• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:081216bf5667671ad4c2ce1a228a6382' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff6600\"> หลอดนีออนมีสารอันตราย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">หลอดนีออนมีสารอันตรายถ้าหลอดแตกอย่าสูดดม<br />\n         รศ.สุชาตา ชินะจิตร ผู้อํ านวยการฝ่ายสวัสดิภาพสาธารณะสํ านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)กล่าวถึงกรณีที่รถบรรทุกกากของเสียจากหลอดฟลูออเรสเซนต์พลิกควํ่ าบนทางด่วนเมื่อคืนวันที่ 18 ก.พ. ว่า สารอันตรายในหลอดนีออน นอกจากแก้วแล้ว ยังประกอบด้วยสารอีก 2 ชนิดคือฟลูออไรด์และปรอทซึ่งเป็นสารที่ทํ าให้เกิดการเรืองแสงเมื่อได้รับพลังงาน ส่วนที่เป็นอันตรายคือปรอท ซึ่งอยู่ในรูปที่เป็นไอ จะเป็นอันตรายหากสูดหรือสัมผัสกับไอของมันสํ าหรับการป้องกันปรอทเปลี่ยนรูปเป็นไอ มี 2 วิธีสําคัญ คือใช้นํ้าเป็นตัวป้องกันการระเบิด ซึ่งนิยมใช้ในขบวนการเก็บรักษา อีกวิธีหนึ่งคือการเปลี่ยนรูปเป็นสารประกอบ ที่ไม่กลายเป็นไอนิยมใช้ผงกํามะถันมาโรยเพื่อเปลี่ยนปรอทให้เป็นสารประกอบซัลไฟด์ การบํ าบัดในกรณีหลังนี้จะใช้ในกรณี ที่เกิดการรั่วไหลหรือในขบวนการกํ าจัดสารปรอท ซึ่งกากที่ผ่านการบํ าบัดเช่นนี้นอกจาก จะเก็บกวาดได้ง่ายเพราะอยู่ในรูปของของแข็งแล้ว อันตรายจากไอระเหยของปรอทก็จะหมดไปอีกด้วย ดังนั้น หากรถบรรทุกคันที่เกิดอุบัติเหตุบรรทุกสารในหลอดนีออนที่ผ่านขบวนการบํ าบัด ด้วยผงกํ ามะถันจนกลายเป็นของแข็งแล้ว ก็น่าจะปลอดภัยจากไอของปรอทได้ด้านการปฐมพยาบาล ถ้าสูดดมสารปรอท เข้าไป ให้ย้ายผู้ป่วยไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ถ้าไม่หายใจให้การช่วยหายใจถ้าหายใจลํ าบากให้ออกซิเจนในกรณีที่สัมผัสกับสารให้ล้างผิวหนังทันทีด้วยสบู่ และนํ้าปริมาณมากและควรขจัดสิ่งปนเปื้อนจากดวงตาทันทีโดยล้างตาด้วยนํ้าปริมาณมากเป็นเวลานาน</span>\n</p>\n', created = 1715710830, expire = 1715797230, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:081216bf5667671ad4c2ce1a228a6382' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลอดนีออนมีสารอันตราย

รูปภาพของ wantida

 หลอดนีออนมีสารอันตราย

หลอดนีออนมีสารอันตรายถ้าหลอดแตกอย่าสูดดม
         รศ.สุชาตา ชินะจิตร ผู้อํ านวยการฝ่ายสวัสดิภาพสาธารณะสํ านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)กล่าวถึงกรณีที่รถบรรทุกกากของเสียจากหลอดฟลูออเรสเซนต์พลิกควํ่ าบนทางด่วนเมื่อคืนวันที่ 18 ก.พ. ว่า สารอันตรายในหลอดนีออน นอกจากแก้วแล้ว ยังประกอบด้วยสารอีก 2 ชนิดคือฟลูออไรด์และปรอทซึ่งเป็นสารที่ทํ าให้เกิดการเรืองแสงเมื่อได้รับพลังงาน ส่วนที่เป็นอันตรายคือปรอท ซึ่งอยู่ในรูปที่เป็นไอ จะเป็นอันตรายหากสูดหรือสัมผัสกับไอของมันสํ าหรับการป้องกันปรอทเปลี่ยนรูปเป็นไอ มี 2 วิธีสําคัญ คือใช้นํ้าเป็นตัวป้องกันการระเบิด ซึ่งนิยมใช้ในขบวนการเก็บรักษา อีกวิธีหนึ่งคือการเปลี่ยนรูปเป็นสารประกอบ ที่ไม่กลายเป็นไอนิยมใช้ผงกํามะถันมาโรยเพื่อเปลี่ยนปรอทให้เป็นสารประกอบซัลไฟด์ การบํ าบัดในกรณีหลังนี้จะใช้ในกรณี ที่เกิดการรั่วไหลหรือในขบวนการกํ าจัดสารปรอท ซึ่งกากที่ผ่านการบํ าบัดเช่นนี้นอกจาก จะเก็บกวาดได้ง่ายเพราะอยู่ในรูปของของแข็งแล้ว อันตรายจากไอระเหยของปรอทก็จะหมดไปอีกด้วย ดังนั้น หากรถบรรทุกคันที่เกิดอุบัติเหตุบรรทุกสารในหลอดนีออนที่ผ่านขบวนการบํ าบัด ด้วยผงกํ ามะถันจนกลายเป็นของแข็งแล้ว ก็น่าจะปลอดภัยจากไอของปรอทได้ด้านการปฐมพยาบาล ถ้าสูดดมสารปรอท เข้าไป ให้ย้ายผู้ป่วยไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ถ้าไม่หายใจให้การช่วยหายใจถ้าหายใจลํ าบากให้ออกซิเจนในกรณีที่สัมผัสกับสารให้ล้างผิวหนังทันทีด้วยสบู่ และนํ้าปริมาณมากและควรขจัดสิ่งปนเปื้อนจากดวงตาทันทีโดยล้างตาด้วยนํ้าปริมาณมากเป็นเวลานาน

สร้างโดย: 
wantida

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 502 คน กำลังออนไลน์