• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('โยคะร้อน', 'node/50514', '', '18.224.96.239', 0, '8ff7de0cedd5d74d8b4d33965a924310', 215, 1716006113) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:dd97b15b5fc61968d40972d052d36b99' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>งานครั้งที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1  ภาคเรียนที่ 2/2555</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<img height=\"55\" width=\"355\" src=\"/files/u82349/wellcome_1.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ให้นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ทุกคนทำกิจกรรม ดังนี้ (10 คะแนน)<br />\n1. สมัครสมาชิกพร้อมใส่ภาพตนเองให้เรียบร้อย<br />\n</span><span style=\"color: #000000\">2. ให้นักเรียนแนะนำตนเอง  โดยทักทายและร่วมแสดงความคิดเห็นด้านล่าง<br />\n3. ให้สร้าง blog เกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ที่นักเรียนชอบมากที่สุด เนื้อหาไม่น้อยกว่า 5 บรรทัด มีภาพประกอบไม่น้อยกว่า 1 รูป และอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลและรูปภาพด้วย</span><br />\n4. เมื่อทำงานเสร็จสิ้นให้แสดงความคิดเห็นด้านล่าง พร้อมทั้ง บอก URL ยกตัวอย่าง เช่น <a href=\"/node/\">http://www.thaigoodview.com/node/</a> <br />\nภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"86\" width=\"150\" src=\"/files/u82349/11279555.gif\" border=\"0\" style=\"width: 130px; height: 61px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:dd97b15b5fc61968d40972d052d36b99' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:21f73c57e1afdca64c18ad902dc3afec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nนาย ภควิช คนองชัยยศ ม.6/1 เลขที่ 28\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; font-size: 13px; line-height: 15px; font-family: arial\">Sonya Kovalevskaya</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; font-size: 13px; line-height: 15px; font-family: arial\"></span><img src=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/16/11/July/science-manager-july/pic/55.jpg\" height=\"420\" width=\"345\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nประวัติ\n</p>\n<p>\nhttp://www.neutron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&amp;task=view&amp;id=2038&amp;Itemid=4 \n</p>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:21f73c57e1afdca64c18ad902dc3afec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0600eb55886def62d01296746291374f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div class=\"art-article\">\n<div class=\"pic-profile\">\n<div class=\"picture\">\n<img src=\"/files/profilepic/picture-82349.jpg\" alt=\"รูปภาพของ npskrulouis\" title=\"รูปภาพของ npskrulouis\" />\n</div>\n</div>\n<!--paging_filter--><!--paging_filter--><p>\nตรวจแล้วจ้า 6/1 <br />\nครั้งที่ 1 ส่ง 16 คน <br />\nครั้งที่ 2 ส่ง 4 คน<br />\nรวมส่ง 20 คน คงเหลือ  12 คน\n</p>\n</div>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0600eb55886def62d01296746291374f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7b80048240bfcb040e850626378c0efa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nนาย พศิน อมรถกลสุเวช\n</p>\n<p>\nนักคณิตศาสร์ที่สนใจ ปีทาโกรัส\n</p>\n<h2 class=\"art-PostHeader\">http://www.thaigoodview.com/node/147289</h2>\n<p>\n<img src=\"http://image.ohozaa.com/t/8d2/x097gb.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7b80048240bfcb040e850626378c0efa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:71cc09bdc0637eeba7003e7ad653a645' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; line-height: 29px; background-color: #ffffff; text-align: center\">\n<b><a href=\"http://krootee.files.wordpress.com/2010/07/archimedes.gif\" style=\"color: #771100\"><img src=\"http://krootee.files.wordpress.com/2010/07/archimedes.gif?w=133&amp;h=155\" style=\"border-style: none; position: relative\" class=\"alignleft size-medium wp-image-148\" title=\"archimedes\" height=\"155\" width=\"133\" /></a> </b> \n</div>\n<div style=\"font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; line-height: 29px; background-color: #ffffff; text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; line-height: 29px; background-color: #ffffff; text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; line-height: 29px; background-color: #ffffff; text-align: center\">\n<b> </b><b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">อาร์คิมีดีส : </span></b><b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">Archimedes</span></b>\n</div>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; background-color: #ffffff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">เกิด </span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">287<span lang=\"TH\"> ปีก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (</span>Syracuse) <span lang=\"TH\">เกาะซิซิลี (</span>Sicily)<br />\n<span lang=\"TH\">เสียชีวิตปี </span>212 <span lang=\"TH\">ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (</span>Syracuse) <span lang=\"TH\">เกาะซิซิลี (</span>Sicily)<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; background-color: #ffffff; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">ผลงาน</span></b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; background-color: #ffffff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">- <span lang=\"TH\">กฎของอาร์คิมีดีส (</span>Archimedes Principle) <span lang=\"TH\">ที่กล่าวว่า </span>“<span lang=\"TH\">ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตรของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ</span>” <span lang=\"TH\">ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; background-color: #ffffff; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">- <span lang=\"TH\">ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; background-color: #ffffff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">- <span lang=\"TH\">อาวุธสงคราม ได้แก่ เครื่องเหวี่ยงหิน กระจกเว้ารวมแสง และเครื่องปล่อยท่อนไม้</span><br />\n<span lang=\"TH\">เมื่อเอ่ยชื่ออาร์คิมีดีส ไม่มีใครที่จะไม่รู้จักนามของนักวิทยาศาสตร์เอกผู้นี้ โดยเฉพาะกฎเกี่ยวกับการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ หรือการหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับมงกุฎทองของกษัตริย์เฮียโร (</span>King Hiero) <span lang=\"TH\">ซึ่งเรื่องนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งเล็กน้อยเท่านั้น ถ้าเทียบกับสิ่ง ประดิษฐ์ และการค้นพบของเขาในเรื่องอื่น เช่น ระหัดวิดน้ำ คานดีดคานงัด ล้อกับเพลา เป็นต้น อาร์คิมีดีสขึ้นชื่อว่าเป็นบิดาแห่งกลศาสตร์ที่แท้จริงเนื่องจากสิ่งประดิษฐ์ของเขามักจะเป็นเครื่องผ่อนแรง ที่มีประโยชน์และใช้กันมาจนถึงปัจจุบันนี้อาร์คิมีดีสเป็นนักปราชญ์ชาวกรีก เกิดที่ เมืองไซราคิวส์</span> (Syracuse) <span lang=\"TH\">บนเกาะซิซิลี (</span>Sicily) <span lang=\"TH\">เมื่อประมาณ </span>287 <span lang=\"TH\">ก่อนคริสต์ศักราช บิดาของเขาเป็นนักดาราศาสตร์ชื่อ ไฟดาส</span> (Pheidias)<span lang=\"TH\">อาร์คิมีดีสมีความสนใจในวิชาคณิตศาสตร์เป็นอย่างมาก เขาจึงเดินทางไปศึกษาวิชาคณิตศาสตร์กับอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์ นามว่า ซีนอนแห่งซามอส ซึ่งก็เป็นลูกศิษย์คนเก่งของนักปราชญ์เลื่องชื่อลือนามว่า ยูคลิด (</span>Euclid) <span lang=\"TH\">ที่เมืองอเล็กซานเดรีย (</span>Alexandria) <span lang=\"TH\">ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางแห่งวิชาการของกรีกในสมัยนั้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">หลังจากที่อาร์คิมีดีส จบการศึกษาแล้ว เขาได้เข้าทำงานในตำแหน่งนักปราชญ์ประจำราชสำนักของพระเจ้าเฮียโร งานชิ้นเอกที่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป คือกฎของอาร์คิมีดีส (</span>Archimedes Principle) <span lang=\"TH\">หรือ วิธีการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ (</span>SpecificGravity) <span lang=\"TH\">ซึ่งเรื่องเกิดขึ้นจากกษัตริย์เฮียโรทรงมีรับสั่งให้ช่างทำมงกุฎทองคำ โดยมอบทองคำให้ช่างทองจำนวนหนึ่ง เมื่อช่างทองนำมงกุฎมาถวาย ทรงเกิดความระแวงในท่าทางของช่างทำทองว่าจะยักยอกทองคำไป และนำโลหะชนิดอื่นมาผสม แต่ทรงไม่สามารถหาวิธีพิสูจน์ได้ ดังนั้นจึงทรงมอบหมายหน้าที่ การค้นหาข้อเท็จจริงให้กับอาร์คิมีดีส ขั้นแรกอาร์คิมีดีสได้นำมงกุฎทองไปชั่งน้ำหนัก ปรากฏว่าน้ำหนักของมงกุฎเท่ากับทองที่กษัตริย์เฮียโรได้มอบให้ไป ซึ่งช่างทองอาจจะนำโลหะชนิดอื่นมาผสมลงไปได้ อาร์คิมีดีสครุ่นคิดเท่าไรก็คิดไม่ออกสักที จนวันหนึ่งเขาไปอาบน้ำที่อ่างอาบน้ำสาธารณะแห่งหนึ่ง ขณะที่น้ำในอ่างเต็ม อาร์คิมีดีสลงแช่ตัวในอ่างอาบน้ำ น้ำก็ล้นออกมาจากอ่างนั้น เมื่อเขาเห็นเช่นนั้นทำให้เขารู้วิธีพิสูจน์น้ำหนักของทองได้สำเร็จ ด้วยความดีใจเขาจึง รีบวิ่งกลับบ้านโดยที่ยังไม่ได้สวมเสื้อผ้า ปากก็ร้องไปว่า </span>“<span lang=\"TH\">ยูเรก้า! ยูเรก้า! (</span>Eureka)” <span lang=\"TH\">จนกระทั่งถึงบ้าน เมื่อถึงบ้านเขารีบนำมงกุฎมาผูกเชือกแล้วหย่อนลงในอ่างน้ำที่มีน้ำอยู่เต็ม แล้วรองน้ำที่ล้นออกมาจากอ่าง จากนั้นจึงนำทองในปริมาตรที่เท่ากันกับมงกุฎหย่อน ลงในอ่างน้ำ แล้วทำเช่นเดียวกับครั้งแรก จากนั้นเขาได้นำเงินในปริมาตรที่เท่ากับมงกุฎ มาทำเช่นเดียวกับมงกุฎและทอง ผลการทดสอบปรากฏว่า ปริมาตรน้ำที่ล้นออกมานั้น เงินมีปริมาตรน้ำมากที่สุด มงกุฎรองลงมา และทองน้อยที่สุด ซึ่งจากผลการทดลองครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า ช่างทองนำเงินมาผสมเพื่อทำมงกุฎแน่นอนมิฉะนั้นแล้วปริมาตรน้ำของมงกุฎและทอง ต้องเท่ากัน เพราะเป็นโลหะชนิดเดียวกัน อาร์คิมีดีสได้นำความขึ้นกราบทูลกษัตริย์เฮียโรให้ ทรงทราบ อีกทั้งแสดงการทดลองให้ชมต่อหน้าพระพักตร์ เมื่อช่างทองเห็นดังนั้นก็รีบรับสารภาพแล้วนำทองมาคืนให้กับกษัตริย์เฮียโร การค้นพบครั้งนี้ของอาร์คิมีดีส ได้ตั้งเป็นกฎชื่อว่ากฎของอาร์คิมีดีส ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้นำหลักการเช่นเดียวกันนี้มาหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุต่าง ๆ</span><br />\n<span lang=\"TH\">อาร์คิมีดีสไม่เพียงแต่พบวิธีหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุได้เท่านั้น งานชิ้นสำคัญอีกชิ้นหนึ่งก็คือ การสร้างระหัดวิดน้ำ หรือที่มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า </span>“<span lang=\"TH\">ระหัดเกลียวของอาร์คิมีดีส</span>(Archimedes Screw)” <span lang=\"TH\">เพื่อใช้สำหรับวิดน้ำขึ้นมาจากบ่อหรือแม่น้ำ สำหรับใช้ในการอุปโภคหรือบริโภค ซึ่งทำให้เสียแรงและเวลาน้อยลงไปอย่างมาก การที่อาร์คิมีดีสคิดสร้างระหัดวิดน้ำขึ้นมานั้น ก็เพราะเขาเห็นความลำบากของชาวเมืองในการนำน้ำขึ้นจากบ่อหรือแม่น้ำมาใช้ ซึ่งต้องใช้แรงและเสียเวลาอย่างมาก ระหัดวิดน้ำของอาร์คิมีดีสประกอบ ไปด้วยท่อทรงกระบอกขนาดใหญ่ภายในเป็นแกนระหัด มีลักษณะคล้ายกับดอกสว่าน เมื่อต้องการใช้น้ำ ก็หมุนที่ด้ามจับระหัด น้ำก็จะไหลขึ้นมาตามเกลียวระหัดนั้น ซึ่งต่อมามีผู้ดัดแปลงนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ มากมาย เช่น การลำเลียงถ่านหินเข้าสู่เตา และนำเถ้าออกจากเตา การบดเนื้อสัตว์ เป็นต้น นอกจากนี้อาร์คิมีดีสได้ประดิษฐ์เครื่องผ่อนแรงขึ้นอีกหลายชิ้น เพื่อสร้างความสะดวกสบายให้กับชาวเมือง ได้แก่ คานดีดคานงัด (</span>Law of Lever) <span lang=\"TH\">ใช้สำหรับในการยกของที่มีน้ำหนักมาก ซึ่งใช้วิธีการง่ายๆ คือ ใช้ไม้คานยาวอันหนึ่ง และหาจุดรองรับคานหรือจุดฟัลครัม (</span>Fulcrum) <span lang=\"TH\">ซึ่งเมื่อวางของบนปลายไม้ด้านหนึ่ง และออกแรงกดปลายอีกด้านหนึ่ง ก็จะสามารถยกของ ที่มีน้ำหนักมากได้อย่างสบาย นอกจากคานดีดคานงัดแล้ว อาร์คิมีดีสได้ประดิษฐ์รอก ซึ่งเป็นเครื่องกลสำหรับยกของหนักอีกชนิดหนึ่ง เครื่องกลผ่อนแรงทั้งสองชนิดนี้ อาร์คิมีดีสคิดค้นเพื่อกะลาสีเรือหลวงที่ต้องยกของหนักเป็นจำนวนมากในแต่ละ วัน เครื่องกลผ่อนแรงของอาร์คิมีดีส มีอีกหลายอย่าง ได้แก่ รอกพวง ซึ่งใช้หลักการเดียวกันกับรอกและล้อกับเพลา ใช้สำหรับเคลื่อนย้ายของที่มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก เช่น ก้อนหิน เป็นต้น เครื่องกลผ่อนแรงของ<br />\nอาร์คิมีดีสถือได้ว่าเป็นรากฐานที่สำคัญของวิชากลศาสตร์ และยังเป็นที่นิยมใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งได้มีการนำเครื่องกลผ่อนแรงเหล่านี้มาเป็นต้นแบบเครื่องกลที่สำคัญในปัจจุบัน เช่น ล้อกับเพลา มาใช้ประโยชน์ในการขับเคลื่อนของรถยนต์ เป็นต้น อาร์คิมีดีสไม่ได้เพียงแต่สร้างเครื่องกลผ่อนแรงเท่านั้น เขายังมีความชำนาญเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เขาสามารถคำนวณหาพื้นที่หน้าตัด ของทรงกรวย ทรงกลม และทรงกระบอกได้ โดยใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ที่เขาเป็นคนคิดค้นขึ้น และหาค่าของ </span>Pi <span lang=\"TH\">(พาย) ซึ่งใช้ในการหาพื้นที่ของวงกลม ในปี </span>212 <span lang=\"TH\">ก่อนคริสต์ศักราช กองทัพโรมันยกทัพเข้าตีเมืองไซราคิวส์ โดยยกทัพเรือมาปิดล้อมเกาะไซราคิวส์ไว้ อาร์คิมีดีสมีฐานะเป็นนักปราชญ์ประจำราชสำนัก จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพบัญชาการรบป้องกันบ้านเมืองครั้งนี้ อาร์คิมีดีสได้ประดิษฐ์อาวุธขึ้นหลายชิ้นในการต่อสู้ครั้งนี้ ได้แก่ เครื่องเหวี่ยงหิน โดยอาศัยหลักการของคานดีดคานงัด เครื่องเหวี่ยงหินของอาร์คิมีดีสสามารถเหวี่ยงก้อนหินข้ามกำแพงไปถูกเรือของ กองทัพโรมันเสียหายไปหลายลำ อาวุธอีกชนิดหนึ่งที่อาร์คิมีดีสประดิษฐ์ขึ้น คือ โลหะขัดเงามีลักษณะคล้ายกระจกเว้าสะท้อนแสงให้มีจุดรวมความร้อนที่สามารถทำ ให้เรือของกองทัพโรมัน ไหม้ไฟได้ นอกจากนี้ยังมีเครื่องกลอีกชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายกับตอรืปิโดในปัจจุบัน เรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">เครื่องกลส่งท่อนไม้</span>” <span lang=\"TH\">ซึ่งใช้ส่งท่อนไม้ขนาดใหญ่ด้วยกำลังแรงให้แล่นไปในน้ำ เพื่อทำลายเรือข้าศึก กองทัพโรมันใช้เวลานานถึง </span>3 <span lang=\"TH\">ปี กว่าจะยึดเมืองไซราคิวส์ได้สำเร็จ เมืองไซราคิวส์มิได้แพ้เพราะกำลังหรือสติปัญญา แต่แพ้เนื่องจากความประมาท ด้วยในขณะนั้นภายในเมืองไซราคิวส์กำลังเฉลิมฉลองกันอย่างสนุกสนาน เมื่อตีเมืองไซราคิวส์สำเร็จ แม่ทัพโรมัน มาร์เซลลัส (</span>Marcellus) <span lang=\"TH\">ได้สั่งให้ทหารนำตัวอาร์คิมีดีสไปพบเนื่องจากชื่นชมในความสามารถของอาร์คิมีดีสเป็นอย่างมาก ในขณะที่ตามหาอาร์คิมีดีส ทหารได้พบกับอาร์คิมีดีสกำลังใช้ปลายไม้ขีดเขียนบางอย่างอยู่บนพื้นทราย แต่ทหารผู้นั้นไม่รู้จักอาร์คิมีดีส เมื่อทหารเข้าไปถามหาอาร์คิมีดีสเขากลับตวาด ทำให้ทะเลาะวิวาทกัน ทหารผู้นั้นใช้ดาบแทงอาร์คิมีดีสจนเสียชีวิต เมื่อมาร์เซลลัสทราบเรื่องก็เสียใจเป็นอย่างมากที่ต้องสูญเสียนักปราชญ์ที่มีความสามารถอย่างอาร์คิมีดีสไป ดังนั้นเขาจึงรับอุปการะครอบครัวของอาร์คิมีดีสและสร้างอนุสาวรีย์ เพื่อให้ระลึกถึงความสามารถของอาร์คิมีดีส อนุสาวรีย์แห่งนี้มีลักษณะรูปทรงกลมอยู่ในทรงกระบอก จากผลงานการประดิษฐ์เครื่องกลผ่อนแรงของอาร์คิมีดีส ถือได้ว่าเขาเป็นผู้ให้กำเนิดวิชากลศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่มีประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในอดีตและปัจจุบัน</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; background-color: #ffffff\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; background-color: #ffffff\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; background-color: #ffffff\" class=\"MsoNormal\">\n นางสาว  นันท์นภัส  ทัตพสิทธิ์เดช    ม.6/1    เลขที่  21 \n</p>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:71cc09bdc0637eeba7003e7ad653a645' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:18165b662b7c2f1bdc4f098c54bd63d1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 22pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"> <span lang=\"TH\">นายณัฐวิชา<br />\nศักดิ์สุวรรณ ม.</span>6/1 <span lang=\"TH\">เลขที่ </span>16<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 22pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ   </span><b style=\"font-family: \'Times New Roman\'; font-size: medium\">เคิร์ต โกเดิล</b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 22pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"> </span><img src=\"http://www.baanjomyut.com/library_2/image_oct_54_2/image077.jpg\" width=\"100\" height=\"134\" /><b><span style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"> (พ.ศ. </span></b><b><span style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">2449-2521)</span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 24pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">นักตรรกวิทยา<br />\nนักคณิตศาสตร์ และนักปรัชญาคณิตศาสตร์ ที่ถือว่าโดดเด่นแห่งยุค เกิดที่เมืองบร์โน<br />\n(</span><span style=\"font-size: 24pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\">Brno) <span lang=\"TH\">สาธารณรัฐเช็ก<br />\nจบการศึกษาและเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัยแห่งกรุงเวียนนาและได้อพยพไปอยู่อาศัยในสหรัฐฯ<br />\nในปี พ.ศ. </span>2483 <span lang=\"TH\">และได้เป็นพลเมืองสหรัฐในปี พ.ศ. </span>2491<br />\n<span lang=\"TH\">พร้อมกับได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ที่สถาบันการศึกษาก้าวหน้า<br />\n(</span>The Institute of Advance Study) <span lang=\"TH\">มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน<br />\nเคิร์ต โกเดิลได้แสดงให้เห็นในปี พ.ศ. </span>2474<span lang=\"TH\">ว่าระบบตรรกะที่เป็นระเบียบที่เพียงพอต่อทฤษฎีจำนวน<br />\nจะต้องประกอบด้วยปัญหาที่จะต้องพิสูจน์ แต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ใอยู่นระบบนั้น<br />\nงานของโกเดิลมีผลกระทบอย่างแรงต่อแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และปรัชญาในคริสตศตวรรษที่ </span>20</span><span style=\"font-size: 24pt; line-height: 115%\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:18165b662b7c2f1bdc4f098c54bd63d1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ba20b0f1aaf284c0258e2206448bc0db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nนาย ปาลชาติ วงค์แก้ว ม.6/1 เลชที่ 2\n</p>\n<p>\nนักคณิตศาสตร์ที่สนใจ  <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma,sans-serif\" lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\">อาร์คิมีดีส : </span></span></b><b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma,sans-serif\"><span class=\"Apple-style-span\">Archimedes</span></span></b></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u83064/archimedes.gif\" height=\"335\" width=\"300\" />\n</p>\n<p>\nประวัติ\n</p>\n<p>\n<a href=\"/\"> www.rmutphysics.com/charud/specialnews/2/scientist/scientist3/Archimedes.htm</a>l\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มาของภาพ :  krootee.files.wordpress.com/2010/07/archimedes.gif\n</p>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ba20b0f1aaf284c0258e2206448bc0db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0ea21eec9c51c9b3908248395ad4e895' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ตรวจแล้วจ้า 6/1 ส่ง 16 คน </p>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0ea21eec9c51c9b3908248395ad4e895' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0571e3ff1b1ec02e1179f1a0571dd5ad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>นางสาวรัตนา   พลศิริ  ม.6/1   เลขที่ 10                                                                             </p>\n<div class=\"art-PostContent\">\n<div class=\"art-article\">\n<p>\nนักคณิตศาสตร์ที่สนใจ คือ จอห์น แนช จูเนียร์ \n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/147131\" title=\"http://www.thaigoodview.com/node/147131\">http://www.thaigoodview.com/node/147131</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"http://2.bp.blogspot.com/-Bkv_UmOzeAQ/T9Gwb9xwyLI/AAAAAAAAA4Y/1FA2R12l8RI/s1600/john-nash.jpg\" width=\"300\" height=\"333\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มาของภาพ : http://www.cway-investment.com/2012/06/beautiful-mind.html\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</div>\n</div>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0571e3ff1b1ec02e1179f1a0571dd5ad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:69e70f67fae85760fae67fe9c0d81f0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nนางสาววิมลพรรณ จันทร์แสง ชั้น ม.6/1 เลขที่ 11\n</p>\n<p>\nนักคณิตศาสตร์ที่ชื่นชอบ \n</p>\n<p>\n<img src=\"http://krootee.files.wordpress.com/2010/07/kao.jpg?w=178&amp;h=229\" height=\"229\" width=\"178\" /> \n</p>\n<p>\n <b style=\"font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; line-height: 29px; text-align: center\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">คาร์ล ฟรีดริช เกาส์</span></b>\n</p>\n<h1><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมนี เกิดเมื่อวันที่ </span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">30 <span lang=\"TH\">เมษายน ค.ศ. </span>1777 <span lang=\"TH\">เสียชีวิต </span>23 <span lang=\"TH\">กุมภาพันธ์ ค.ศ. </span>1855 <span lang=\"TH\">เป็นตำนานหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ได้รับฉายาว่า </span>“<span lang=\"TH\">เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์</span>” (Prince of Mathematics)<span lang=\"TH\">เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้วย</span></span></h1>\n<p>\n <b style=\"font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; text-align: justify\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต</span></b>\n</p>\n<h1><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเกาส์เป็นอีกหนึ่งความก้าวหน้าอันยิ่งใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์สมัยนั้น เมื่อเกาส์เป็นผู้แรกที่สามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต (</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">fundamental theorem of algebra) <span lang=\"TH\">ซึ่งกล่าวคร่าวๆ ว่าทุกสมการพหุนามอันดับใดๆ จะมีคำตอบอยู่ในรูปจำนวนเชิงซ้อนเสมอ ทฤษฎีบทนี้ช่วยให้วงการคณิตศาสตร์เข้าใจว่าจำนวนเชิงซ้อนมีบทบาทสำคัญมากเพียงใด และยังเป็นทฤษฎีบทที่นักคณิตศาสตร์เช่น ดาลองแบร์</span>, <span lang=\"TH\">ออยเลอร์</span>, <span lang=\"TH\">ลากรองช์ หรือ ลาปลาซ ต่างได้เคยพยายามพิสูจน์แล้ว ยิ่งไปกว่านั้นในช่วงชีวิตของเกาส์ เขาได้ให้บทพิสูจน์ทฤษฎีบทนี้ถึง </span>4 <span lang=\"TH\">รูปแบบที่ต่างกันโดยสิ้นเชิง ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใจในคุณสมบัติของจำนวนเชิงซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ</span></span></h1>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:69e70f67fae85760fae67fe9c0d81f0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0545b365f233fdec67c8b8bb0c39e135' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"margin-top: 0.5em; margin-right: 0px; margin-bottom: 0.5em; margin-left: 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px; font-style: normal; font-weight: normal; color: #000000\">\nนางสาวณัฐณิชา   วิไลรัตนากูล\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.5em; margin-right: 0px; margin-bottom: 0.5em; margin-left: 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px; font-style: normal; font-weight: normal; color: #000000\">\nม.6/1 เลขที่ 7\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.5em; margin-right: 0px; margin-bottom: 0.5em; margin-left: 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px; font-style: normal; font-weight: normal; color: #000000\">\nนักคณิตศาสตร์ที่สนใจ เพลโต (Plato)\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.5em; margin-right: 0px; margin-bottom: 0.5em; margin-left: 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px; font-style: normal; font-weight: normal; color: #000000\">\n<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/147128\" title=\"http://www.thaigoodview.com/node/147128\">http://www.thaigoodview.com/node/147128</a>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.5em; margin-right: 0px; margin-bottom: 0.5em; margin-left: 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px; font-style: normal; font-weight: normal; color: #000000\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Helvetica; margin: 0px\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif\"><img src=\"/library/contest2551/math03/24/2/Webmath/images/Euclid.jpg\" data-cfsrc=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/math03/24/2/Webmath/images/Euclid.jpg\" border=\"0\" width=\"403\" height=\"531\" data-cfloaded=\"true\" style=\"border-style: initial; border-color: initial; max-width: 100%; height: auto; vertical-align: middle; border-width: 0px\" /></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0545b365f233fdec67c8b8bb0c39e135' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c27e83739b5b8178bcf015d5f5cbd04b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nนายพีระ พงศ์ทิพย์พนัส ชั้น ม.6/1 เลขที่ 3\n</p>\n<p>\nนัก๕ณิตศาสตร์ที่ชื่นชอบคือ\n</p>\n<p>\n<img src=\"http://krootee.files.wordpress.com/2010/07/archimedes.gif?w=133&amp;h=155\" height=\"148\" width=\"133\" /> \n</p>\n<p>\n <b style=\"font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; line-height: 29px; text-align: center\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">อาร์คิมีดีส : </span></b><b style=\"font-family: Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; font-size: 21px; line-height: 29px; text-align: center\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">Archimedes</span></b>\n</p>\n<h1><sub><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">เกิด </span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">287<span lang=\"TH\"> ปีก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (</span>Syracuse) <span lang=\"TH\">เกาะซิซิลี (</span>Sicily)<br />\n<span lang=\"TH\">เสียชีวิตปี </span>212 <span lang=\"TH\">ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (</span>Syracuse) <span lang=\"TH\">เกาะซิซิลี (</span>Sicily)<br />\n<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span lang=\"TH\">เสียชีวิตปี </span>212 <span lang=\"TH\">ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (</span>Syracuse) <span lang=\"TH\">เกาะซิซิลี (</span>Sicily)</span></sub></h1>\n<h1><sub><b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">ผลงาน<br />\n</span></b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">- <span lang=\"TH\">กฎของอาร์คิมีดีส (</span>Archimedes Principle) <span lang=\"TH\">ที่กล่าวว่า </span>“<span lang=\"TH\">ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตรของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ</span>” <span lang=\"TH\">ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ<br />\n</span></span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">- <span lang=\"TH\">ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา<br />\n</span></span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">- <span lang=\"TH\">อาวุธสงคราม </span></span></sub></h1>\n', created = 1716006133, expire = 1716092533, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c27e83739b5b8178bcf015d5f5cbd04b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานครั้งที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียนที่ 2/2555

รูปภาพของ npskrulouis

งานครั้งที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1  ภาคเรียนที่ 2/2555


ให้นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ทุกคนทำกิจกรรม ดังนี้ (10 คะแนน)
1. สมัครสมาชิกพร้อมใส่ภาพตนเองให้เรียบร้อย
2. ให้นักเรียนแนะนำตนเอง  โดยทักทายและร่วมแสดงความคิดเห็นด้านล่าง
3. ให้สร้าง blog เกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ที่นักเรียนชอบมากที่สุด เนื้อหาไม่น้อยกว่า 5 บรรทัด มีภาพประกอบไม่น้อยกว่า 1 รูป และอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลและรูปภาพด้วย

4. เมื่อทำงานเสร็จสิ้นให้แสดงความคิดเห็นด้านล่าง พร้อมทั้ง บอก URL ยกตัวอย่าง เช่น http://www.thaigoodview.com/node/ 
ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555

 

รูปภาพของ nps13515

นาย ภควิช คนองชัยยศ ม.6/1 เลขที่ 28

Sonya Kovalevskaya

 

ประวัติ

http://www.neutron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=2038&Itemid=4 

รูปภาพของ npskrulouis
รูปภาพของ npskrulouis

ตรวจแล้วจ้า 6/1
ครั้งที่ 1 ส่ง 16 คน
ครั้งที่ 2 ส่ง 4 คน
รวมส่ง 20 คน คงเหลือ  12 คน

รูปภาพของ nps12726

นาย พศิน อมรถกลสุเวช

นักคณิตศาสร์ที่สนใจ ปีทาโกรัส

http://www.thaigoodview.com/node/147289

รูปภาพของ nps12809
  
 
 
 อาร์คิมีดีส : Archimedes

เกิด 287 ปีก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)
เสียชีวิตปี 212 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)

ผลงาน

กฎของอาร์คิมีดีส (Archimedes Principle) ที่กล่าวว่า ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตรของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ” ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ

ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา

อาวุธสงคราม ได้แก่ เครื่องเหวี่ยงหิน กระจกเว้ารวมแสง และเครื่องปล่อยท่อนไม้
เมื่อเอ่ยชื่ออาร์คิมีดีส ไม่มีใครที่จะไม่รู้จักนามของนักวิทยาศาสตร์เอกผู้นี้ โดยเฉพาะกฎเกี่ยวกับการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ หรือการหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับมงกุฎทองของกษัตริย์เฮียโร (King Hiero) ซึ่งเรื่องนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งเล็กน้อยเท่านั้น ถ้าเทียบกับสิ่ง ประดิษฐ์ และการค้นพบของเขาในเรื่องอื่น เช่น ระหัดวิดน้ำ คานดีดคานงัด ล้อกับเพลา เป็นต้น อาร์คิมีดีสขึ้นชื่อว่าเป็นบิดาแห่งกลศาสตร์ที่แท้จริงเนื่องจากสิ่งประดิษฐ์ของเขามักจะเป็นเครื่องผ่อนแรง ที่มีประโยชน์และใช้กันมาจนถึงปัจจุบันนี้อาร์คิมีดีสเป็นนักปราชญ์ชาวกรีก เกิดที่ เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) บนเกาะซิซิลี (Sicily) เมื่อประมาณ 287 ก่อนคริสต์ศักราช บิดาของเขาเป็นนักดาราศาสตร์ชื่อ ไฟดาส (Pheidias)อาร์คิมีดีสมีความสนใจในวิชาคณิตศาสตร์เป็นอย่างมาก เขาจึงเดินทางไปศึกษาวิชาคณิตศาสตร์กับอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์ นามว่า ซีนอนแห่งซามอส ซึ่งก็เป็นลูกศิษย์คนเก่งของนักปราชญ์เลื่องชื่อลือนามว่า ยูคลิด (Euclid) ที่เมืองอเล็กซานเดรีย (Alexandria) ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางแห่งวิชาการของกรีกในสมัยนั้น
หลังจากที่อาร์คิมีดีส จบการศึกษาแล้ว เขาได้เข้าทำงานในตำแหน่งนักปราชญ์ประจำราชสำนักของพระเจ้าเฮียโร งานชิ้นเอกที่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป คือกฎของอาร์คิมีดีส (Archimedes Principle) หรือ วิธีการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ (SpecificGravity) ซึ่งเรื่องเกิดขึ้นจากกษัตริย์เฮียโรทรงมีรับสั่งให้ช่างทำมงกุฎทองคำ โดยมอบทองคำให้ช่างทองจำนวนหนึ่ง เมื่อช่างทองนำมงกุฎมาถวาย ทรงเกิดความระแวงในท่าทางของช่างทำทองว่าจะยักยอกทองคำไป และนำโลหะชนิดอื่นมาผสม แต่ทรงไม่สามารถหาวิธีพิสูจน์ได้ ดังนั้นจึงทรงมอบหมายหน้าที่ การค้นหาข้อเท็จจริงให้กับอาร์คิมีดีส ขั้นแรกอาร์คิมีดีสได้นำมงกุฎทองไปชั่งน้ำหนัก ปรากฏว่าน้ำหนักของมงกุฎเท่ากับทองที่กษัตริย์เฮียโรได้มอบให้ไป ซึ่งช่างทองอาจจะนำโลหะชนิดอื่นมาผสมลงไปได้ อาร์คิมีดีสครุ่นคิดเท่าไรก็คิดไม่ออกสักที จนวันหนึ่งเขาไปอาบน้ำที่อ่างอาบน้ำสาธารณะแห่งหนึ่ง ขณะที่น้ำในอ่างเต็ม อาร์คิมีดีสลงแช่ตัวในอ่างอาบน้ำ น้ำก็ล้นออกมาจากอ่างนั้น เมื่อเขาเห็นเช่นนั้นทำให้เขารู้วิธีพิสูจน์น้ำหนักของทองได้สำเร็จ ด้วยความดีใจเขาจึง รีบวิ่งกลับบ้านโดยที่ยังไม่ได้สวมเสื้อผ้า ปากก็ร้องไปว่า ยูเรก้า! ยูเรก้า! (Eureka)” จนกระทั่งถึงบ้าน เมื่อถึงบ้านเขารีบนำมงกุฎมาผูกเชือกแล้วหย่อนลงในอ่างน้ำที่มีน้ำอยู่เต็ม แล้วรองน้ำที่ล้นออกมาจากอ่าง จากนั้นจึงนำทองในปริมาตรที่เท่ากันกับมงกุฎหย่อน ลงในอ่างน้ำ แล้วทำเช่นเดียวกับครั้งแรก จากนั้นเขาได้นำเงินในปริมาตรที่เท่ากับมงกุฎ มาทำเช่นเดียวกับมงกุฎและทอง ผลการทดสอบปรากฏว่า ปริมาตรน้ำที่ล้นออกมานั้น เงินมีปริมาตรน้ำมากที่สุด มงกุฎรองลงมา และทองน้อยที่สุด ซึ่งจากผลการทดลองครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า ช่างทองนำเงินมาผสมเพื่อทำมงกุฎแน่นอนมิฉะนั้นแล้วปริมาตรน้ำของมงกุฎและทอง ต้องเท่ากัน เพราะเป็นโลหะชนิดเดียวกัน อาร์คิมีดีสได้นำความขึ้นกราบทูลกษัตริย์เฮียโรให้ ทรงทราบ อีกทั้งแสดงการทดลองให้ชมต่อหน้าพระพักตร์ เมื่อช่างทองเห็นดังนั้นก็รีบรับสารภาพแล้วนำทองมาคืนให้กับกษัตริย์เฮียโร การค้นพบครั้งนี้ของอาร์คิมีดีส ได้ตั้งเป็นกฎชื่อว่ากฎของอาร์คิมีดีส ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้นำหลักการเช่นเดียวกันนี้มาหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุต่าง ๆ
อาร์คิมีดีสไม่เพียงแต่พบวิธีหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุได้เท่านั้น งานชิ้นสำคัญอีกชิ้นหนึ่งก็คือ การสร้างระหัดวิดน้ำ หรือที่มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระหัดเกลียวของอาร์คิมีดีส(Archimedes Screw)” เพื่อใช้สำหรับวิดน้ำขึ้นมาจากบ่อหรือแม่น้ำ สำหรับใช้ในการอุปโภคหรือบริโภค ซึ่งทำให้เสียแรงและเวลาน้อยลงไปอย่างมาก การที่อาร์คิมีดีสคิดสร้างระหัดวิดน้ำขึ้นมานั้น ก็เพราะเขาเห็นความลำบากของชาวเมืองในการนำน้ำขึ้นจากบ่อหรือแม่น้ำมาใช้ ซึ่งต้องใช้แรงและเสียเวลาอย่างมาก ระหัดวิดน้ำของอาร์คิมีดีสประกอบ ไปด้วยท่อทรงกระบอกขนาดใหญ่ภายในเป็นแกนระหัด มีลักษณะคล้ายกับดอกสว่าน เมื่อต้องการใช้น้ำ ก็หมุนที่ด้ามจับระหัด น้ำก็จะไหลขึ้นมาตามเกลียวระหัดนั้น ซึ่งต่อมามีผู้ดัดแปลงนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ มากมาย เช่น การลำเลียงถ่านหินเข้าสู่เตา และนำเถ้าออกจากเตา การบดเนื้อสัตว์ เป็นต้น นอกจากนี้อาร์คิมีดีสได้ประดิษฐ์เครื่องผ่อนแรงขึ้นอีกหลายชิ้น เพื่อสร้างความสะดวกสบายให้กับชาวเมือง ได้แก่ คานดีดคานงัด (Law of Lever) ใช้สำหรับในการยกของที่มีน้ำหนักมาก ซึ่งใช้วิธีการง่ายๆ คือ ใช้ไม้คานยาวอันหนึ่ง และหาจุดรองรับคานหรือจุดฟัลครัม (Fulcrum) ซึ่งเมื่อวางของบนปลายไม้ด้านหนึ่ง และออกแรงกดปลายอีกด้านหนึ่ง ก็จะสามารถยกของ ที่มีน้ำหนักมากได้อย่างสบาย นอกจากคานดีดคานงัดแล้ว อาร์คิมีดีสได้ประดิษฐ์รอก ซึ่งเป็นเครื่องกลสำหรับยกของหนักอีกชนิดหนึ่ง เครื่องกลผ่อนแรงทั้งสองชนิดนี้ อาร์คิมีดีสคิดค้นเพื่อกะลาสีเรือหลวงที่ต้องยกของหนักเป็นจำนวนมากในแต่ละ วัน เครื่องกลผ่อนแรงของอาร์คิมีดีส มีอีกหลายอย่าง ได้แก่ รอกพวง ซึ่งใช้หลักการเดียวกันกับรอกและล้อกับเพลา ใช้สำหรับเคลื่อนย้ายของที่มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก เช่น ก้อนหิน เป็นต้น เครื่องกลผ่อนแรงของ
อาร์คิมีดีสถือได้ว่าเป็นรากฐานที่สำคัญของวิชากลศาสตร์ และยังเป็นที่นิยมใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งได้มีการนำเครื่องกลผ่อนแรงเหล่านี้มาเป็นต้นแบบเครื่องกลที่สำคัญในปัจจุบัน เช่น ล้อกับเพลา มาใช้ประโยชน์ในการขับเคลื่อนของรถยนต์ เป็นต้น อาร์คิมีดีสไม่ได้เพียงแต่สร้างเครื่องกลผ่อนแรงเท่านั้น เขายังมีความชำนาญเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เขาสามารถคำนวณหาพื้นที่หน้าตัด ของทรงกรวย ทรงกลม และทรงกระบอกได้ โดยใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ที่เขาเป็นคนคิดค้นขึ้น และหาค่าของ 
Pi (พาย) ซึ่งใช้ในการหาพื้นที่ของวงกลม ในปี 212 ก่อนคริสต์ศักราช กองทัพโรมันยกทัพเข้าตีเมืองไซราคิวส์ โดยยกทัพเรือมาปิดล้อมเกาะไซราคิวส์ไว้ อาร์คิมีดีสมีฐานะเป็นนักปราชญ์ประจำราชสำนัก จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพบัญชาการรบป้องกันบ้านเมืองครั้งนี้ อาร์คิมีดีสได้ประดิษฐ์อาวุธขึ้นหลายชิ้นในการต่อสู้ครั้งนี้ ได้แก่ เครื่องเหวี่ยงหิน โดยอาศัยหลักการของคานดีดคานงัด เครื่องเหวี่ยงหินของอาร์คิมีดีสสามารถเหวี่ยงก้อนหินข้ามกำแพงไปถูกเรือของ กองทัพโรมันเสียหายไปหลายลำ อาวุธอีกชนิดหนึ่งที่อาร์คิมีดีสประดิษฐ์ขึ้น คือ โลหะขัดเงามีลักษณะคล้ายกระจกเว้าสะท้อนแสงให้มีจุดรวมความร้อนที่สามารถทำ ให้เรือของกองทัพโรมัน ไหม้ไฟได้ นอกจากนี้ยังมีเครื่องกลอีกชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายกับตอรืปิโดในปัจจุบัน เรียกว่า เครื่องกลส่งท่อนไม้” ซึ่งใช้ส่งท่อนไม้ขนาดใหญ่ด้วยกำลังแรงให้แล่นไปในน้ำ เพื่อทำลายเรือข้าศึก กองทัพโรมันใช้เวลานานถึง ปี กว่าจะยึดเมืองไซราคิวส์ได้สำเร็จ เมืองไซราคิวส์มิได้แพ้เพราะกำลังหรือสติปัญญา แต่แพ้เนื่องจากความประมาท ด้วยในขณะนั้นภายในเมืองไซราคิวส์กำลังเฉลิมฉลองกันอย่างสนุกสนาน เมื่อตีเมืองไซราคิวส์สำเร็จ แม่ทัพโรมัน มาร์เซลลัส (Marcellus) ได้สั่งให้ทหารนำตัวอาร์คิมีดีสไปพบเนื่องจากชื่นชมในความสามารถของอาร์คิมีดีสเป็นอย่างมาก ในขณะที่ตามหาอาร์คิมีดีส ทหารได้พบกับอาร์คิมีดีสกำลังใช้ปลายไม้ขีดเขียนบางอย่างอยู่บนพื้นทราย แต่ทหารผู้นั้นไม่รู้จักอาร์คิมีดีส เมื่อทหารเข้าไปถามหาอาร์คิมีดีสเขากลับตวาด ทำให้ทะเลาะวิวาทกัน ทหารผู้นั้นใช้ดาบแทงอาร์คิมีดีสจนเสียชีวิต เมื่อมาร์เซลลัสทราบเรื่องก็เสียใจเป็นอย่างมากที่ต้องสูญเสียนักปราชญ์ที่มีความสามารถอย่างอาร์คิมีดีสไป ดังนั้นเขาจึงรับอุปการะครอบครัวของอาร์คิมีดีสและสร้างอนุสาวรีย์ เพื่อให้ระลึกถึงความสามารถของอาร์คิมีดีส อนุสาวรีย์แห่งนี้มีลักษณะรูปทรงกลมอยู่ในทรงกระบอก จากผลงานการประดิษฐ์เครื่องกลผ่อนแรงของอาร์คิมีดีส ถือได้ว่าเขาเป็นผู้ให้กำเนิดวิชากลศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่มีประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในอดีตและปัจจุบัน

 

 

 นางสาว  นันท์นภัส  ทัตพสิทธิ์เดช    ม.6/1    เลขที่  21 

รูปภาพของ nattavisha

 

 นายณัฐวิชา
ศักดิ์สุวรรณ ม.
6/1 เลขที่ 16

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ   เคิร์ต โกเดิล

  (พ.ศ. 2449-2521)

นักตรรกวิทยา
นักคณิตศาสตร์ และนักปรัชญาคณิตศาสตร์ ที่ถือว่าโดดเด่นแห่งยุค เกิดที่เมืองบร์โน
(
Brno) สาธารณรัฐเช็ก
จบการศึกษาและเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัยแห่งกรุงเวียนนาและได้อพยพไปอยู่อาศัยในสหรัฐฯ
ในปี พ.ศ.
2483 และได้เป็นพลเมืองสหรัฐในปี พ.ศ. 2491
พร้อมกับได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ที่สถาบันการศึกษาก้าวหน้า
(
The Institute of Advance Study) มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
เคิร์ต โกเดิลได้แสดงให้เห็นในปี พ.ศ.
2474ว่าระบบตรรกะที่เป็นระเบียบที่เพียงพอต่อทฤษฎีจำนวน
จะต้องประกอบด้วยปัญหาที่จะต้องพิสูจน์ แต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ใอยู่นระบบนั้น
งานของโกเดิลมีผลกระทบอย่างแรงต่อแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และปรัชญาในคริสตศตวรรษที่
20

รูปภาพของ NPS11927

นาย ปาลชาติ วงค์แก้ว ม.6/1 เลชที่ 2

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ  อาร์คิมีดีส : Archimedes

ประวัติ

 www.rmutphysics.com/charud/specialnews/2/scientist/scientist3/Archimedes.html

 

ที่มาของภาพ :  krootee.files.wordpress.com/2010/07/archimedes.gif

รูปภาพของ npskrulouis

ตรวจแล้วจ้า 6/1 ส่ง 16 คน

รูปภาพของ nps11950

นางสาวรัตนา   พลศิริ  ม.6/1   เลขที่ 10                                                                             

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ คือ จอห์น แนช จูเนียร์ 

http://www.thaigoodview.com/node/147131

 

แหล่งที่มาของภาพ : http://www.cway-investment.com/2012/06/beautiful-mind.html

 

 

รูปภาพของ วิมลพรรณ

นางสาววิมลพรรณ จันทร์แสง ชั้น ม.6/1 เลขที่ 11

นักคณิตศาสตร์ที่ชื่นชอบ 

 

 คาร์ล ฟรีดริช เกาส์

โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมนี เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1777 เสียชีวิต 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1855 เป็นตำนานหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ได้รับฉายาว่า เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์” (Prince of Mathematics)เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้วย

 ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต

วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเกาส์เป็นอีกหนึ่งความก้าวหน้าอันยิ่งใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์สมัยนั้น เมื่อเกาส์เป็นผู้แรกที่สามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต (fundamental theorem of algebra) ซึ่งกล่าวคร่าวๆ ว่าทุกสมการพหุนามอันดับใดๆ จะมีคำตอบอยู่ในรูปจำนวนเชิงซ้อนเสมอ ทฤษฎีบทนี้ช่วยให้วงการคณิตศาสตร์เข้าใจว่าจำนวนเชิงซ้อนมีบทบาทสำคัญมากเพียงใด และยังเป็นทฤษฎีบทที่นักคณิตศาสตร์เช่น ดาลองแบร์ออยเลอร์ลากรองช์ หรือ ลาปลาซ ต่างได้เคยพยายามพิสูจน์แล้ว ยิ่งไปกว่านั้นในช่วงชีวิตของเกาส์ เขาได้ให้บทพิสูจน์ทฤษฎีบทนี้ถึง รูปแบบที่ต่างกันโดยสิ้นเชิง ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใจในคุณสมบัติของจำนวนเชิงซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ

รูปภาพของ nps11945

นางสาวณัฐณิชา   วิไลรัตนากูล

ม.6/1 เลขที่ 7

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ เพลโต (Plato)

http://www.thaigoodview.com/node/147128

 

 

รูปภาพของ NPS11931

นายพีระ พงศ์ทิพย์พนัส ชั้น ม.6/1 เลขที่ 3

นัก๕ณิตศาสตร์ที่ชื่นชอบคือ

 

 อาร์คิมีดีส : Archimedes

เกิด 287 ปีก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)
เสียชีวิตปี 212 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)
เสียชีวิตปี 212 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)

ผลงาน
กฎของอาร์คิมีดีส (Archimedes Principle) ที่กล่าวว่า ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตรของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ” ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ
ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา
อาวุธสงคราม 

รูปภาพของ nps13517

นางสาวกมลทิพย์  น้อยรักษ์ ม6/1  เลขที่ 29

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจชื่อ "เธลิส"

 http://www.thaigoodview.com/node/147125

ที่มาของรูปภาพ   http://blog.eduzones.com/yaowapa/33242

 

 

รูปภาพของ NPS12812

นางสาวอาทิตยา แตงทอง ชั้น ม.6/1 เลขที่ 22

นักคณิตศาสตร์ที่ชื่นชอบ

 

 ปีทาโกรัส (Pythagoras)

เกิด 582 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองซามอส (Samos) ประเทศกรีซ (Greece)
เสียชีวิตปี 507 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองเมตาปอนตัม (Metapontum)
ผลงาน

 - สร้างสูตรคูณหรือตารางปีทาโกเรียน (Pythagorean Table)

ทฤษฎีบทเรขาคณิตที่ว่า ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก

สมบัติของแสง และการมองวัตถุ

สมบัติของเสียงปีทาโกรัส เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะของนักคณิตศาสตร์ผู้คิดค้นสูตรคูณ หรือตารางปีทาโกเรียน (Pythagorean Table) และทฤษฎีบทเรขาคณิต

รูปภาพของ nps11923

นายณัชพล  กามล

ม.6/1 เลขที่ 1

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ คือ ยูคลิด(Euclid)

http://www.thaigoodview.com/node/147120

 

แหล่งที่มาของภาพ http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRCAx7zHlDSBF48QYfya83FdjMWbbXsJHAPIFLnUEMzaxJd7FOVQgz6SwQJtg

รูปภาพของ nps12828

นางสาวอินทุอร สุนทร

ม.6/1 เลขที่ 24

นักคณิตศาสตร์ที่ เซอร์ ไอแซค นิวตัน

http://www.thaigoodview.com/node/147117

 

แหล่งที่มาของรูปภาพ :  http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=1412&Itemid=4

  นางสาวจิตรา   เส็งสี เลขที่ 8 ม.6/1

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ  คือ คอลีฟะฮ์อัล-มะอ์มูน 

 

ป็น “บิดาแห่งพีชคณิต” เขาเป็นทั้งนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชื่อก้อง คอลีฟะฮ์อัล-มะอ์มูน (Al-Ma’Mun ค.ศ.786-833) เป็นผู้เรียกตัวเขาเข้าแบกแดด แล้วแต่งตั้งให้เป็นนักดาราศาสตร์แห่งราชสำนัก   คำว่า “อัลจีบรา” (Algebra พีชคณิต) มาจากชื่อตำราคณิตศาสตร์เล่มโด่งดังของอัล-ควาริศมี ‘ฮิซาบ อัล-จับบัร วาอัล-มุฆบาลา’ (Hisab Al-Jabr Mugabalah หรือ Book of Calculations, Restoration, and Reduction) ตำราคณิตศาสตร์ฉบับแปลภาษาละตินของเขาเล่มนี้ถูกค้นพบในปีค.ศ.1857 ที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ชื่อว่า ‘Algoritimi de Numero Indorum’ หน้าแรกของหนังสือเขียนว่า “อัลกอริธมีกล่าวว่า มวลการสรรเสริญเป็นของพระผู้เป็นเจ้า ผู้นำและพิทักษ์เรา” (Spoken has Algoritimi. Let us give deserved praise to God, our Leader, and Defender) ซึ่งคาดว่าในฉบับภาษาอาหรับอัล-ควาริศมีได้เริ่มหน้าแรกของหนังสือเพียงว่า “บิสมิลลาฮิรฺรอฮฺมานิรฺรอฮีม” แปลว่า “มวลการสรรเสริญเป็นของพระผู้เป็นเจ้า ผู้นำและพิทักษ์เรา” ซึ่งเป็นคำกล่าวของมุสลิมทุกคนเมื่อเริ่มต้นทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แต่เมื่อชาวคริสเตียนแปลหนังสือออกมา ย่อมต้องบอกว่าอัล-ควาริศมีเป็นผู้กล่าวคำสรรเสริญพระผู้เป็นเจ้าของชาวมุสลิม ไม่ใช่ตนเป็นคนกล่าว

อัลควาริศมีทิ้งชื่อของเขาไว้ในโลกคณิตศาสตร์คือคำว่า ‘อัลกอริธึม’ (Algorism) ซึ่งเป็นชื่อเก่าของคำว่า‘arithmatic’ หรือ ‘เลขคณิต’

อัล-ควาริศมีเน้นว่าเขาเขียนตำราพีชคณิตเพื่อประโยชน์ของผู้คนในด้านการคำนวณมรดก คดีความ และด้านการค้า

ในศตวรรษที่ 12 เจอราดแห่งครีโมนา (Gerard of Cremona) และโรเบิร์ตแห่งเชสเตอร์ (Roberts of Chester) แปลตำราพีชคณิตของอัล-ควาริศมีเป็นภาษาละติน นักคณิตศาสตร์ทั่วโลกใช้ตำรานี้กันจนหระทั่งศตวรรษที่ 16  เชื่อกันว่าอัล-ควาริศมีเกิดในปีค.ศ.780 ที่เมือง Kath ในโอเอซิสแห่ง Khorzen ปัจจุบันเมือง Kath ถูกฝังใต้แผ่นดินไปแล้ว

 

แหล่งที่มา : http://info.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=29&id=15077 

  

รูปภาพของ NPS11943

นางสาวชาลิสา  ว่องวชิราพาณิชย์  ม. 6/1  เลขที่ 6                                                                                

นักคณิตศาสตรที่สนใจ จอห์น  เนเปีย

http://www.thaigoodview.com/node/147118

 

จอห์น เนเปียร์ (Neper John Napier ค.ศ. 1550-1617)  
 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์  

 

 

http://www.kanyanach.com/student-website/mathematician/napier.html

 

 

 

รูปภาพของ Nps14135

นางสาวปาจรีย์  คงหาญ  ม.6/1 เลขที่ 33

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจชื่อ  คาร์ล ฟรีดริช เกาส์

http://www.thaigoodview.com/node/147113

 ที่มาของรูปภาพ  http://siriporn-tan.blogspot.com/2009/09/30.html
รูปภาพของ nps11986

นางสาวตุลยประวี วิเชียรรัตน์

ม.6/1 เลขที่ 13 

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ ปิแยร์  เดอ แฟร์มาต์

http://www.thaigoodview.com/node/147109

 

 

แหล่งที่มารูปภาพ http://static.truelife.com/blog/files/members/22/106216/163839/5ad975570ca1.jpg

รูปภาพของ NPS11947

นางสาวปรารถนา   พงษ์คะเชน  ม.6/1   เลขที่ 9                                                                             

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ คือ เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ ( Leonhard Eulea ) ประมาณ ค.ศ1707-1783

http://www.thaigoodview.com/node/147123                      

http://math-tiger.blogspot.com/2010/09/blog-post_29.html

 

 

 

รูปภาพของ nps12021

นายอัครพงษ์ อินพึ่ง ม.6/1 เลขที่ 17 

 นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ ปีทาโกลัส

http://www.thaigoodview.com/node/147106

แหล่งที่มาของภาพ http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/2/scientist/scientist3/Pythagorus.html 

รูปภาพของ nps12826

นางสาวผณินทร ผิวภูเขียว

ม.6/1 เลขที่ 23 

นักคณิตศาสตร์ที่สนใจ พอล แอร์ดิช

http://www.thaigoodview.com/node/147100 

แหล่งที่มาของภาพ : http://stanglibrary.files.wordpress.com/2012/07/erdos002.jpg 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 219 คน กำลังออนไลน์