• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4d6e2e92c3d25b466214d9ef68fbf7cd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"margin-bottom: 0.0001pt; text-align: center\" align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 28pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">แร่ </span></b><b><span style=\"font-size: 28pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: 28pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span><img src=\"/files/u86961/111111.jpg\" height=\"154\" width=\"200\" />\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">       <br />\n<b>  <span style=\"background-color: yellow\" lang=\"TH\">แร่ (</span><span style=\"background-color: yellow\">Mineral)</span></b> <span lang=\"TH\">หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ (ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต)<br />\nที่มีสถานะเป็นของแข็ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีโครงสร้างภายในที่เป็นผลึก<br />\nมีสูตรเคมีและสมบัติอื่นๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกัด ตัวอย่างเช่น<br />\nแร่เฮไลต์ (เกลือ) เป็นสารประกอบ (</span>Compound) <span lang=\"TH\">ซึ่งประกอบด้วยอะตอมของโซเดียมและคลอรีนจำนวนเท่ากัน<br />\nเกาะตัวกันอยู่โดยมีโครงสร้าง</span> 3 <span lang=\"TH\">มิติเป็นผลึกลูกบาศก์<br />\nซึ่งอะตอมของโซเดียม</span> 1 <span lang=\"TH\">ตัวจะถูกห้อมล้อมด้วยอะตอมของคลอรีน</span> 6 <span lang=\"TH\">ตัว ในขณะเดียวกันอะตอมของคลอรีน</span> 1<span lang=\"TH\">ตัวก็จะถูกห้อมล้อมด้วยอะตอมของโซเดียมจำนวน</span> 6 <span lang=\"TH\">ตัว (ดังภาพที่</span> 3) <span lang=\"TH\">ทั้งนี้ผลึกเกลือขนาดเท่าหัวเข็มหมุด<br />\nประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์หลายล้านโมเลกุล</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img src=\"/files/u86961/001.gif\" height=\"188\" width=\"396\" /> \n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; background-color: yellow; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">คุณสมบัติทางกายภาพของแร่</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><br />\n<span lang=\"TH\">แร่มีอยู่มากมายหลายชนิด<br />\nในการจำแนกแร่โดยพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีมิใช่ของง่าย ตัวอย่างเช่น แร่เฮไลต์</span> (NaCl) <span lang=\"TH\">ประกอบด้วยการจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งของอะตอมโซเดียมและคลอรีน<br />\nโดยมีโครงสร้างผลึกทรงลูกบาศก์ การที่จะทราบเช่นนี้<br />\nเราจะต้องเก็บตัวอย่างแร่ไปทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ<br />\nซึ่งต้องใช้เวลาและเงินจำนวนมาก<br />\nในทางปฏิบัตินักธรณีวิทยาจึงมีวิธีพิจารณาคุณสมบัติทางกายภาพของแร่ดังนี้</span> </span></p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; background-color: yellow; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ผลึก</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; background-color: yellow; font-family: \'Angsana New\', serif\"> (Crystal)</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\">  <span lang=\"TH\">หมายถึง</span> </span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ของแข็งที่มีเนื้อเดียวกัน<br />\nมีรูปทรงสามมิติ ผิวหน้าแต่ด้านเป็นระนาบ<br />\nซึ่งเป็นผลมาจากการจัดตัวของอะตอมหรือโมเลกุลของธาตุที่ประกอบอยู่ในของแข็งนั้นอย่างมีแบบแผน<br />\nผลึกชุดหนึ่งจะประกอบด้วยระนาบผลึกซึ่งมีสมมาตรแบบเดียวกัน<br />\nซึ่งอาจประกอบด้วยรูปผลึก (</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\">Crystal shape) </span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">เพียงรูปแบบเดียว<br />\nหรือหลายรูปผลึกติดกันก็ได้แต่ต้องสมมาตรกัน<br />\nแร่บางชนิดมีองค์ประกอบจากธาตุเดียวกัน แต่มีรูปผลึกต่างกัน ก็มีคุณสมบัติต่างกัน<br />\nเช่น เพชร และกราไฟต์ ประกอบด้วยอะตอมของธาตุคาร์บอน ซึ่งมีโครงสร้างผลึกต่างกัน<br />\nเพชรมีผลึกรูปปิระมิดประกบจึงมีความแข็งแรงมาก<br />\nส่วนแกรไฟต์มีผลึกเป็นแผ่นบางจึงอ่อนและแตกหักได้ง่าย</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><img src=\"/files/u86961/004.gif\" height=\"218\" width=\"483\" /> \n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt; text-align: center\" align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"></span></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; background-color: aqua; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">แนวแตกเรียบ</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; background-color: aqua; font-family: \'Angsana New\', serif\"> (Clevage)</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\">หมายถึง<br />\nรอยที่แตกเป็นระนาบเรียบตามโครงสร้างอะตอมในผลึกแร่<br />\nโดยทั่วไปรอยแตกนี้จะขนานไปกับหน้าผลึกแร่ แนวแตกนี้อาจเป็นระนาบเดียวหรือหลายระนาบก็ได้<br />\nแสดงให้เห็นว่า</span> <span lang=\"TH\">แร่ไมก้า มีรอยแตกเรียบระนาบเดียว แร่เฟลด์สปาร์มีรอยแตกเรียบ</span> 2 <span lang=\"TH\">ระนาบตั้งฉาก แร่เฮไลต์มีรอยแตกเรียบ</span> 3 <span lang=\"TH\">ระนาบตั้งฉากกัน<br />\nแร่แคลไซต์มีรอยแตกเรียบ</span> 3 <span lang=\"TH\">ระนาบเฉียงกัน</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: left\">\n<img src=\"/files/u86961/006.jpg\" height=\"300\" width=\"300\" />\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"></span></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; background-color: aqua; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">แนวแตกประชิด</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; background-color: aqua; font-family: \'Angsana New\', serif\"> (Fracture)</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"font-size: large\"> </span><span style=\"font-size: 18pt\" lang=\"TH\">หมายถึง<br />\nแนวแตกบางๆ ซึ่งปรากฏเป็นแนวขนานบางๆ หลายแนวบนเนื้อแร่<br />\nและมิได้อยู่ในระนาบเดียวกับแนวแตกเรียบ</span></span></p>\n<p>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; background-color: lime; font-family: \'Angsana New\', serif\">ความถ่วงจำเพาะ (</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; background-color: lime; font-family: \'Angsana New\', serif\">Specific Gravity)</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\">เป็นอัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของสสารต่อน้ำหนักของน้ำ<br />\nณ อุณหภูมิหนึ่งๆ (โดยปกติเป็นอุณหภูมิ </span>20<span lang=\"TH\">องศา)<br />\nถ้าหากแร่ชนิดหนึ่งมีน้ำหนัก </span>2.5 <span lang=\"TH\">เท่า<br />\nของน้ำที่มีปริมาตรเท่ากัน แสดงว่า แร่ชนิดนั้นมีความถ่วงจำเพาะ </span>2.5 <span lang=\"TH\">ความถ่วงจำเพาะมักเรียกโดยย่อว่า </span>“<span lang=\"TH\">ถ.พ.</span>” <span lang=\"TH\">แร่ทั่วไปมี ถ.พ.ประมาณ </span>2.7 <span lang=\"TH\">ส่วนแร่โลหะจะมี<br />\nถ.พ.มากกว่านั้นมาก เช่น แร่ทองมี ถ.พ. </span>19, <span lang=\"TH\">แร่เงินมี ถ.พ. </span>10.5,<br />\n<span lang=\"TH\">แร่ทองแดงมี ถ.พ. </span>8.9 <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span><br />\n</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; background-color: yellow; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ความแข็ง (</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; background-color: yellow; font-family: \'Angsana New\', serif\">Hardness)</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\">มาตราความแข็งของแร่ตามระบบสเกลของโมล (</span>Mol’s<br />\nscale) <span lang=\"TH\">ประกอบด้วยแร่มาตรฐาน</span> 10 <span lang=\"TH\">ชนิด เรียงลำดับตั้งแต่แร่ที่ทนทานต่อการขูดขีดน้อยที่สุด ถึงมากที่สุด</span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span style=\"background-color: lime\" lang=\"TH\">สรุป</span><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">       <br />\n<b>  <span style=\"background-color: yellow\" lang=\"TH\">แร่ (</span><span style=\"background-color: yellow\">Mineral)</span></b> <span lang=\"TH\">หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ (ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต)<br />\nที่มีสถานะเป็นของแข็ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีโครงสร้างภายในที่เป็นผลึก<br />\nมีสูตรเคมีและสมบัติอื่นๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกัด ตัวอย่างเช่น<br />\nแร่เฮไลต์ (เกลือ) เป็นสารประกอบ (</span>Compound) <span lang=\"TH\">ซึ่งประกอบด้วยอะตอมของโซเดียมและคลอรีนจำนวนเท่ากัน<br />\nเกาะตัวกันอยู่โดยมีโครงสร้าง</span> 3 <span lang=\"TH\">มิติเป็นผลึกลูกบาศก์<br />\nซึ่งอะตอมของโซเดียม</span> 1 <span lang=\"TH\">ตัวจะถูกห้อมล้อมด้วยอะตอมของคลอรีน</span> 6 <span lang=\"TH\">ตัว ในขณะเดียวกันอะตอมของคลอรีน</span> 1<span lang=\"TH\">ตัวก็จะถูกห้อมล้อมด้วยอะตอมของโซเดียมจำนวน</span> 6 <span lang=\"TH\">ตัว (ดังภาพที่</span> 3) <span lang=\"TH\">ทั้งนี้ผลึกเกลือขนาดเท่าหัวเข็มหมุด<br />\nประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์หลายล้านโมเลกุล</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; background-color: yellow; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">คุณสมบัติทางกายภาพของแร่</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><br />\n<span lang=\"TH\">แร่มีอยู่มากมายหลายชนิด<br />\nในการจำแนกแร่โดยพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีมิใช่ของง่าย ตัวอย่างเช่น แร่เฮไลต์</span> (NaCl) <span lang=\"TH\">ประกอบด้วยการจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งของอะตอมโซเดียมและคลอรีน<br />\nโดยมีโครงสร้างผลึกทรงลูกบาศก์ การที่จะทราบเช่นนี้<br />\nเราจะต้องเก็บตัวอย่างแร่ไปทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ<br />\nซึ่งต้องใช้เวลาและเงินจำนวนมาก<br />\nในทางปฏิบัตินักธรณีวิทยาจึงมีวิธีพิจารณาคุณสมบัติทางกายภาพของแร่ดังนี้</span> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; background-color: aqua; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">แบบทดสอบ</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">1. แร่มีสถานะเป็นอะไร</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ก. ของแข็ง</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ข. ของเหลว</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ค. แก๊ส</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ง. ไม่มีข้อใดถูก</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">2. ความถ่วงจำเพาะมีชื่อย่อเป็นอะไร</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ก. ก.ด.</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ข. ถ.พ.</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ค. น.ย.</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ง. ค.ถ.จ.<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">3. <span lang=\"TH\">ความแข็งประกอบด้วยแร่มาตรฐานกี่ชนิด</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\">ก. 7 ชนิด</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ข. 8 ชนิด</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> ค. 9 ชนิด</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ง.  10 ชนิด<o:p></o:p></span>\n</p>\n', created = 1716277953, expire = 1716364353, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4d6e2e92c3d25b466214d9ef68fbf7cd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แร่

แร่

       
  แร่ (Mineral) หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ (ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต)
ที่มีสถานะเป็นของแข็ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีโครงสร้างภายในที่เป็นผลึก
มีสูตรเคมีและสมบัติอื่นๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกัด ตัวอย่างเช่น
แร่เฮไลต์ (เกลือ) เป็นสารประกอบ (
Compound) ซึ่งประกอบด้วยอะตอมของโซเดียมและคลอรีนจำนวนเท่ากัน
เกาะตัวกันอยู่โดยมีโครงสร้าง
 3 มิติเป็นผลึกลูกบาศก์
ซึ่งอะตอมของโซเดียม
 1 ตัวจะถูกห้อมล้อมด้วยอะตอมของคลอรีน 6 ตัว ในขณะเดียวกันอะตอมของคลอรีน 1ตัวก็จะถูกห้อมล้อมด้วยอะตอมของโซเดียมจำนวน 6 ตัว (ดังภาพที่ 3) ทั้งนี้ผลึกเกลือขนาดเท่าหัวเข็มหมุด
ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์หลายล้านโมเลกุล

 

คุณสมบัติทางกายภาพของแร่
แร่มีอยู่มากมายหลายชนิด
ในการจำแนกแร่โดยพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีมิใช่ของง่าย ตัวอย่างเช่น แร่เฮไลต์
 (NaCl) ประกอบด้วยการจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งของอะตอมโซเดียมและคลอรีน
โดยมีโครงสร้างผลึกทรงลูกบาศก์ การที่จะทราบเช่นนี้
เราจะต้องเก็บตัวอย่างแร่ไปทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ
ซึ่งต้องใช้เวลาและเงินจำนวนมาก
ในทางปฏิบัตินักธรณีวิทยาจึงมีวิธีพิจารณาคุณสมบัติทางกายภาพของแร่ดังนี้
 

ผลึก (Crystal)  หมายถึง  ของแข็งที่มีเนื้อเดียวกัน
มีรูปทรงสามมิติ ผิวหน้าแต่ด้านเป็นระนาบ
ซึ่งเป็นผลมาจากการจัดตัวของอะตอมหรือโมเลกุลของธาตุที่ประกอบอยู่ในของแข็งนั้นอย่างมีแบบแผน
ผลึกชุดหนึ่งจะประกอบด้วยระนาบผลึกซึ่งมีสมมาตรแบบเดียวกัน
ซึ่งอาจประกอบด้วยรูปผลึก (
Crystal shape) เพียงรูปแบบเดียว
หรือหลายรูปผลึกติดกันก็ได้แต่ต้องสมมาตรกัน
แร่บางชนิดมีองค์ประกอบจากธาตุเดียวกัน แต่มีรูปผลึกต่างกัน ก็มีคุณสมบัติต่างกัน
เช่น เพชร และกราไฟต์ ประกอบด้วยอะตอมของธาตุคาร์บอน ซึ่งมีโครงสร้างผลึกต่างกัน
เพชรมีผลึกรูปปิระมิดประกบจึงมีความแข็งแรงมาก
ส่วนแกรไฟต์มีผลึกเป็นแผ่นบางจึงอ่อนและแตกหักได้ง่าย

  

แนวแตกเรียบ (Clevage) หมายถึง
รอยที่แตกเป็นระนาบเรียบตามโครงสร้างอะตอมในผลึกแร่
โดยทั่วไปรอยแตกนี้จะขนานไปกับหน้าผลึกแร่ แนวแตกนี้อาจเป็นระนาบเดียวหรือหลายระนาบก็ได้
แสดงให้เห็นว่า
 แร่ไมก้า มีรอยแตกเรียบระนาบเดียว แร่เฟลด์สปาร์มีรอยแตกเรียบ 2 ระนาบตั้งฉาก แร่เฮไลต์มีรอยแตกเรียบ 3 ระนาบตั้งฉากกัน
แร่แคลไซต์มีรอยแตกเรียบ
 3 ระนาบเฉียงกัน

 

 

แนวแตกประชิด (Fracture) หมายถึง
แนวแตกบางๆ ซึ่งปรากฏเป็นแนวขนานบางๆ หลายแนวบนเนื้อแร่
และมิได้อยู่ในระนาบเดียวกับแนวแตกเรียบ

ความถ่วงจำเพาะ (Specific Gravity) เป็นอัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของสสารต่อน้ำหนักของน้ำ
ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ (โดยปกติเป็นอุณหภูมิ
20องศา)
ถ้าหากแร่ชนิดหนึ่งมีน้ำหนัก
2.5 เท่า
ของน้ำที่มีปริมาตรเท่ากัน แสดงว่า แร่ชนิดนั้นมีความถ่วงจำเพาะ
2.5 ความถ่วงจำเพาะมักเรียกโดยย่อว่า ถ.พ.แร่ทั่วไปมี ถ.พ.ประมาณ 2.7 ส่วนแร่โลหะจะมี
ถ.พ.มากกว่านั้นมาก เช่น แร่ทองมี ถ.พ.
19, แร่เงินมี ถ.พ. 10.5,
แร่ทองแดงมี ถ.พ. 8.9 เป็นต้น

ความแข็ง (Hardness) มาตราความแข็งของแร่ตามระบบสเกลของโมล (Mol’s
scale) ประกอบด้วยแร่มาตรฐาน 10 ชนิด เรียงลำดับตั้งแต่แร่ที่ทนทานต่อการขูดขีดน้อยที่สุด ถึงมากที่สุด

 

 สรุป

       
  แร่ (Mineral) หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ (ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต)
ที่มีสถานะเป็นของแข็ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีโครงสร้างภายในที่เป็นผลึก
มีสูตรเคมีและสมบัติอื่นๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกัด ตัวอย่างเช่น
แร่เฮไลต์ (เกลือ) เป็นสารประกอบ (
Compound) ซึ่งประกอบด้วยอะตอมของโซเดียมและคลอรีนจำนวนเท่ากัน
เกาะตัวกันอยู่โดยมีโครงสร้าง
 3 มิติเป็นผลึกลูกบาศก์
ซึ่งอะตอมของโซเดียม
 1 ตัวจะถูกห้อมล้อมด้วยอะตอมของคลอรีน 6 ตัว ในขณะเดียวกันอะตอมของคลอรีน 1ตัวก็จะถูกห้อมล้อมด้วยอะตอมของโซเดียมจำนวน 6 ตัว (ดังภาพที่ 3) ทั้งนี้ผลึกเกลือขนาดเท่าหัวเข็มหมุด
ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์หลายล้านโมเลกุล

คุณสมบัติทางกายภาพของแร่
แร่มีอยู่มากมายหลายชนิด
ในการจำแนกแร่โดยพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีมิใช่ของง่าย ตัวอย่างเช่น แร่เฮไลต์
 (NaCl) ประกอบด้วยการจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งของอะตอมโซเดียมและคลอรีน
โดยมีโครงสร้างผลึกทรงลูกบาศก์ การที่จะทราบเช่นนี้
เราจะต้องเก็บตัวอย่างแร่ไปทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ
ซึ่งต้องใช้เวลาและเงินจำนวนมาก
ในทางปฏิบัตินักธรณีวิทยาจึงมีวิธีพิจารณาคุณสมบัติทางกายภาพของแร่ดังนี้
 

แบบทดสอบ
1. แร่มีสถานะเป็นอะไร

 ก. ของแข็ง

 ข. ของเหลว

 ค. แก๊ส

 ง. ไม่มีข้อใดถูก

2. ความถ่วงจำเพาะมีชื่อย่อเป็นอะไร

 ก. ก.ด.

 ข. ถ.พ.

 ค. น.ย.

 ง. ค.ถ.จ.

3. ความแข็งประกอบด้วยแร่มาตรฐานกี่ชนิด

 ก. 7 ชนิด

 ข. 8 ชนิด

 ค. 9 ชนิด

ง.  10 ชนิด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 383 คน กำลังออนไลน์