• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3c61aae59f2d3b654b4f42038e411d23' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/143024\"><img src=\"/files/u77033/1_1.gif\" height=\"115\" width=\"190\" /></a>         <a href=\"/node/147355\"><img src=\"/files/u77033/2_0.gif\" height=\"116\" width=\"190\" /></a>          <a href=\"/node/147352\"><img src=\"/files/u77033/3.gif\" height=\"116\" width=\"190\" /></a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/148194\"><img src=\"/files/u77033/4.gif\" height=\"116\" width=\"190\" /></a>        <a href=\"/node/151470\"> <img src=\"/files/u77033/5.gif\" width=\"190\" height=\"116\" /></a>         <a href=\"/node/151471\"><img src=\"/files/u77033/6.gif\" height=\"116\" width=\"190\" /></a> \n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224250.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"text-align: center\"> </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/DSC_0522__1_.jpg\" height=\"234\" width=\"300\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ  <a href=\"http://1.bp.blogspot.com/_RIqPfMEGJ7o/SokCDH99RTI/AAAAAAAAAC8/wfUWn5xUOjQ/s200/DSC_0522.JPG\">http://1.bp.blogspot.com/_RIqPfMEGJ7o/SokCDH99RTI/AAAAAAAAAC8/wfUWn5xUOjQ/s200/DSC_0522.JPG</a> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>บ้านบาตรถือได้ว่าเป็นหมู่บ้านหัตถกรรมที่มีความเก่าแก่มากที่สุดและมีมาตั้งแต่สมัยต้นรัตนโกสินทร์   แต่ยังไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดว่ามีความเป็นมาอย่างไร  แต่เท่าที่ได้มีผู้ศึกษาไว้และจากปากคำของชาวบ้านสันนิษฐานได้ว่าน่าจะมาจาก 2 แหล่งนี้ คือ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>ชาวบ้านบาตรเดิมเป็นชาวกรุงศรีอยุธยา  ภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310 แล้วชาวบ้านบาตรก็ต้องอพยพหลบหนีเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก-มหาราช  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สถาปนากรุงเทพฯ เป็นราชธานี  ชาวบ้านบาตรจึงมาสร้างบ้านอยู่บริเวณที่เป็นชุมชนอยู่ในปัจจุบันนี้ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>ส่วนอีกกระแสหนึ่ง ก็ว่าเดิมนั้นชาวบ้านบาตรเป็นชาวเขมรที่ถูกกวาดต้อนมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มาอยู่อาศัยบริเวณเกาะเขมรซึ่งเป็นบริเวณที่กักกันชาวเขมรรัชกาลที่ 3 ทรงเห็นว่าชาวเขมรมีฝีมือในการทำบาตรเลยให้การสนับสนุน ในเรื่องนี้ชาวบ้านบาตรในปัจจุบันก็ไม่สามารถยืนยันได้สอบถามได้ว่าในหมู่บ้านก็ไม่มีคนเชื้อสายเขมร  แต่มีตรอกถัดไปทางถนนวรจักร ชื่อ &quot;ตรอกเขมร&quot; ไม่แน่ใจว่าจะเป็นสถานที่ที่ชาวเขมรเคยอาศัยอยู่หรือไหม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>ในสมัยก่อนการทำบาตรที่นี่ถือว่าเป็นการทำบาตรด้วยมือแห่งเดียวในประเทศก็ว่าได้เพราะชาวบ้านยึดอาชีพการทำบาตรเป็นอาชีพหลัก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" /> \n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224251.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>บริเวณชุมชนบ้านบาตรมีการทำบาตรพระตลอดทั้งซอย การประกอบอาชีพทำบาตรทำมาตั้งแต่สมัยอยุธยาพื้นเพของชาวบ้านมาจากอยุธยา แต่เริ่มประกอบอาชีพทำบาตรอย่างจริงจังเมื่อสมัยรัชกาลที่ 5 แล้วสืบทอดต่อกันมาจากชั่วอายุหนึ่งสู่อีกชั่วอายุหนึ่ง แม้กาลเวลาจะเปลี่ยนผ่านไป แต่การทำบาตรที่ชุมชนนี้ยังคงดำเนินอยู่ และเป็นแค่ชุมชนเดียวเท่านั้นในประเทศไทยที่มีการทำบาตรพระด้วยมือตามแบบอย่างโบราณ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ทุกวันนี้ อนุชนช่างบ้านบาตรยังคงสืบสานงานอาชีพศิลป์อยู่ ณ แหล่งเดิม สิ่งที่คนทำบาตรทุกคนจะต้องทำก่อนการเริ่มอาชีพทำบาตรคือ ไปขอกับพ่อปู่ โดยการกล่าวบอกว่าตนเองต้องการเป็นช่าง ขอฝากตัวเป็นศิษย์ ขอให้ทำบาตรให้ออกมาสวย ดี ไม่บุบ โดยทุกคนจะต้องมาไหว้ขอก่อน มิเช่นนั้นจะไม่สามารถตีบาตรที่สวยได้เลย ถ้าตีเรียบก็อาจจะตีไม่เที่ยงไม่โดนกะล่อน อาจทำให้บาตรเสียทรงได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ในชีวิตประจำวัน ช่างทำบาตรต้องยกมือไหว้เครื่องมือทุกชิ้น พบว่ามีความเชื่อหนึ่งที่ว่า บ้านใดที่เคยเป็นช่างแล่นมาก่อน จะมีเตาสูบ เมื่อเตาสูบเลิกใช้งานแล้ว มักนำเตาสูบตั้งบูชานับถือเป็นปู่ครูทั่วทั้งย่านบ้านบาตร ทำให้เตาสูบแบบ ดั้งเดิมยังคงหลงเหลือให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษา เพราะปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามาแทนที่ภูมิปัญญาที่บรรพบุรุษได้เคยสร้างไว้ ให้หลงเหลือแค่เพียงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีคุณค่าต่อการเคารพบูชาปัจจุบันการทำบาตรพระในชุมชนบ้านบาตรเหลืออยู่ 3 หลังคาเรือนหลักเท่านั้น  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-10_094744.png\" width=\"472\" height=\"306\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ <a href=\"http://banbatt.com/images/ch1.png\" title=\"http://banbatt.com/images/ch1.png\">http://banbatt.com/images/ch1.png</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" /> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224252.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-10_094156.png\" width=\"350\" height=\"216\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ   <a href=\"http://lh3.ggpht.com/_xc8hzsKemUs/TTZxs-7t6qI/AAAAAAAABDw/OnVJIW729x4/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3.jpg\">http://lh3.ggpht.com/_xc8hzsKemUs/TTZxs-7t6qI/AAAAAAAABDw/OnVJIW729x4/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3.jpg</a>  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"text-align: center\">พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี  </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nเมื่อครั้งอดีตทรงเป็นทหารหลวงในสมัยอยุธยา มีพระราชประสงค์จะให้กรุงเทพฯเป็นราชธานีแห่งใหม่เป็นศูนย์กลาง\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nอาณาจักร ด้วยเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำที่มั่งคั่งสมบูรณ์ไม่แพ้กรุงศรีอยุธยา\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nชาวบ้านที่อพยพมาจากกรุงเก่า และชาวบางกอกเดิม ต่างก็ต้องปรับตัวให้ตนอยู่รอดมากที่สุด\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nดังนั้นชุมชนเดิมที่รวมกลุ่มเป็นหมู่บ้านแบบเฉพาะถิ่น อาทิ กลุ่มชาวนา กลุ่มพ่อค้า กลุ่มชาวจีน ชาวญวน\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nหรือแม้แต่กลุ่มอาชีพดั้งเดิมก็ถูกรื้อฟื้นให้มีขึ้น เช่น ที่ถนนบำรุงเมืองหลังวัดสระเกศ ใกล้กับเมรุปูนมีซอยย่อย\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่ตั้งใกล้กันอยู่ยาวทั่วทั้งถนนในอดีตนั้นถนนแห่งนี้เคยเป็นแหล่งชุมชนคนทำกินอาชีพหนึ่ง \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่สามารถสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้ตลอดทั้งปีย่านนี้เรียกกันว่า &quot;บ้านบาตร&quot; \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nบ้านบาตรตั้งขึ้นในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัด ประมาณกันว่า ชุมชนมีอายุยาวนานกว่าสองร้อยปี  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ทั้งนี้ด้วยอาศัยแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชนร่วมกันทำนุบำรุงค้าชูพระศาสนาโดยประเพณีบวชลูกหลานสืบเนื่องต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย ชาวบ้านบาตรจึงมีงามอุดมพอเลี้ยงชีพและผดุงศิลปะการทำบาตรต่อมาในชุมชนบ้านบาตรทุกเหย้าเรือน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>&quot;จนกระทั่งปี พ.ศ.2514 มีการก่อตั้งโรงงานผลิตบาตรพระขึ้นมาจึงทำให้กิจการทำบาตรพระที่บ้านบาตรค่อยๆลดน้อยลงไป &quot;  ก่อนหน้านั้นบ้านบาตรทำบาตรพระกันทั้งหมู่บ้าน พอเจอบาตรปั๊มจากโรงงานตีตลาด เราก็หยุดไปประมาณ 20-30 ปี มาปี พ.ศ.2544 มีการตั้งกลุ่มทำบาตรพระขึ้นมา โดยท่านชาญชัย วามะศิริ ผู้อำนวยการเขตป้อมปราบฯ ท่านได้ส่งเสริมอนุรักษ์การทำบาตรของเรา โดยการส่งเสริมพานักท่องเที่ยวเข้ามาดูวิธีการทำบาตร ตอนนี้งาน เริ่มขยับตัวขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2544-2545&quot; (คุณหิรัญ เสือศรีเสริม รองประธานชุมชนบ้านบาตร)  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ปัจจุบันมีการผลิตบาตรบุน้อยลงมากและจำกัดอยู่เพียงจำหน่ายเป็นของที่ระลึกหรือรับสั่งทำจากพระสงฆ์โดยตรงเท่านั้น ปัจจัยหลักที่ทำให้หัตถกรรมบาตรบุลดน้อยถอยลงเป็นลำดับเนื่องจากมี &quot;บาตรปั๊ม&quot; เข้ามาแทนที่เมื่อราว 30 ปีที่ผ่านมา และมีส่วนแบ่งการตลาดเป็นส่วนใหญ่ บาตรปั๊มซึ่งมีกำลังการผลิตสูง ราคาขายส่งถูก  จึงเป็นที่ต้องการของพ่อค้าคนกลางเทียบกันตามราคาขาย &quot;บาตรบุ&quot; ขนาด 7 นิ้ว จำหน่ายในราคา 800 บาท บาตรปั๊มสามารถขายในราคาเพียง 100 กว่าบาทเท่านั้น พ่อค้าคนกลางจึงหันมาจำหน่ายบาตรปั๊ม และกดราคาบาตรบุลง จนช่างไม่สามารถหากำไรจากการขายส่งได้ จึงหันมารับงานที่ผู้ว่าจ้างต้องการความประณีตเป็นพิเศษโดยไม่เกี่ยงราคา บางคนก็เลิกอาชีพช่างไปประกอบอาชีพอื่น บาตรปั๊มจึงเข้ายึดครองตลาดจนบาตรบุขาดหายไปจากตลาดเครื่องสังฆภัณฑ์ในช่วง 30 ปีนั้น  เนื่องจากบาตรบุของชาวบ้านบาตรมีราคาสูงเนื่องจากการทำบาตรต้องอาศัยช่างหลายประเภท แบ่งค่าจ้างแรงงานให้กับช่างฝีมือต่างๆ ประกอบด้วย ช่างตีขอบ ช่างต่อบาตร ช่างแล่น ช่างลาย ช่างตีและช่างตะไบ จึงมีค่าใช้จ่ายเป็นต้นทุนสูง ช่างบางคนก็ทำได้เองทุกขั้นตอนแต่แบ่งงานกันไปตามความชำนาญเป็นการผ่อนแรงโดยมาก \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/untitled-3.gif\" height=\"211\" width=\"400\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ http://pentax.niceeyeshot.com/index.php?name=Forums&amp;file=viewtopic&amp;t=20803\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>แต่ถึงอย่างไรก็ตามบ้านบาตร  หรือที่เรียกกันว่าชุมชนบ้านบาตรก็ยังสามารถสืบทอดวัฒนธรรมการทำบาตรมาได้จนถึงทุกวันนี้  เนื่องจากคุณสมบัติของบาตรที่ทำด้วยมือของชาวบ้านบาตร เมื่อเทียบกับราคาแล้วถือว่าคุ้มค่าเป็นอย่างมากเมื่อ เปรียบเทียบ กับบาตรปั๊มที่ทำจากเครื่องจักรกล นอกจากนั้น บาตรยังตรงกับพระวินัยและ ยังมีความคงทนมีความหลากหลายในรูปทรงที่ สืบทอดภูมิปัญญามาแต่โบราณ ซึ่งช่างทำบาตรที่ยึดอาชีพนี้จะต้องทำด้วยใจรักอย่างแท้จริง ทำขึ้นด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ด้วยความเคารพในวิชาความรู้ ครูบาอาจารย์ ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้สอยในการยังชีพทุกชิ้น ตามแบบแผนขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทย บาตรของชาวบ้านบาตรจึงกอปรด้วยคุณค่าที่ผสานฝีมือแรงงานและจิตใจไว้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จนบางครั้งการตีค่าความคุ้มค่าของบาตรอาจไม่สามารถกำหนดด้วยค่าเงินตรา ควรเป็นค่าที่จิตใจมากกว่า  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224253.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/images_0.jpg\" width=\"265\" height=\"190\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ตามพุทธบัญญัติซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ในพระวินัยปิฏกมหาวรรค ได้กล่าวถึงที่มาของบ้านบาตร ว่า เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ขณะประทับเสวยวิมุตติสุขภายใต้ต้นเกตุ  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ต่อมาจึงได้ทรงอนุญาตให้ใช้บาตรได้ 2 ชนิด คือ บาตรดินเผา และบาตรเหล็ก สำหรับบาตรเหล็กมีจำนวนน้อย นอกจากนี้ยังทรงมีพุทธบัญญัติห้ามมิให้ใช้ของอื่นแทนบาตร เช่น กระทะดิน กะโหลก น้ำเต้า กะโหลกหัวผี มาทำบาตร ส่วนบาตรที่ห้ามใช้ในบาลียังระบุไว้ถึง 11 ชนิด ได้แก่ บาตรทอง เงิน แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ แก้วผลึก แก้วหุง ทองแดง ทองเหลือง ดีบุก สังกะสี และบาตรไม้ ส่วนบาตรดินเผามักจะไม่คงทนเหมือนบาตรเหล็กจึงไม่ค่อยมีให้เห็นนัก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>บาตรที่ผลิตจากบ้านบาตรแต่ละใบจะประกอบด้วยเหล็ก8ชิ้น จึงมีรอยตะเข็บ รอยเชื่อมต่อให้เห็น ก่อนที่จะทำให้เรียบร้อย เมื่อทำเสร็จเป็นบาตรแล้ว จะมองไม่เห็นรอยเชื่อมต่อแลเห็นเป็นเนื้อเดียวกันหมด \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224254.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>คำว่า “บาตร” หรือ “บาตรพระ” หมายถึง ภาชนะสำหรับใส่อาหารของนักบวชเวลาออกบิณฑบาต ซึ่งส่วนประกอบของบาตร ประกอบไปด้วย “เชิงบาตร” ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้มีเชิงบาตรไว้สำหรับรับบาตร เพื่อกันบาตรกลิ้งและกันก้นบาตรสึก เพราะบาตรส่วนใหญ่มักจะทำด้วยดีบุก สังกะสี หรือไม้  “ฝาบาตร” มีไว้เพื่อปิดเพื่อป้องกันสิ่งไม่พึงประสงค์ ที่อาจจะปนเปื้อนไปในอาหาร ส่วน “ถลกบาตร หรือ ถุงสาโยค” มีไว้เพื่อให้ตัวบาตรสอดเข้าไป ใช้ในเวลาเดินทางหรือบิณฑบาต มักทำเนื้อเดียวกับจีวร \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>สำหรับรูปทรงของบาตรโบราณตั้งแต่สมัยอยุธยา มีทั้งสิ้น 4 รูปทรง เช่น ทรงไทยเดิม ทรงตะโก ทรงมะนาว  และทรงลูกจันทร์ แต่ในปัจจุบันพระจะเรียกขึ้นมาอีกชื่อหนึ่งคือ ทรงหัวเสือ ซึ่งไม่ใช่ทรงที่ 5เพราะจริงๆแล้วเป็นทรงเดียวกับทรงตะโก \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/images.jpg\" height=\"270\" width=\"187\" />    <img src=\"/files/u77033/26ari851.jpg\" height=\"270\" width=\"350\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ   <a href=\"http://www.dhammajak.net/board/files/4_757.jpg\">http://www.dhammajak.net/board/files/4_757.jpg</a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://1.bp.blogspot.com/_6_tsj8Z61KU/TClkb6ZaPAI/AAAAAAAAAUo/WfnXcd0OL5g/s1600/26ari851.jpg\">http://1.bp.blogspot.com/_6_tsj8Z61KU/TClkb6ZaPAI/AAAAAAAAAUo/WfnXcd0OL5g/s1600/26ari851.jpg</a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224255.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-10_092911.png\" height=\"227\" width=\"300\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ  <a href=\"http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=459150\">http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=459150</a> \n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>ในอดีตจะมีการสืบทอดให้กับลูกหลานในบ้านของตน แต่ปัจจุบันลูกหลานไม่มีความสนใจเท่าที่ควรอีกทั้งการได้รับการศึกษาที่สูงขึ้น ทำให้การหาอาชีพที่สบายกว่า รายได้ดีกว่า หรือมีเกียรติในมุมมองของชาวบ้านอย่างการรับราชการ เป็นอาชีพที่ถูกเลือกทั้งจากพ่อแม่และลูกหลานในชุมชน ทำให้ผู้ที่สนใจการทำบาตรเป็นคนนอกชุมชนที่ต้องการอนุรักษ์บาตรให้คงอยู่ จึงมีการเปิดสอนที่สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายแต่ทั้งผู้ใหญ่ และเด็กไม่สนใจเท่าที่ควร จึงหยุดสอน ในปัจจุบันจะมีแต่โรงเรียนเพาะช่างซึ่งอยู่ใกล้ชุมชนและสนใจในงานบาตรบุ จึงมีการเชิญชาวบ้านบาตร ไปเป็นวิทยากรบ้าง แต่ไม่ได้จริงจังที่จะเป็นหลักสูตรใด จึงยังไม่มีการสืบทอดอย่างจริงจัง ช่างทุกคนล้วนเป็นลูกหลานที่ปัจจุบันอายุไม่ต่ำกว่า 45 ปีแล้ว และยังไม่มีคนรุ่นใหม่คนไหนที่ต้องการเรียนรู้อย่างแท้จริง  \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>ในมุมมองของผู้เขียน ช่างทำบาตรเป็นอาชีพที่ใช้แรงมาก ค่าแรงน้อย ไม่เป็นที่ต้องการของคนรุ่นใหม่ที่มีทางเลือกในอาชีพ ที่หลากหลายและสบายมากกว่าการตีบาตร แต่ทั้งนี้ ถ้าไม่มีใครสืบทอดต่อจริง ๆ แล้ว คนนอกชุมชนนั้นที่จะต้องยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ เพื่ออนุรักษ์ไว้ และเมื่อถึงวันนั้นจริง ๆ เชื่อว่า บาตรเหล็กที่ทำจากมือจะยังคงอยู่ แต่ไม่ใช่ในชุมชนบ้านบาตรเท่านั้น \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224256.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>แม้ว่าในช่วงหลังชาวบ้านหลายครอบครัวจะเลิกอาชีพทำบาตรไปแล้ว แต่ก็ยังมาร่วมพีธีไหว้ครูอยู่ไม่ได้เว้น ด้วยมีความเชื่อว่าพ่อปู่มีความศักดิ์สิทธิ์สามารถคุ้มครองภยันตรายทั้งหลายได้ บางรายก็ไปบนบานศาลกล่าวขอในสิ่งที่ต้องการ เมื่อได้ตามประสงค์แล้วก็นำของไปถวายที่ศาลพ่อปู่ จากบาตรหัตถกรรมถึงบาตรปั๊ม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>สาเหตุใหญ่ที่ทำให้บาตรที่ทำด้วยฝีมือประณีตลดน้อยลงเรื่อยๆเนื่องมาจากมีบาตรปั๊มเข้ามาแทน เมื่อราวปี พ.ศ. 2513 มีการตั้งโรงงานบาตรปั๊ม(บาตรที่ทำด้วยเครื่องจักร) หลายโรง ที่สำคัญคือจำหน่ายราคาถูกกว่า อันที่จริงบาตรปั๊มน่าจะเป็นบาตรที่ไม่ถูกต้องตามพุทธบัญญัติ เพราะเคยมีการกำหนดไว้ว่า บาตรทุกใบจะต้องมีรอยต่อตะเข็บเหมือนอย่างจีวร จะใช้แผ่นเดียวกันตลอดไม่ได้ แต่บาตรปั๊ม ผลิตออกมาขายเป็นโลหะแผ่นเดียวกันหมด บาตรปั๊มมีราคาถูกกว่าบาตรที่ทำด้วยมือครึ่งต่อครึ่ง เพราะทำได้ง่ายและรวดเร็วกว่า ไม่ต้องผ่านขั้นตอนยุ่งยากเท่าบาตรที่ทำด้วยมือ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>แต่ก็มีข้อเสียคือ เป็นสนิมได้ง่าย เนื่องจากไม่ได้ผ่านการชุบรมดำให้ถูกวิธีและไม่สวยงามด้วยฝีมือประณีตเหมือนบาตรที่ทำด้วยมือทุกวันนี้บาตรที่ทำจากบ้านบาตรยังคงเป็นที่นิยมอยู่พอสมควร \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/untitled-3.gif\" height=\"211\" width=\"400\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่่มาของภาพ  http://pentax.niceeyeshot.com/index.php?name=Forums&amp;file=viewtopic&amp;t=20803 \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>สำหรับผู้ที่รู้ซึ้งถึงคุณค่าของงานฝีมือ ยืนยันได้จากการที่มีคนมาสั่งทำบาตรอยู่มิได้ขาด ผู้ที่มาสั่งทำมีทั้งพระและฆราวาส ชาวต่างชาติซึ่งมากับทัวร์  หรือบางคนก็ดั้นด้นเข้ามาเอง ซึ่งมีมาอยู่เรื่อยๆ สังเกตได้ว่าในระยะหลังผู้ที่มาสั่งทำบาตรจะเป็นคนที่ต้องการบาตรไปใช้เอง หรือซื้อเป็นของที่ระลึกไปฝากผู้อื่น ไม่ค่อยมีพ่อค้าคนกลางไปซื้อแล้วขายต่อ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ดังนั้นตามร้านขายเครื่องสังฆภัณฑ์ทั่วไปจึงมีแต่เพียงบาตรปั๊มเท่านั้น  ชาวบ้านบาตรผู้ซึ่งผลิตบาตรด้วยฝีมือประณีต ยังคงทวนกระแสสังคมที่กำลังจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่มั่นคงนัก เราไม่แน่ใจเหมือนกันว่า ในอนาคตข้างหน้าที่บ้านบาตร จะยังคงมีการผลิตบาตรให้เห็นอยู่อีกหรือไม่ หรือจะเหลือเพียงแต่ชื่อเช่นเดียวกับถิ่นฐานย่านเก่าต่างๆของกรุงเทพฯ  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224257.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/view_resizing_images.jpg\" height=\"270\" width=\"360\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ http://www.khaosod.co.th/view_resizing_images.php?filename=news-photo/khaosod/2009/04/you02130452p1.jpg&amp;width=360&amp;height=360\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>นายช่างทำบาตรหลายคน ต้องการให้การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเผยแพร่เรื่องราว ความเป็นมาอันยาวนานและมีคุณค่าของชุนชนบ้าน บาตรลงในวารสารการท่องเที่ยว และอยากให้ทุกหน่วยงานช่วยเหลือ เพื่อศิลปะการทำบาตรพระจะอยู่ได้ต่อไปปัจจุบันการสนับสนุนให้บาตรพระกลับมาเป็นสิ่งที่ระลึกเพื่อ กระตุ้นความต้องการของผู้บริโภคในสังคมให้มากขึ้น รัฐบาลได้จัดให้บาตรพระขนาดเล็ก (ประมาณ 2-5 นิ้ว) เป็นสินค้า OTOP ระดับ 4 ดาว ที่คุณสมศักดิ์ บัพชาติ ชนะการประกวดระดับเขตมาได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>แนวคิดการทำ &quot;หนึ่งผลิตภัณฑ์ หนึ่งตำบล&quot; ของรัฐบาลชุดปัจจุบัน(พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) ถือว่าไม่ใช่เรื่องใหม่ เพราะนับเวลากว่า 2 ศตวรรษแล้ว ที่ชาวบ้านจากกรุงเก่า ชาวบางกอกเดิม รวมทั้งชาวญวนอพยพที่พากันมาตั้งถิ่นฐานใกล้ ๆ กับวัดสระเกศนี้ เคยเป็นหมู่บ้านที่ชาวบ้านแทบทุกคนประกอบอาชีพคล้าย ๆ กัน จนเรียกอาชีพส่วนใหญ่ของแต่ละถิ่นนั้นเป็นชื่อหมู่บ้านไป เช่นเดียวกับที่ย่านถนนบำรุงเมืองนี้ ได้มีลักษณะของหมู่บ้านตามอาชีพเช่นกัน อย่างชุมชนบ้านดอกไม้ที่อยู่ข้างวัดสระเกศฝั่งคลองโอ่งอ่างก็เป็นหมู่บ้านทำ ดอกไม้ไฟ พลุ ตะไล \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>และสำหรับหมู่บ้านบ้านบาตรดังที่เกริ่นไว้ในข้างต้น ก็ทำธุรกิจ ผลิตและจำหน่ายบาตรพระเช่นเดียวกันหมด ด้วยเหตุที่ทำเลที่ตั้งอยู่ใกล้วัดหลวงอยู่หลายแห่ง ทำให้ชาวบ้านมีรายได้จากการทำผลิตภัณฑ์ซ้ำ ๆ กันเพียง อย่างเดียวได้อย่างไม่ขัดสน ซึ่งจะว่าไป แนวคิดที่ว่ามาทั้งหมดนี้เคยเกิดขึ้นใน ยุคกรุงศรีอยุธยามาก่อนแล้ว\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>แต่สิ่งหนึ่งที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนคือ ในอดีต ชาวบ้านทำสินค้าชนิดเดียวกันเพื่อให้เกิดความสามัคคีในชุมชน จะได้เกื้อกูลกันในการค้าขาย การกำหนดราคาเพื่อไม่ให้ถูกเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลางหรือลูกค้า แต่ปัจจุบันมิได้เป็นเช่นในอดีตแล้ว เพราะการแข่งขันทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้น ตลาดรองรับบาตรมีวงจำกัดมากขึ้น ทำให้ชาวบ้านแข่งขันกันเอง ด้วยการตัดราคากันเอง ส่งผลให้เกิดเป็นรอยร้าวในชุมชนซึ่งอาจปรากฏขึ้นก่อนโครงการ OTOP ก็เป็นได้ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224258.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>บริเวณใกล้เคียงกับบ้านบาตรยังมี ชุมชนบ้านดอกไม้ ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับบ้านบาตร เป็นแหล่งทำดอกไม้ไฟ ใครที่จัดงานสำคัญต้องใช้ดอกไม้ไฟก็ต้องมาสั่งทำที่นี่\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span> ปัจจุบันมีชาวบ้านที่ยังคงยึดอาชีพขายดอกไม้ไฟอยู่บ้างแต่ก็มีเพียงไม่กี่ราย ชุมชนบ้านสาย อยู่ทางทิศเหนือของบ้านบาตรตรงข้ามวัดเทพธิดาราม เป็นแหล่งทำสายรัดประคด (ผ้าคาดเอวสำหรับพระภิกษุ) ชาวบ้านมักเรียกว่า สายรัดเอว สายรัดประคดที่นี่ทำด้วยไหมฝีมือประณีตมาก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>นอกจากสายรัดประคดยังทำถุงตะเคียวสำหรับหุ้มบาตรพระเพื่อส่งตามร้านขายเครื่องสังฆภัณฑ์ย่านเสาชิงช้า เป็นที่น่าเสียดายที่ปัจจุบันการทำสายรัดประคดด้วย\n</p>\n<p>\nการถักทอที่บ้านสายเหลืออยู่เพียงรายเดียวเท่านั้น สาเหตุที่การทำสายรัดประคดที่บ้านสายต้องลดน้อยลง เนื่องมาจากมีการผลิตสายรัดประคดจากโรงงานออกมาจำหน่ายด้วยราคาที่ถูกกว่า\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>นอกจากบ้านสาย บ้านดอกไม้ ในบริเวณใกล้กับวัดสระเกศภูเขาทอง เป็นแหล่งที่ทำเฟอร์นิเจอร์จำพวกวงกบประตูหน้าต่าง ชาวบ้านบาตรได้อาศัยเศษไม้สักจากร้านเฟอร์นิเจอร์เหล่านั้นมา\n</p>\n<p>\nเผาถ่านเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในการทำบาตร ชาวบ้านจะใช้เฉพาะถ่านจากไม้สักเท่านั้น \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224259.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/ddd.jpg\" height=\"402\" width=\"477\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_2242510.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>วิธีแรก คือ ให้เชิญผู้ที่มีวิชาอาคมมาและเขียนอักขระขอมว่า มะอะอุ ที่เสาเอกของบ้านท่าน อาถรรพณ์ต่างๆของบาตรแตกก็จะเสื่อมไป ส่วนวันที่จะเขียนต้องเป็นวันขึ้น 15 ค่ำวันพระเท่านั้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ต่อมาวิธีที่สอง คือ คาถาพระพุทธเจ้าประสานบาตร โดยท่องว่า“จัต ตา โร ปัต เต ยะ ถา เอโก ตะถา อะ ธิฏ ฐา หิ” ใช้แก้บาตรแตก เมื่อมีใครนำชิ้นส่วนของบาตรแตกมาโยนเข้าในบ้าน บนหลังคาหรือใต้บันไดบ้านนั้นมักจะมีเรื่องร้อน ทะเลาะเบาะแว้งจนทำให้เกิดการแตกแยกระหว่างคนที่อยู่ในบ้านนั้น ให้เสกใส่เทียน 5 เล่ม 4 มุมบ้าน และ กลางบ้าน 7 วัน ให้เริ่มทำพิธีวันเสาร์จะดีที่สุด  และยังมีอีกความเชื่อหนึ่งที่ว่า หากพระสงฆ์บังเอิญทำบาตรหล่นหน้าบ้านใครบ้านนั้นก็จะเป็นกาลกินี เจ้าของบ้านจะเกิดอันตราย ต้องนิมนต์พระมายืนสวดหน้าบ้าน อยู่ ๓ วัน ๓ คืน เลยทีเดียวจึงจะแก้เคล็ดได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>เป็นอย่างไรบ้างค่ะ ได้ฟังกันแล้วขนลุกกันบ้างไหมเอ่ย แต่จะเชื่อกันหรือไม่นั้น ก็สุดแท้แต่วิจารณญาณของแต่ละท่านนะคะ แต่ดิฉันเชื่อว่า ทำดีย่อมได้ดีคะ ทำจิตใจของเราให้สงบ บริสุทธิ์โดยไม่คิดปองร้ายใคร และรู้จักให้อภัย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726816036, expire = 1726902436, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3c61aae59f2d3b654b4f42038e411d23' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:034af48c5b2e0d8c5cc0e14a55bf811d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/BR.jpg\" width=\"700\" height=\"250\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-15_224252.jpg\" width=\"331\" height=\"117\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/2013-01-10_094156.png\" width=\"350\" height=\"216\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ   <a href=\"http://lh3.ggpht.com/_xc8hzsKemUs/TTZxs-7t6qI/AAAAAAAABDw/OnVJIW729x4/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3.jpg\">http://lh3.ggpht.com/_xc8hzsKemUs/TTZxs-7t6qI/AAAAAAAABDw/OnVJIW729x4/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3.jpg</a>  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"text-align: center\">พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี  </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nเมื่อครั้งอดีตทรงเป็นทหารหลวงในสมัยอยุธยา มีพระราชประสงค์จะให้กรุงเทพฯเป็นราชธานีแห่งใหม่เป็นศูนย์กลาง\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nอาณาจักร ด้วยเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำที่มั่งคั่งสมบูรณ์ไม่แพ้กรุงศรีอยุธยา\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nชาวบ้านที่อพยพมาจากกรุงเก่า และชาวบางกอกเดิม ต่างก็ต้องปรับตัวให้ตนอยู่รอดมากที่สุด\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nดังนั้นชุมชนเดิมที่รวมกลุ่มเป็นหมู่บ้านแบบเฉพาะถิ่น อาทิ กลุ่มชาวนา กลุ่มพ่อค้า กลุ่มชาวจีน ชาวญวน\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nหรือแม้แต่กลุ่มอาชีพดั้งเดิมก็ถูกรื้อฟื้นให้มีขึ้น เช่น ที่ถนนบำรุงเมืองหลังวัดสระเกศ ใกล้กับเมรุปูนมีซอยย่อย\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่ตั้งใกล้กันอยู่ยาวทั่วทั้งถนนในอดีตนั้นถนนแห่งนี้เคยเป็นแหล่งชุมชนคนทำกินอาชีพหนึ่ง \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่สามารถสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้ตลอดทั้งปีย่านนี้เรียกกันว่า &quot;บ้านบาตร&quot; \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nบ้านบาตรตั้งขึ้นในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัด ประมาณกันว่า ชุมชนมีอายุยาวนานกว่าสองร้อยปี  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ทั้งนี้ด้วยอาศัยแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชนร่วมกันทำนุบำรุงค้าชูพระศาสนาโดยประเพณีบวชลูกหลานสืบเนื่องต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย ชาวบ้านบาตรจึงมีงามอุดมพอเลี้ยงชีพและผดุงศิลปะการทำบาตรต่อมาในชุมชนบ้านบาตรทุกเหย้าเรือน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>&quot;จนกระทั่งปี พ.ศ.2514 มีการก่อตั้งโรงงานผลิตบาตรพระขึ้นมาจึงทำให้กิจการทำบาตรพระที่บ้านบาตรค่อยๆลดน้อยลงไป &quot;  ก่อนหน้านั้นบ้านบาตรทำบาตรพระกันทั้งหมู่บ้าน พอเจอบาตรปั๊มจากโรงงานตีตลาด เราก็หยุดไปประมาณ 20-30 ปี มาปี พ.ศ.2544 มีการตั้งกลุ่มทำบาตรพระขึ้นมา โดยท่านชาญชัย วามะศิริ ผู้อำนวยการเขตป้อมปราบฯ ท่านได้ส่งเสริมอนุรักษ์การทำบาตรของเรา โดยการส่งเสริมพานักท่องเที่ยวเข้ามาดูวิธีการทำบาตร ตอนนี้งาน เริ่มขยับตัวขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2544-2545&quot; (คุณหิรัญ เสือศรีเสริม รองประธานชุมชนบ้านบาตร)  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ปัจจุบันมีการผลิตบาตรบุน้อยลงมากและจำกัดอยู่เพียงจำหน่ายเป็นของที่ระลึกหรือรับสั่งทำจากพระสงฆ์โดยตรงเท่านั้น ปัจจัยหลักที่ทำให้หัตถกรรมบาตรบุลดน้อยถอยลงเป็นลำดับเนื่องจากมี &quot;บาตรปั๊ม&quot; เข้ามาแทนที่เมื่อราว 30 ปีที่ผ่านมา และมีส่วนแบ่งการตลาดเป็นส่วนใหญ่ บาตรปั๊มซึ่งมีกำลังการผลิตสูง ราคาขายส่งถูก  จึงเป็นที่ต้องการของพ่อค้าคนกลางเทียบกันตามราคาขาย &quot;บาตรบุ&quot; ขนาด 7 นิ้ว จำหน่ายในราคา 800 บาท บาตรปั๊มสามารถขายในราคาเพียง 100 กว่าบาทเท่านั้น พ่อค้าคนกลางจึงหันมาจำหน่ายบาตรปั๊ม และกดราคาบาตรบุลง จนช่างไม่สามารถหากำไรจากการขายส่งได้ จึงหันมารับงานที่ผู้ว่าจ้างต้องการความประณีตเป็นพิเศษโดยไม่เกี่ยงราคา บางคนก็เลิกอาชีพช่างไปประกอบอาชีพอื่น บาตรปั๊มจึงเข้ายึดครองตลาดจนบาตรบุขาดหายไปจากตลาดเครื่องสังฆภัณฑ์ในช่วง 30 ปีนั้น  เนื่องจากบาตรบุของชาวบ้านบาตรมีราคาสูงเนื่องจากการทำบาตรต้องอาศัยช่างหลายประเภท แบ่งค่าจ้างแรงงานให้กับช่างฝีมือต่างๆ ประกอบด้วย ช่างตีขอบ ช่างต่อบาตร ช่างแล่น ช่างลาย ช่างตีและช่างตะไบ จึงมีค่าใช้จ่ายเป็นต้นทุนสูง ช่างบางคนก็ทำได้เองทุกขั้นตอนแต่แบ่งงานกันไปตามความชำนาญเป็นการผ่อนแรงโดยมาก \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/untitled-3.gif\" height=\"211\" width=\"400\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ http://pentax.niceeyeshot.com/index.php?name=Forums&amp;file=viewtopic&amp;t=20803\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>แต่ถึงอย่างไรก็ตามบ้านบาตร  หรือที่เรียกกันว่าชุมชนบ้านบาตรก็ยังสามารถสืบทอดวัฒนธรรมการทำบาตรมาได้จนถึงทุกวันนี้  เนื่องจากคุณสมบัติของบาตรที่ทำด้วยมือของชาวบ้านบาตร เมื่อเทียบกับราคาแล้วถือว่าคุ้มค่าเป็นอย่างมากเมื่อ เปรียบเทียบ กับบาตรปั๊มที่ทำจากเครื่องจักรกล นอกจากนั้น บาตรยังตรงกับพระวินัยและ ยังมีความคงทนมีความหลากหลายในรูปทรงที่ สืบทอดภูมิปัญญามาแต่โบราณ ซึ่งช่างทำบาตรที่ยึดอาชีพนี้จะต้องทำด้วยใจรักอย่างแท้จริง ทำขึ้นด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ด้วยความเคารพในวิชาความรู้ ครูบาอาจารย์ ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้สอยในการยังชีพทุกชิ้น ตามแบบแผนขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทย บาตรของชาวบ้านบาตรจึงกอปรด้วยคุณค่าที่ผสานฝีมือแรงงานและจิตใจไว้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จนบางครั้งการตีค่าความคุ้มค่าของบาตรอาจไม่สามารถกำหนดด้วยค่าเงินตรา ควรเป็นค่าที่จิตใจมากกว่า  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u77033/493789nfy8xzi1n4.gif\" height=\"44\" width=\"374\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726816036, expire = 1726902436, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:034af48c5b2e0d8c5cc0e14a55bf811d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติ ชุมชนบ้านบาตร

รูปภาพของ sss28696

 

 

 

 

ที่มาของภาพ   http://lh3.ggpht.com/_xc8hzsKemUs/TTZxs-7t6qI/AAAAAAAABDw/OnVJIW729x4/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3.jpg  

 

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี  

เมื่อครั้งอดีตทรงเป็นทหารหลวงในสมัยอยุธยา มีพระราชประสงค์จะให้กรุงเทพฯเป็นราชธานีแห่งใหม่เป็นศูนย์กลาง

อาณาจักร ด้วยเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำที่มั่งคั่งสมบูรณ์ไม่แพ้กรุงศรีอยุธยา

ชาวบ้านที่อพยพมาจากกรุงเก่า และชาวบางกอกเดิม ต่างก็ต้องปรับตัวให้ตนอยู่รอดมากที่สุด

ดังนั้นชุมชนเดิมที่รวมกลุ่มเป็นหมู่บ้านแบบเฉพาะถิ่น อาทิ กลุ่มชาวนา กลุ่มพ่อค้า กลุ่มชาวจีน ชาวญวน

หรือแม้แต่กลุ่มอาชีพดั้งเดิมก็ถูกรื้อฟื้นให้มีขึ้น เช่น ที่ถนนบำรุงเมืองหลังวัดสระเกศ ใกล้กับเมรุปูนมีซอยย่อย

ที่ตั้งใกล้กันอยู่ยาวทั่วทั้งถนนในอดีตนั้นถนนแห่งนี้เคยเป็นแหล่งชุมชนคนทำกินอาชีพหนึ่ง 

ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้ตลอดทั้งปีย่านนี้เรียกกันว่า "บ้านบาตร" 

บ้านบาตรตั้งขึ้นในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัด ประมาณกันว่า ชุมชนมีอายุยาวนานกว่าสองร้อยปี  

 

ทั้งนี้ด้วยอาศัยแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชนร่วมกันทำนุบำรุงค้าชูพระศาสนาโดยประเพณีบวชลูกหลานสืบเนื่องต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย ชาวบ้านบาตรจึงมีงามอุดมพอเลี้ยงชีพและผดุงศิลปะการทำบาตรต่อมาในชุมชนบ้านบาตรทุกเหย้าเรือน

 

"จนกระทั่งปี พ.ศ.2514 มีการก่อตั้งโรงงานผลิตบาตรพระขึ้นมาจึงทำให้กิจการทำบาตรพระที่บ้านบาตรค่อยๆลดน้อยลงไป "  ก่อนหน้านั้นบ้านบาตรทำบาตรพระกันทั้งหมู่บ้าน พอเจอบาตรปั๊มจากโรงงานตีตลาด เราก็หยุดไปประมาณ 20-30 ปี มาปี พ.ศ.2544 มีการตั้งกลุ่มทำบาตรพระขึ้นมา โดยท่านชาญชัย วามะศิริ ผู้อำนวยการเขตป้อมปราบฯ ท่านได้ส่งเสริมอนุรักษ์การทำบาตรของเรา โดยการส่งเสริมพานักท่องเที่ยวเข้ามาดูวิธีการทำบาตร ตอนนี้งาน เริ่มขยับตัวขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2544-2545" (คุณหิรัญ เสือศรีเสริม รองประธานชุมชนบ้านบาตร)  

 

ปัจจุบันมีการผลิตบาตรบุน้อยลงมากและจำกัดอยู่เพียงจำหน่ายเป็นของที่ระลึกหรือรับสั่งทำจากพระสงฆ์โดยตรงเท่านั้น ปัจจัยหลักที่ทำให้หัตถกรรมบาตรบุลดน้อยถอยลงเป็นลำดับเนื่องจากมี "บาตรปั๊ม" เข้ามาแทนที่เมื่อราว 30 ปีที่ผ่านมา และมีส่วนแบ่งการตลาดเป็นส่วนใหญ่ บาตรปั๊มซึ่งมีกำลังการผลิตสูง ราคาขายส่งถูก  จึงเป็นที่ต้องการของพ่อค้าคนกลางเทียบกันตามราคาขาย "บาตรบุ" ขนาด 7 นิ้ว จำหน่ายในราคา 800 บาท บาตรปั๊มสามารถขายในราคาเพียง 100 กว่าบาทเท่านั้น พ่อค้าคนกลางจึงหันมาจำหน่ายบาตรปั๊ม และกดราคาบาตรบุลง จนช่างไม่สามารถหากำไรจากการขายส่งได้ จึงหันมารับงานที่ผู้ว่าจ้างต้องการความประณีตเป็นพิเศษโดยไม่เกี่ยงราคา บางคนก็เลิกอาชีพช่างไปประกอบอาชีพอื่น บาตรปั๊มจึงเข้ายึดครองตลาดจนบาตรบุขาดหายไปจากตลาดเครื่องสังฆภัณฑ์ในช่วง 30 ปีนั้น  เนื่องจากบาตรบุของชาวบ้านบาตรมีราคาสูงเนื่องจากการทำบาตรต้องอาศัยช่างหลายประเภท แบ่งค่าจ้างแรงงานให้กับช่างฝีมือต่างๆ ประกอบด้วย ช่างตีขอบ ช่างต่อบาตร ช่างแล่น ช่างลาย ช่างตีและช่างตะไบ จึงมีค่าใช้จ่ายเป็นต้นทุนสูง ช่างบางคนก็ทำได้เองทุกขั้นตอนแต่แบ่งงานกันไปตามความชำนาญเป็นการผ่อนแรงโดยมาก 

 

ที่มาของภาพ http://pentax.niceeyeshot.com/index.php?name=Forums&file=viewtopic&t=20803

 

แต่ถึงอย่างไรก็ตามบ้านบาตร  หรือที่เรียกกันว่าชุมชนบ้านบาตรก็ยังสามารถสืบทอดวัฒนธรรมการทำบาตรมาได้จนถึงทุกวันนี้  เนื่องจากคุณสมบัติของบาตรที่ทำด้วยมือของชาวบ้านบาตร เมื่อเทียบกับราคาแล้วถือว่าคุ้มค่าเป็นอย่างมากเมื่อ เปรียบเทียบ กับบาตรปั๊มที่ทำจากเครื่องจักรกล นอกจากนั้น บาตรยังตรงกับพระวินัยและ ยังมีความคงทนมีความหลากหลายในรูปทรงที่ สืบทอดภูมิปัญญามาแต่โบราณ ซึ่งช่างทำบาตรที่ยึดอาชีพนี้จะต้องทำด้วยใจรักอย่างแท้จริง ทำขึ้นด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ด้วยความเคารพในวิชาความรู้ ครูบาอาจารย์ ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้สอยในการยังชีพทุกชิ้น ตามแบบแผนขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทย บาตรของชาวบ้านบาตรจึงกอปรด้วยคุณค่าที่ผสานฝีมือแรงงานและจิตใจไว้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จนบางครั้งการตีค่าความคุ้มค่าของบาตรอาจไม่สามารถกำหนดด้วยค่าเงินตรา ควรเป็นค่าที่จิตใจมากกว่า  

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 448 คน กำลังออนไลน์