• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6cf6a832ce00421f07151552b1dd5e09' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt\"><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"> </span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt\"><u><span style=\"color: #0000ff\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 19px; line-height: normal; font-family: Tahoma\">ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์</span> </span></u></p>\n<p style=\"margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ในสมัยก่อนหุ่นยนต์เป็นเพียงจินตนาการของมนุษย์ที่มีความต้องการได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ามาช่วยในการผ่อนแรงจากงานที่ทำหรือช่วยในการปฏิบัติงานที่ยากลำบากเกินขอบเขตความสามารถและจากจินตนาการได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้มนุษย์คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์หุ่นยนต์ขึ้นมา จนกลายเป็นหุ่นยนต์หรือ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Robot </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ในปัจจุบัน</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">คำว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Robot </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">มาจากคำว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Robota</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ในภาษาเช็ก</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"><span class=\"apple-converted-space\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ซึ่งแปลโดยตรงว่า</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"> </span></span><i><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">การทำงานเสมือนทาส</span></i><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ถือกำเนิดขึ้นจากละครเวที</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">เรื่อง &quot;</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Rassum\'sUniversal Robots&quot; </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ในปี ค.ศ.1920</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"> </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"><span class=\"apple-converted-space\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ซึ่งเป็นบทประพันธ์ของคาเรว ชาเปก</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"> </span></span><i><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">(Karel Capek)</span></i><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">เนื้อหาของละครเวทีมีความเกี่ยวพันกับจินตนาการของมนุษย์ในการใฝ่หาสิ่งใดมาช่วยในการปฏิบัติงานการประดิษฐ์คิดค้นสร้างหุ่นยนต์จึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อเป็นเสมือนทาสคอยรับใช้มนุษย์การใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ดำเนินต่อไปจนกระทั่งหุ่นยนต์เกิดมีความคิดเช่นเดียวกันมนุษย์การถูกกดขี่ข่มเหงเช่นทาส</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">จากมนุษย์ทำให้หุ่นยนต์เกิดการต่อต้านไม่ยอมเป็นเบี้ยล่างอีกซึ่งละครเวทีเรื่องนี้โด่งดังมากจนทำให้คำว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Robot </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">เป็นที่รู้จักทั่วโลก</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ในปี ค.ศ. </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">1942 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">คำว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">robot</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ได้กลายเป็นจุดสนใจของคนทั่วโลกอีกครั้ง เมื่อ ไอแซ็ค อสิมอฟ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"><span class=\"apple-converted-space\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">นักเขียนนวนิยายแนววิทยาศาสตร์ได้เขียนเรื่องนวนิยายสั้นเรื่อง</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Runaround</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ซึ่งได้ปรากฏคำว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">robot </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ในนิยายเรื่องนี้และต่อมาได้นำมารวบรวมไว้ในนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง I-Robot</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"><span class=\"apple-converted-space\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ทำให้นักวิทยาศาสตร์ได้ทำความรู้จักกับคำว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Robot </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">เป็นครั้งแรกจากนวนิยายเรื่องนี้หุ่นยนต์จึงกลายเป็นจุดสนใจและเป็นแนวคิดและจินตนาการของนักวิทยาศาสตร์ในการคิดค้นและประดิษฐ์หุ่นยนต์ในอนาคต</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">สมัยโบราณการดูเวลาจะใช้นาฬิกาแดดเป็นเครื่องบ่งชี้เวลาแต่สามารถใช้ได้เพียงแค่เวลากลางวันเท่านั้นนาฬิกาทรายจะใช้บอกเวลาในเวลากลางคืนจึงได้มีการคิดค้นและประดิษฐ์เครื่องจักรกลสำหรับบอกเวลาให้แก่มนุษย์คือ นาฬิกาน้ำ</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"> </span></span><i><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">(Clepsydra)</span></i><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">โดย </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Ctesibiuaof Alexandria </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">นักฟิสิกส์ชาวกรีกในปี </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">250 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ก่อนคริสตกาล นาฬิกาน้ำนี้ใช้บอกเวลาแทนมนุษย์ที่แต่เดิมต้องบอกเวลาจากนาฬิกาแดดและนาฬิกาทราย</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">โดยใช้พลังงาน</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">จากการไหลของน้ำ เป็นตัวผลักทำให้กลไกของนาฬิกาน้ำทำงานและถือเป็นเครื่องจักรเครื่องแรกที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้สำหรับทำงานแทนมนุษย์และเมื่อมนุษย์ได้รู้จักและเรียนรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าความคิดสร้างสรรค์ในการควบคุมเครื่องจักรโดยไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าก็เริ่มขึ้น </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Nikola Tesia </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">เป็นบุคลแรกที่สามารถใช้คลื่นวิทยุ</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ในการควบคุมหุ่นยนต์เรือขนาดเล็กในกรุงนิวยอร์ก ในปี ค.ศ. </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">1898 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ภายในงานแสดงผลงานทางด้านไฟฟ้า</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ปี ค.ศ. </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">1940 - 1950 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">หุ่นยนต์ชื่อ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Alsiethe Tortoise </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ได้ถือกำเนิดขึ้นโดย </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Grey Walter </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">หุ่นยนต์รูปเต่าสร้างจากมอเตอร์ไฟฟ้านำมาประกอบเป็นเครื่องจักร สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยล้อทั้ง</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">3 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ต่อมาหุ่นยนต์ชื่อ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Shakey</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ได้ถูกสร้างขึ้นให้สามารถเคลื่อนที่ได้เช่นเดียวกับ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Alsie the Tortoise </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">โดย </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">StandfordResearch Institute:SRI </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">แต่มีความสามารถเหนือกว่าคือมีความคิดเป็นของตนเองโดยที่</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Shakey </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">จะมีสัญญาณเซนเซอร์เป็นเครื่องบอกสัญญาณในการเคลื่อนที่ไปมาซึ่งนอกเหนือจากหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนที่ไปมาด้วยล้อแล้ว ในปี ค.ศ. </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">1960 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">หุ่นยนต์ที่ชื่อ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">GeneralElectric Walking Truck </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ที่สามารถเดินได้ด้วยขาก็ถือกำเนิดขึ้นมีขนาดโครงสร้างใหญ่โตและหนักถึง </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">3,000 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ปอน์ดสามารถก้าวเดินไปด้านหน้าด้วยขาทั้ง </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">4 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ข้างด้วยความเร็ว </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">4 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ไมล์/ชั่วโมงโดยการใช้คอมพิวเตอร์ในการควบคุมการเคลื่อไหนของขา </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">General Electric WalkTruck </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ได้รับการพัฒนาโครงสร้างและศักยภาพโดยวิศวกรประจำบริษัท</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">GeneralElectric </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ชื่อ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Ralph Moser<o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ภายหลังจากที่หุ่นยนต์เริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกหุ่นยนต์เริ่มเข้ามามีบทบาทความสำคัญในด้านต่าง ๆเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตของมนุษย์โรงงานอุตสาหกรรมเริ่มมีความคิดใช้หุ่นยนต์แทนแรงงานมนุษย์เดิมหุ่นยนต์ด้านอุตสาหกรรมตัวแรกที่ชื่อ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Unimates </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ได้ถือกำเนิดขึ้นในปีค.ศ. </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">1950- 1960 </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">โดย </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">George Devol </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">และ</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">JoeEngleberger </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ซึงต่อมา </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Joe </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ได้แยกตัวออกมาจาก</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">George </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">โดยเปิดบริษัทสร้างหุ่นยนต์ในชื่อของ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Unimation </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ซึ่งต่อมาผลงานในด้านหุ่นยนต์ของ</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Arial, sans-serif\">Joe </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt\">ได้รับสมญานามว่า &quot;บิดาแห่งหุ่นยนต์ด้านอุตสาหกรรม&quot;</span></span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"> </span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; font-size: small\"><u><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 19px; line-height: normal; font-family: Tahoma\">ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์อาร์ซิโม</span> </span></u></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; font-size: small; line-height: 18pt\"><o:p style=\"color: #3366ff\"> </o:p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 12px; line-height: 17px\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">ทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้าร่วมกันคิดค้นและพัฒนาความท้าทายการทำงานในรูปแบบใหม่ของเทคโนโลยีในปัจจุบันซึ่งหลังจากได้พัฒนาศักยภาพของเครื่องยนต์อเนกประสงค์</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">รถจักรยานยนต์</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">และรถยนต์ในรุ่นต่างๆ ซึ่งความท้าทายในรูปแบบใหม่ของทีมวิศวกรบริษัทฮอนด้าคือ การพัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">ให้มีขีดความสามารถในการเดินวิ่ง หรือเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระหุ่นยนต์อาซิโมจึงถือกำเนิดขึ้นและได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดทำการศึกษาและวิจัยโครงสร้างและส่วนประกอบต่าง ๆของหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์อย่างละเอียดเพื่อให้หุ่นยนต์อาซิโมและมนุษย์สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันได้โดยเริ่มทำการศึกษาและพัฒนาหุ่นยนต์ให้สามารถเดินได้ด้วยขาทั้ง </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">2 <span lang=\"TH\">ข้างในตระกูล </span>P-Series <span lang=\"TH\">เรื่อยมาจนกระทั่งมาสิ้นสุดที่อาซิโม</span></span></span></span></p>\n<p style=\"text-align: left; line-height: 12.5pt\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ถือเป็นการคิดค้นและพัฒนาหุ่นยนต์ที่แสดงให้เห็นถึงความพยายามและความมุ่งมั่นในการศึกษาและวิจัยของทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้า หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่อาศัยเทคโนโลยีชั้นสูงในการสร้างสรรค์ผลงานโดยความคิดสร้างสรรค์และความยึดมั่นในความคิดที่หุ่นยนต์สามารถอยู่ร่วมกับมนุษย์ได้นั้นเป็นแรงผลักดันให้ทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้าสามารถสร้างหุ่นยนต์อาซิโมให้มีความเป็นอยู่ร่วมกับมนุษย์และอำนวยความสะดวกต่าง ๆแก่สังคม</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">นักวิทยาศาสตร์และทีมวิศวกรผู้สร้างอาซิโมยังได้รับแรงบันดาลใจจากนิยายวิทยาศาสตร์</span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">ทำให้หุ่นยนต์อาซิโมในศตวรรษที่</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">21 <span lang=\"TH\">ที่เกิดจากจินตนาการของไอแซค อสิมอฟ กลายเป็นความจริงสามารถมีสมองและความคิดได้เช่นเดียวกับมนุษย์</span><o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: left; line-height: 12.5pt\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">ทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้าเริ่มต้นทำการศึกษา คิดค้น วิจัยและพัฒนาอาซิโมในปี</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">2524<span class=\"apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">ในการสร้างหุ่นยนต์ที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์สามารถทำงานต่าง ๆ ร่วมกับมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในปี</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">พ.ศ. </span>2529<span class=\"apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">โครงการพัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ของบริษัทฮอนด้าได้ถือกำเนิดขึ้นมีการจัดตั้งศูนย์วิจัยสำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานของการสร้างหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์เพื่อเป็นพื้นฐานการสร้างหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์โดยทดลองสร้างหุ่นยนต์ทดลองในตระกูล </span>E-Series <span lang=\"TH\">จำนวน </span>7<span lang=\"TH\">ตัว คือ</span><o:p></o:p></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin-top: 1.9pt; margin-right: 0cm; margin-left: 36pt; margin-bottom: 0.0001pt; line-height: 12.5pt\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"></span>หุ่นยนต์ทดลอง <span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">E0 E1 E2 E3 E4 E5 <span lang=\"TH\">และ </span>E6<o:p></o:p></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; line-height: 12.5pt\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">หลังจากนั้นได้พัฒนาคิดคิดหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์ในตระกูล</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\">P-Series <span lang=\"TH\">จำนวน </span>3 <span lang=\"TH\">ตัวคือ</span><o:p></o:p></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin-top: 1.9pt; margin-right: 0cm; margin-left: 36pt; margin-bottom: 0.0001pt; line-height: 12.5pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\">หุ่นยนต์ต้นแบบ </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\">P1 P2 <span lang=\"TH\">และ </span>P3 <span lang=\"TH\">จนกระทั่งถึงหุ่นยนต์อาซิโมในปัจจุบัน</span></span><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left\"><u><span style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%\"><o:p><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"> </span></o:p></span></u></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left\"><u><span style=\"color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%\"><o:p></o:p></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 20px; font-family: Tahoma\">ชนิดและประเภทของหุ่นยนต์</span></span></u></p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\" class=\"Apple-style-span\"><u></u></span><br />\n</p><p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left\"><span style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; color: #3366ff\"><o:p> </o:p></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 14px; line-height: 15px; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span style=\"color: #ff6600\" class=\"Apple-style-span\">ประเภทของหุ่นยนต์สามารถแบ่งแยกได้หลากหลายรูปแบบตามลักษณะเฉพาะของการใช้งานได้แก่การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่นอกจากนี้อาจจำแนกตามรูปลักษณ์ภายนอกด้วยก็ได้</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\"><span style=\"color: #ff6600\" class=\"Apple-style-span\"><b style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt; line-height: 115%\"><span lang=\"TH\" style=\"font-weight: normal; font-family: Tahoma, sans-serif\">การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่ได้</span></b><b style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt; line-height: 115%\"><br /></b><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span lang=\"TH\">หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้</span></span><br /><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span lang=\"TH\">หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่สามารถเคลื่อนไหวไปมาแต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ หุ่นยนต์ในประเภทนี้ได้แก่แขนกลของหุ่นยนต์ที่ใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆเช่นงานด้านอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์แขนกลของหุ่นยนต์ที่ใช้งานในด้านการแพทย์เช่นแขนกลที่ใช้ในการผ่าตัด หุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีลักษณะโครงสร้างที่ใหญ่โตเทอะทะและมีน้ำหนักมาก ใช้พลังงานให้สามารถเคลื่อนไหวได้จากแหล่งจ่ายพลังงานภายนอกและจะมีการกำหนดขอบเขตการเคลื่อนไหวของหุ่นยนต์เอาไว้ทำให้หุ่นยนต์สามารถเคลื่อไหวไปมาได้ในเฉพาะที่ที่กำหนดเอาไว้เท่านั้น</span></span><br /><b style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt; line-height: 115%\"><span lang=\"TH\" style=\"font-weight: normal; font-family: Tahoma, sans-serif\">หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้</span></b><b style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt; line-height: 115%\"><br /></b><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span lang=\"TH\">หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายไปมาได้อย่างอิสระหมายความถึงหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนย้ายตัวเองจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่งได้อย่างอิสระ หรือมีการเคลื่อนที่ไปมาในสถานที่ต่าง ๆ เช่นหุ่นยนต์ที่ใช้ในการสำรวจดวงจันทร์ของ องค์กรนาซ่าหุ่นยนต์สำรวจใต้ภิภพหรือหุ่นยนต์ที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าซึ่งหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวได้นี้ถูกออกแบบลักษณะของโครงสร้างให้มีขนาดเล็กและมีระบบเคลื่อนที่ไปมารวมทั้งมีแหล่งจ่ายพลังสำรองภายในร่างกายของตนเองแตกต่างจากหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปมาได้ซึ่งจะต้องมีแหล่งจ่ายพลังอยุ่ภายนอก</span></span><br /><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span lang=\"TH\">แหล่งจ่ายพลังสำรองภายในร่างกายของหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายและสามารถเคลื่อนที่ไปมาได้นั้นโดยปกติแล้วจะถูกออกแบบลักษณะของโครงสร้างให้มีขนาดเล็กรวมทั้งมีปริมาณ น้ำหนักไม่มากเพื่อไม่ให้เป็นอุปกสรรคต่อการปฏิบัติงานของหุ่นยนต์หรืออุปสรรคในการ เคลื่อนที่</span></span><br /><b style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt; line-height: 115%\"><span lang=\"TH\" style=\"font-weight: normal; font-family: Tahoma, sans-serif\">การแบ่งประเภทตามลักษณะรูปร่างภายนอก</span></b><b style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt; line-height: 115%\"><br /></b><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span lang=\"TH\">โดยทั่วไปหุ่นยนต์ยังถูกจำแนกตามลักษณะรูปลักษณ์ภายนอก และมีคำศัพท์เฉพาะเรียกต่างๆกันไปได้แก่</span></span><span class=\"apple-converted-space\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\"> </span><br /><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\">* <span lang=\"TH\">หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (</span>HumanoidRobot) <span lang=\"TH\">เป็นลักษณหุ่นยนต์ที่เหมือนกับมนุษย์</span></span><br /><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\">* <span lang=\"TH\">แอนดรอยด์ (</span>Android) <span lang=\"TH\">เป็นการเรียกหุ่นยนต์คล้ายมนุษย์ที่สามารถแสดงออกเหมือนมนุษย์แม้ว่ารากศัพท์ภาษากรีกของคำนี้หมายถึงเพศชายแต่การใช้ในบริบทภาษาอังกฤษมักไม่ได้มีความหมายเจาะจงว่าเป็นเพศใด</span></span><br /><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\">* <span lang=\"TH\">จีนอยด์ (</span>Gynoid) <span lang=\"TH\">เป็นการเรียกหุ่นยนต์คล้ายมนุษย์เพศหญิง</span></span><br /><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\">* <span lang=\"TH\">แอ็คทรอยด์ (</span>Actriod) <span lang=\"TH\">เป็นหุ่นยนต์ที่เลียนแบบพฤติกรรมมนุษย์ เช่น กระพริบตา หายใจเริ่มพัฒนาโดย มหาวิทยาลัยโอซาก้าและบริษัทโคโคโระ</span></span><br /><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\">* <span lang=\"TH\">ไซบอร์ก (</span>Cyborg) <span lang=\"TH\">เป็นหุ่นยนต์ที่เชื่อมต่อกับสิ่งมีชีวิต หรือ ครื่งคนครึ่งหุ่นเริ่มปรากฏครั้งแรกในเรื่องแต่งปี </span>1960</span><br /><span class=\"apple-style-span\" style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\">* <span lang=\"TH\">นาโนโรบอท (</span>Nanorobot) <span lang=\"TH\">เป็นหุ่นยนต์ขนาดเล็กมาก ขนาดประมาณ </span>0.5-3 <span lang=\"TH\">ไมครอน</span></span></span></p>\n<!--[if !supportLineBreakNewLine]--><!--[if !supportLineBreakNewLine]--><p></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><span style=\"font-size: 10pt; line-height: 115%; font-family: Tahoma, sans-serif\"></span><o:p></o:p></p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\" class=\"Apple-style-span\"> </span></p>\n</div>\n', created = 1717220118, expire = 1717306518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6cf6a832ce00421f07151552b1dd5e09' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:011edf6dee335a0aeadc09f25d06c013' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เนื้อหาอ่านแล้วเข้าใจ เพิ่มรูปหน่อยก็จะดีมากนะ<img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" title=\"Wink\" alt=\"Wink\" border=\"0\" /></p>\n', created = 1717220118, expire = 1717306518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:011edf6dee335a0aeadc09f25d06c013' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6259cd5465c7f4f13fec0fbd74f6fe8d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nน่าจะเพิ่มรูปภาพหน่อยนะ สีแจ่มมาก\n</p>\n<p>\nปล.กัญชพร[Bfc]โฆษณานิดนึง &gt;&lt;    \n</p>\n', created = 1717220118, expire = 1717306518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6259cd5465c7f4f13fec0fbd74f6fe8d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c3aaff9cf2770f5fd7ea004f664bf1c5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ดีเยี่ยม สุดยอดมากครับ เป็นความรู้ที่ดีจริงๆ</p>\n', created = 1717220118, expire = 1717306518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c3aaff9cf2770f5fd7ea004f664bf1c5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2b89dceec1ed8dd6c5e988df3431899e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เนื้อหาดีนะ เเต่น่าจะเพิ่มรูปเข้าไปหน่อยจะได้ดูน่าสนใจยิ่งขึ้น</p>\n', created = 1717220118, expire = 1717306518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2b89dceec1ed8dd6c5e988df3431899e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์ ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์อาชิโม ชนิดและประเภทของหุ่นยนต์

 

ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์ 

 

ในสมัยก่อนหุ่นยนต์เป็นเพียงจินตนาการของมนุษย์ที่มีความต้องการได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ามาช่วยในการผ่อนแรงจากงานที่ทำหรือช่วยในการปฏิบัติงานที่ยากลำบากเกินขอบเขตความสามารถและจากจินตนาการได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้มนุษย์คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์หุ่นยนต์ขึ้นมา จนกลายเป็นหุ่นยนต์หรือ Robot ในปัจจุบัน

คำว่า Robot มาจากคำว่า Robotaในภาษาเช็ก ซึ่งแปลโดยตรงว่า การทำงานเสมือนทาส ถือกำเนิดขึ้นจากละครเวทีเรื่อง "Rassum'sUniversal Robots" ในปี ค.ศ.1920  ซึ่งเป็นบทประพันธ์ของคาเรว ชาเปก (Karel Capek) เนื้อหาของละครเวทีมีความเกี่ยวพันกับจินตนาการของมนุษย์ในการใฝ่หาสิ่งใดมาช่วยในการปฏิบัติงานการประดิษฐ์คิดค้นสร้างหุ่นยนต์จึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อเป็นเสมือนทาสคอยรับใช้มนุษย์การใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ดำเนินต่อไปจนกระทั่งหุ่นยนต์เกิดมีความคิดเช่นเดียวกันมนุษย์การถูกกดขี่ข่มเหงเช่นทาสจากมนุษย์ทำให้หุ่นยนต์เกิดการต่อต้านไม่ยอมเป็นเบี้ยล่างอีกซึ่งละครเวทีเรื่องนี้โด่งดังมากจนทำให้คำว่า Robot เป็นที่รู้จักทั่วโลก

ในปี ค.ศ. 1942 คำว่า robotได้กลายเป็นจุดสนใจของคนทั่วโลกอีกครั้ง เมื่อ ไอแซ็ค อสิมอฟ  นักเขียนนวนิยายแนววิทยาศาสตร์ได้เขียนเรื่องนวนิยายสั้นเรื่องRunaroundซึ่งได้ปรากฏคำว่า robot ในนิยายเรื่องนี้และต่อมาได้นำมารวบรวมไว้ในนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง I-Robot ทำให้นักวิทยาศาสตร์ได้ทำความรู้จักกับคำว่า Robot เป็นครั้งแรกจากนวนิยายเรื่องนี้หุ่นยนต์จึงกลายเป็นจุดสนใจและเป็นแนวคิดและจินตนาการของนักวิทยาศาสตร์ในการคิดค้นและประดิษฐ์หุ่นยนต์ในอนาคต

สมัยโบราณการดูเวลาจะใช้นาฬิกาแดดเป็นเครื่องบ่งชี้เวลาแต่สามารถใช้ได้เพียงแค่เวลากลางวันเท่านั้นนาฬิกาทรายจะใช้บอกเวลาในเวลากลางคืนจึงได้มีการคิดค้นและประดิษฐ์เครื่องจักรกลสำหรับบอกเวลาให้แก่มนุษย์คือ นาฬิกาน้ำ (Clepsydra) โดย Ctesibiuaof Alexandria นักฟิสิกส์ชาวกรีกในปี 250 ก่อนคริสตกาล นาฬิกาน้ำนี้ใช้บอกเวลาแทนมนุษย์ที่แต่เดิมต้องบอกเวลาจากนาฬิกาแดดและนาฬิกาทรายโดยใช้พลังงานจากการไหลของน้ำ เป็นตัวผลักทำให้กลไกของนาฬิกาน้ำทำงานและถือเป็นเครื่องจักรเครื่องแรกที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้สำหรับทำงานแทนมนุษย์และเมื่อมนุษย์ได้รู้จักและเรียนรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าความคิดสร้างสรรค์ในการควบคุมเครื่องจักรโดยไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าก็เริ่มขึ้น Nikola Tesia เป็นบุคลแรกที่สามารถใช้คลื่นวิทยุในการควบคุมหุ่นยนต์เรือขนาดเล็กในกรุงนิวยอร์ก ในปี ค.ศ. 1898 ภายในงานแสดงผลงานทางด้านไฟฟ้า

ปี ค.ศ. 1940 - 1950 หุ่นยนต์ชื่อ Alsiethe Tortoise ได้ถือกำเนิดขึ้นโดย Grey Walter หุ่นยนต์รูปเต่าสร้างจากมอเตอร์ไฟฟ้านำมาประกอบเป็นเครื่องจักร สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยล้อทั้ง3 ต่อมาหุ่นยนต์ชื่อ Shakeyได้ถูกสร้างขึ้นให้สามารถเคลื่อนที่ได้เช่นเดียวกับ Alsie the Tortoise โดย StandfordResearch Institute:SRI แต่มีความสามารถเหนือกว่าคือมีความคิดเป็นของตนเองโดยที่Shakey จะมีสัญญาณเซนเซอร์เป็นเครื่องบอกสัญญาณในการเคลื่อนที่ไปมาซึ่งนอกเหนือจากหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนที่ไปมาด้วยล้อแล้ว ในปี ค.ศ. 1960 หุ่นยนต์ที่ชื่อ GeneralElectric Walking Truck ที่สามารถเดินได้ด้วยขาก็ถือกำเนิดขึ้นมีขนาดโครงสร้างใหญ่โตและหนักถึง 3,000 ปอน์ดสามารถก้าวเดินไปด้านหน้าด้วยขาทั้ง 4 ข้างด้วยความเร็ว 4 ไมล์/ชั่วโมงโดยการใช้คอมพิวเตอร์ในการควบคุมการเคลื่อไหนของขา General Electric WalkTruck ได้รับการพัฒนาโครงสร้างและศักยภาพโดยวิศวกรประจำบริษัทGeneralElectric ชื่อ Ralph Moser

ภายหลังจากที่หุ่นยนต์เริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกหุ่นยนต์เริ่มเข้ามามีบทบาทความสำคัญในด้านต่าง ๆเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตของมนุษย์โรงงานอุตสาหกรรมเริ่มมีความคิดใช้หุ่นยนต์แทนแรงงานมนุษย์เดิมหุ่นยนต์ด้านอุตสาหกรรมตัวแรกที่ชื่อ Unimates ได้ถือกำเนิดขึ้นในปีค.ศ. 1950- 1960 โดย George Devol และJoeEngleberger ซึงต่อมา Joe ได้แยกตัวออกมาจากGeorge โดยเปิดบริษัทสร้างหุ่นยนต์ในชื่อของ Unimation ซึ่งต่อมาผลงานในด้านหุ่นยนต์ของJoe ได้รับสมญานามว่า "บิดาแห่งหุ่นยนต์ด้านอุตสาหกรรม"

 

ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์อาร์ซิโม 

 ทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้าร่วมกันคิดค้นและพัฒนาความท้าทายการทำงานในรูปแบบใหม่ของเทคโนโลยีในปัจจุบันซึ่งหลังจากได้พัฒนาศักยภาพของเครื่องยนต์อเนกประสงค์ รถจักรยานยนต์ และรถยนต์ในรุ่นต่างๆ ซึ่งความท้าทายในรูปแบบใหม่ของทีมวิศวกรบริษัทฮอนด้าคือ การพัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ ให้มีขีดความสามารถในการเดินวิ่ง หรือเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระหุ่นยนต์อาซิโมจึงถือกำเนิดขึ้นและได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดทำการศึกษาและวิจัยโครงสร้างและส่วนประกอบต่าง ๆของหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์อย่างละเอียดเพื่อให้หุ่นยนต์อาซิโมและมนุษย์สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันได้โดยเริ่มทำการศึกษาและพัฒนาหุ่นยนต์ให้สามารถเดินได้ด้วยขาทั้ง 2 ข้างในตระกูล P-Series เรื่อยมาจนกระทั่งมาสิ้นสุดที่อาซิโม

หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ถือเป็นการคิดค้นและพัฒนาหุ่นยนต์ที่แสดงให้เห็นถึงความพยายามและความมุ่งมั่นในการศึกษาและวิจัยของทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้า หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่อาศัยเทคโนโลยีชั้นสูงในการสร้างสรรค์ผลงานโดยความคิดสร้างสรรค์และความยึดมั่นในความคิดที่หุ่นยนต์สามารถอยู่ร่วมกับมนุษย์ได้นั้นเป็นแรงผลักดันให้ทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้าสามารถสร้างหุ่นยนต์อาซิโมให้มีความเป็นอยู่ร่วมกับมนุษย์และอำนวยความสะดวกต่าง ๆแก่สังคม นักวิทยาศาสตร์และทีมวิศวกรผู้สร้างอาซิโมยังได้รับแรงบันดาลใจจากนิยายวิทยาศาสตร์ทำให้หุ่นยนต์อาซิโมในศตวรรษที่21 ที่เกิดจากจินตนาการของไอแซค อสิมอฟ กลายเป็นความจริงสามารถมีสมองและความคิดได้เช่นเดียวกับมนุษย์

ทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้าเริ่มต้นทำการศึกษา คิดค้น วิจัยและพัฒนาอาซิโมในปี พ.ศ. 2524 ในการสร้างหุ่นยนต์ที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์สามารถทำงานต่าง ๆ ร่วมกับมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในปี พ.ศ. 2529 โครงการพัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ของบริษัทฮอนด้าได้ถือกำเนิดขึ้นมีการจัดตั้งศูนย์วิจัยสำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานของการสร้างหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์เพื่อเป็นพื้นฐานการสร้างหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์โดยทดลองสร้างหุ่นยนต์ทดลองในตระกูล E-Series จำนวน 7ตัว คือ

หุ่นยนต์ทดลอง E0 E1 E2 E3 E4 E5 และ E6

หลังจากนั้นได้พัฒนาคิดคิดหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์ในตระกูลP-Series จำนวน 3 ตัวคือ

หุ่นยนต์ต้นแบบ P1 P2 และ P3 จนกระทั่งถึงหุ่นยนต์อาซิโมในปัจจุบัน

 

ชนิดและประเภทของหุ่นยนต์


 ประเภทของหุ่นยนต์สามารถแบ่งแยกได้หลากหลายรูปแบบตามลักษณะเฉพาะของการใช้งานได้แก่การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่นอกจากนี้อาจจำแนกตามรูปลักษณ์ภายนอกด้วยก็ได้

การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่ได้
หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่สามารถเคลื่อนไหวไปมาแต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ หุ่นยนต์ในประเภทนี้ได้แก่แขนกลของหุ่นยนต์ที่ใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆเช่นงานด้านอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์แขนกลของหุ่นยนต์ที่ใช้งานในด้านการแพทย์เช่นแขนกลที่ใช้ในการผ่าตัด หุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีลักษณะโครงสร้างที่ใหญ่โตเทอะทะและมีน้ำหนักมาก ใช้พลังงานให้สามารถเคลื่อนไหวได้จากแหล่งจ่ายพลังงานภายนอกและจะมีการกำหนดขอบเขตการเคลื่อนไหวของหุ่นยนต์เอาไว้ทำให้หุ่นยนต์สามารถเคลื่อไหวไปมาได้ในเฉพาะที่ที่กำหนดเอาไว้เท่านั้น
หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้
หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายไปมาได้อย่างอิสระหมายความถึงหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนย้ายตัวเองจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่งได้อย่างอิสระ หรือมีการเคลื่อนที่ไปมาในสถานที่ต่าง ๆ เช่นหุ่นยนต์ที่ใช้ในการสำรวจดวงจันทร์ของ องค์กรนาซ่าหุ่นยนต์สำรวจใต้ภิภพหรือหุ่นยนต์ที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าซึ่งหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวได้นี้ถูกออกแบบลักษณะของโครงสร้างให้มีขนาดเล็กและมีระบบเคลื่อนที่ไปมารวมทั้งมีแหล่งจ่ายพลังสำรองภายในร่างกายของตนเองแตกต่างจากหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปมาได้ซึ่งจะต้องมีแหล่งจ่ายพลังอยุ่ภายนอก
แหล่งจ่ายพลังสำรองภายในร่างกายของหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายและสามารถเคลื่อนที่ไปมาได้นั้นโดยปกติแล้วจะถูกออกแบบลักษณะของโครงสร้างให้มีขนาดเล็กรวมทั้งมีปริมาณ น้ำหนักไม่มากเพื่อไม่ให้เป็นอุปกสรรคต่อการปฏิบัติงานของหุ่นยนต์หรืออุปสรรคในการ เคลื่อนที่
การแบ่งประเภทตามลักษณะรูปร่างภายนอก
โดยทั่วไปหุ่นยนต์ยังถูกจำแนกตามลักษณะรูปลักษณ์ภายนอก และมีคำศัพท์เฉพาะเรียกต่างๆกันไปได้แก่ 
* หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (HumanoidRobot) เป็นลักษณหุ่นยนต์ที่เหมือนกับมนุษย์
* แอนดรอยด์ (Android) เป็นการเรียกหุ่นยนต์คล้ายมนุษย์ที่สามารถแสดงออกเหมือนมนุษย์แม้ว่ารากศัพท์ภาษากรีกของคำนี้หมายถึงเพศชายแต่การใช้ในบริบทภาษาอังกฤษมักไม่ได้มีความหมายเจาะจงว่าเป็นเพศใด
* จีนอยด์ (Gynoid) เป็นการเรียกหุ่นยนต์คล้ายมนุษย์เพศหญิง
* แอ็คทรอยด์ (Actriod) เป็นหุ่นยนต์ที่เลียนแบบพฤติกรรมมนุษย์ เช่น กระพริบตา หายใจเริ่มพัฒนาโดย มหาวิทยาลัยโอซาก้าและบริษัทโคโคโระ
* ไซบอร์ก (Cyborg) เป็นหุ่นยนต์ที่เชื่อมต่อกับสิ่งมีชีวิต หรือ ครื่งคนครึ่งหุ่นเริ่มปรากฏครั้งแรกในเรื่องแต่งปี 1960
* นาโนโรบอท (Nanorobot) เป็นหุ่นยนต์ขนาดเล็กมาก ขนาดประมาณ 0.5-3 ไมครอน

 

รูปภาพของ swk38671

เนื้อหาอ่านแล้วเข้าใจ เพิ่มรูปหน่อยก็จะดีมากนะWink

รูปภาพของ swk38720

น่าจะเพิ่มรูปภาพหน่อยนะ สีแจ่มมาก

ปล.กัญชพร[Bfc]โฆษณานิดนึง ><    

รูปภาพของ swk38659

ดีเยี่ยม สุดยอดมากครับ เป็นความรู้ที่ดีจริงๆ

รูปภาพของ swk 38656.

เนื้อหาดีนะ เเต่น่าจะเพิ่มรูปเข้าไปหน่อยจะได้ดูน่าสนใจยิ่งขึ้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 630 คน กำลังออนไลน์