2    รอม  ย่อมาจาก (Read-only Memory) หรือ ROM เป็นหน่วยความจำแบบ NonVolatile Memory คือ หน่วยความจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้วและพร้อมที่จะนำมาต่อกันกับไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรงข้อมูลที่เก็บอยู่ในรอมสามารถอ่านได้อย่างเดียว

3.3    แคช  (Cache) คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงจะเก็บคำสั่งหรือข้อมูลที่เรียกใช้งานบ่อยๆ

ชนิดของแคช

3.3.1                Level 1 มีขนาดเล็ก ความเร็วสูง

3.3.2                Level 2 มีขนาดใหญ่ ความเร็วต่ำ

  1. 4.            หน่วยความจำรอง

4.1    ฮาร์ดดิสก์

ส่วนประกอบของฮาร์ดดิสก์

4.1.1                Platter หรือ แผ่นจานเหล็กเคลือบสารแม่เหล็กรูปวงกลมมีขนาดแตกต่างกัน

4.1.2                Spindle Motor เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่หมุน Platter

4.1.3                Read/Write Head ทำหน้าที่ อ่านหรือเขียนข้อมูลที่อยู่บน Platter ระยะห่าง 0.5 Micronches

4.1.4                Head Arm and Actuator เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายหัวอ่านเข้าออกตามแนวตัดกับ Track ของ Platter

4.1.5                Logic Board คือ แผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่เป็นส่วนควบคุมการทำงานของ Hard disk ทั้งหมด นอกจากนี้ยังมี Buffer Memory ใช้สำหรับเป็นที่พักข้อมูลระหว่างฮาร์ดดิสก์และเมนบอร์ด

ชนิดของ Hard disk (แบ่งตามการเชื่อมต่อ Interface)

  1. แบบ IDE (Integrate Drive Electronics) ใช้สายแพขนาด 40 เส้น ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 8.3 เมกะไบต์/วินาที ความจุ 504 MB
  2. แบบ E-IDE (Enhanced Integrate Drive Electronics) ใช้สายแพ 80 เส้น ผ่านคอนเน็คเตอร์ 40 ขาความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 133 เมกะไบต์/วินาที

วิธีการรับส่งข้อมูลของ Hard disk แบบ E-IDE แบ่งออกเป็น 2 โหมด คือ

2.1โหมด PIO (Programmed Input Output) เป็นการรับส่งข้อมูลโดยผ่านการประมวลผลของซีพียู เหมาะกับงานที่เรียกว่า Multitasking Environment)

2.2โหมด DMA (Direct Memory Access) เป็นการรับส่งข้อมูลไปยัง RAMทำให้ซีพียูทำงานเร็วขึ้น

3. แบบ SCSI (Small Computer System Interface) เรียกว่า สกัสซี่ จะมีการ์ดควบคุมการทำงาน เรียกว่า การ์ดสกัสซี่ ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 320 เมกะไบต์/วินาที เหมาะกับงานด้านเครือข่าย

4. แบบ Serial ATA เรียกว่า SATA หรือ S-ATA มีความนิยมมากในปัจจุบัน มีอัตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลขั้นแรกอยู่ที่ 150 เมกะไบต์/วินาที

การพิจารณาฮาร์ดดิสก์

1)           ความจุ มีหน่วยเป็นกิกะไบต์ (GB) เช่น 320 GB

2)           ความเร็ว มีหน่วยเป็น RPM เช่น 5400 RPM

3)           การเชื่อมต่อ (ชนิดของฮาร์ดดิสก์)

 

  1. 5.            หน่วยแสดงผล

5.1    จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่แสดงผลจากการสร้างจุดจำนวนมากเรียงกันทั้งแนวตั้ง-นอน ประกอบกันเป็นรูปภาพและตัวอักษร จำนวนจุดดังกล่าวจะเป็นตัวบอกความชัดของภาพ

ประเภทของ จอภาพ มี 2 ประเภท คือ

5.1.1 จอภาพแบบซีอาร์ที (CRT) มีลักษณะเหมือนจอโทรทัศน์ทำงานโดยใช้เทคโนโลยีหลอดรังสีอิเล็กตรอน โดยการยิงแสงอิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในของจอภาพ ผิวของจอภาพที่ฉาบด้วยสารฟอสฟอรัส จะทำให้ตำแหน่งที่ลำแสงอิเล็กตรอนวิ่งมาชนเกิดแสงสว่างขึ้น

5.1.2 จอภาพแบบแอลซีดี (LCD) ทำงานโดยอาศัยการเบี่ยงเบนของแสงตามการควบคุมทิศทางของโพราไลเซชั่นของวัตถุ ที่กั้นระหว่างแหล่งกำเนิดแสงและแผ่นเคลือบสารเรืองแสง

5.2    จอสัมผัส (Touch Screen) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่รับข้อมูลจากการใช้นิ้วสัมผัสลงบนจอโดยเมื่อมีการเลือกตำแหน่งที่ถูกเลือกจะถูกแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังซอฟต์แวร์ที่แปลคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานปัจจุบันนิยมใช้กับโทรศัพท์มือถือ

5.3    เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ส่งออกซึ่งแสดงผลงานพิมพ์ลงบนกระดาษ

ประเภทของ เครื่องพิมพ์ มี 4 ประเภท คือ

  1. 1.            เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot Matrix Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ขาว-ดำ และสี แต่พิมพ์สีจะทำงานช้า เหมาะสำหรับพิมพ์หลายสำเนาในครั้งเดียว เช่น ใบรับ-ส่งของ
  2. 2.            แบบเลเซอร์ (Laser Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ได้รับความนิยมเพราะมีคุณภาพการพิมพ์สูง ทำให้ภาพและตัวอักษรที่ได้คมชัดขึ้นพิมพ์ได้ทั้งสี และขาว-ดำ
  3. 3.            แบบฉีดหมึกหรือ พ่นหมึก (Inkjet Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีราคาถูกพิมพ์ได้ทั้งสี และขาว-ดำ คุณภาพพิมพ์สีจะอยู่ในเกณฑ์ดี
  4. 4.            แบบพล็อตเตอร์ (plotter) เป็นเครื่องพิมพ์ขนาดใหญ่ที่ให้ความเที่ยงตรง มีความละเอียดและสัดส่วนที่ถูกต้องสูง เหมาะสำหรับพิมพ์ลงบนกระดาษขนาดใหญ่

แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ

แผงวงจรหลัก(Mainboard)คือ เป็นอุปกรณ์ที่บรรจุอยู่ในเคส (Case) เปรียบเสมือนศูนย์กลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะอุปกรณ์ของหน่วยทั้ง 5 หน่วย ต้องถูกนำมาเชื่อมต่อกับเมนบอร์ดจึงจะทำงานได้

การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ

บัส (Bus) คือ ช่องทางการสื่อสารขนถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์อื่น บัสเปรียบเสมือนช่องทางจราจร

ประเภทของบัส

  1. 1.            บัสข้อมูล (Data Bus) คือ เป็นเส้นทางผ่านและควบคุมการส่งถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์ภายนอกหรือ รับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่ซีพียู
  2. 2.            บัสรองรับข้อมูล (AddressBus) เป็นบัสที่ซีพียูเลือกที่จะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใดและต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางบัสรองรับข้อมูลนี้
  3. 3.            บัสควบคุม (Control Bus) เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากซีพียู เพื่อบังคับว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามาหรือส่งข้อมูลออกไปจากหน่วยประมวลผลกลาง

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด

  1. 1.            CPU Socket

ใช้สำหรับติดตั้งซีพียูเข้ากับเมนบอร์ด

  1. 2.            AGP Slot (Accelerator Graphic Port)

เป็นสล็อตที่มีไว้สำหรับติดตั้งการ์ดแสดงผลหรือการ์ดจอเท่านั้น สล็อตเอจีพีจะมีสีน้ำตาล

  1. 3.            ATX Power Connector

เป็นขั้วต่อสายไฟจากพาวเวอร์ซัพพลายเข้ากับเมนบอร์ด

  1. 4.            BIOS (Basic Input Output )

เป็น CHIP IC ชนิดหนึ่งที่อยู่บนเมนบอร์ดภายในจะมีโปรแกรมที่ใช้ตรวจสอบค้นหาอุปกรณ์ประเภทฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ดิสก์ไดร์ฟที่ติดตั้งเข้าไป

  1. 5.            Floppy Disk Connector

คอนเน็คเตอร์สำหรับต่อสายแพเข้ากับ Disk Drive

  1. 6.            IDE Connector
    เป็นคอนเน็คเตอร์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อสายแพกับฮาร์ดดิสก์แบบ IDE
  2. 7.            PCI Slots(Peripherals component interconnect)

สล็อตพีซีไอเป็นช่องที่เอาไว้สำหรับติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม เช่น ติดตั้งการ์ดSCSI การ์ดเสียง

  1. 8.            RAM Sockets
              เป็นช่องที่ใช้สำหรับติดตั้งแรมเข้าไป
  2. 9.            PS/2 Mouse, PS/2 Keyboard Port

เป็นพอร์ต์ที่ใช้สำหรับต่อสายเม้าส์กับสายคีย์บอร์ดเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์

  1. 10.    USB Port (Universal Serial Bus)
              พอร์ตสำหรับต่อพ่วงกับอุปกรณ์ที่มีพอร์ตแบบยูเอสบี เช่นพรินเตอร์ สแกนเนอร์
  2. 11.    Parallel Port
              พอร์ตพาราเรล เป็นพอร์ตแบบตัวเมียมีรู 25 รู สำหรับต่อสายพรินเตอร์หรือสแกนเนอร์
  3. 12.    Serial Port
              เป็นพอร์ตที่ใช้สำหรับต่อโมเด็ม เม้าส์ หรือจอยสติ๊ก
  4. 13.    Video Port
              พอร์ตสำหรับต่อสายสัญญาณภาพ กับจอคอมพิวเตอร์
  5. 14.    Line in / Line out / Microphone Jack
              ช่องสำหรับต่อไมโครโฟน ลำโพง แล้วก็เครื่องเล่นเทป

 

 

 

 

นางสาวเบญญาภา ศรสุนทร

http://www.thaigoodview.com/node/161045

รูปภาพของ Piyatida2540

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนำมาต่อเชื่อมเพื่อทำงานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)" ที่มีโครงสร้างของระบบจะทำงานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น

2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา

ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือสำหรับการทำงานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทำงานจะเป็นไปตามชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ

3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทำงาน ซึ่งอาจนำมาจำแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สำหรับคำนวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชำระให้กับการไฟฟ้าฯ

4. บุคคลากร (Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสำคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดำเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทำด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้

- เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)

- บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)

- ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager)

- ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)

5. กระบวนการทำงาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์จำเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทำงาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทำคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็จะง่ายขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 405 คน กำลังออนไลน์