• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2fc5dabd53f593e6136f53f119a6b18e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n      ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 6 ในระบบสุริยะซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากดาวพฤหัสบดี โดยเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างไกลจากโลกมากที่สุดที่สามารถมองเห็นจากโลกได้ด้วยตาเปล่า องค์ประกอบหลักของดาวเสาร์จะเป็นแก๊สและของเหลว ดาวเสาร์มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นสูงกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ กล่าวคือมีเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตร (60,268 กิโลเมตร) มากกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวขั้ว (54,364 กิโลเมตร) เกือบ 10 เปอร์เซนต์ ทั้งนี้เนื่องมากจากดาวเสาร์มีการหมุนโคจรรอบตัวเองที่เร็วมาก (ประมาณ 10.66 ชั่วโมง)\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"338\" width=\"600\" src=\"/files/u75434/planet_saturn_03.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<u><strong>ภาพเปรียบเทียบขนาดของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ</strong><br />\n</u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n      ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงามเมื่อมองผ่านกล้องโทรทรรศน์เนื่องจากจะมองเห็นวงแหวนที่ล้อมรอบดาวเสาร์ โดยวงแหวนของดาวเสาร์นั้นจะประกอบไปด้วยก้อนหินและก้อนน้ำแข็งซึ่งสามารถสะท้อนแสงได้ดี จึงสามารถสังเกตเห็นวงแหวนได้โดยง่าย วงแหวนของดาวเสาร์นี้มีความกว้างวัดจากขอบในสุดถึงขอบนอกสุดถึงประมาณ 65,000 กิโลเมตร แต่มีความหนาโดยเฉลี่ยเพียงประมาณ 500 กิโลเมตร\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"280\" width=\"454\" src=\"/files/u75434/planet_saturn_04.jpg\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<u><strong>วงแหวนของดาวเสาร์</strong><br />\n</u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"280\" width=\"580\" src=\"/files/u75434/planet_saturn_05.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<u> <strong>ดวงจันทร์ไททัน และ โครงสร้างของดวงจันทร์ไททัน</strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"338\" width=\"600\" src=\"/files/u75434/planet_saturn_06.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>วงโคจรของดาวเสาร์</u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n          ดาวเสาร์ใช้เวลา 29.46 ปี(ของโลก) ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยแกนของดาวเสาร์มีความเอียง 26.7 องศา (ซึ่งใกล้เคียงกับโลกที่มีความเอียง 23.5 องศา) เมื่อดาวเสาร์โคจรรอบดวงอาทิตย์จะมีบางช่วงเวลาที่ขั้วเหนือชี้ไปยังดวงอาทิตย์และบางช่วงเวลาที่ขั้วใต้ชี้ไปยังดวงอาทิตย์ (เช่นเดียวกับโลก) ซึ่งจากเหตุการณ์ดังกล่าวเราสามารถสังเกตุเห็นได้จากโลกจากลักษณะของวงแหวนดาวเสาร์ที่ปรากฏ เช่นเมื่อขั้วเหนือหันไปยังดวงอาทิตย์เราจะเห็นวงแหวนจากทางด้านบน เมื่อเวลาผ่านไปเราจะเริ่มสังเกตุเห็นวงแหวนค่อยๆบางลงเรื่อยๆเนื่องจากดาวเสาร์เริ่มหันขั้วเหนือออกจากดวงอาทิตย์ และวงแหวนจะบางลงจนเราอาจสังเกตุไม่เห็นเมื่อดาวเสาร์หันด้านข้างเข้าสู่โลก หลังจากนั้นเมื่อขั้วใต้ของดาวเสาร์เริ่มหันเข้าสู่ดวงอาทิตย์เราจะค่อยๆสังเกตุเห็นวงแหวนหนาขึ้นอีกครั้งจากทางด้านล่างของวงแหวน และเป็นเช่นนี้สลับกันไปเรื่อยๆในแต่ละรอบของการโคจร\n</p>\n<p align=\"center\">\n<u> </u><strong><u><span class=\"style10topic\">โครงสร้างของดาวเสาร์</span><br />\n</u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n         ดาวเสาร์มีมวลมากกว่าโลกเพียง 95 เท่า เมื่อเทียบกับปริมาตรที่มากกว่าโลกถึง 764 เท่า ทั้งนี้เนื่องจากดาวเสาร์ประกอบด้วยธาตุที่มีน้ำหนักเบาเป็นหลักคือ ฮีเลียมและ ไฮโดรเจน ในสถานะแก๊สและสถานะของเหลว ดาวเสาร์จึงมีความหนาแน่นเพียงประมาณ 0.7 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (ซึ่งมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ) นั่นคือถ้ามีมหาสมุทรที่ใหญ่พอ เราก็สามารถที่จะนำดาวเสาร์ไปลอยอยู่บนน้ำได้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"400\" width=\"500\" src=\"/files/u75434/152_0.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<u> <strong>โครงสร้างของดาวเสาร์</strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nดาวเสาร์ไม่ได้มีพื้นผิวที่เห็นได้ชัดเจน (ซึ่งต่างจากโลกที่มีพื้นผิวเป็นหิน) โดยถัดจากชั้นบรรยากาศของดาวเสาร์ที่เป็นแก๊สแล้ว เมื่อลึกลงไปในดาวเสาร์เรื่อยๆโมเลกุลของแก๊สนั้นจะถูกบีบอัดจากแรงดันบรรยากาศจนกลายเป็นของเหลวซึ่งถือว่าเป็นพื้นผิวของดาวเสาร์ ส่วนชั้นในของดาวเสาร์ซึ่งประกอบด้วยฮีเลียมและไฮโดรเจนเหลวที่มีการสูญเสียอิเล็กตรอนทำให้มีลักษณะคล้ายโลหะเหลวเคลื่อนที่อยู่ ทำให้ดาวเสาร์สร้างสนามแม่เหล็กขึ้นได้ โดยสนามแม่เหล็กนี้มีความเข้มข้นมากกว่าโลกกว่า 71 เปอร์เซนต์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>ชั้นบรรยากาศ</u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nบรรยากาศชั้นนอกของดาวเสาร์ประกอบด้วยไฮโดรเจน 96.3 เปอร์เซนต์ และฮีเลียม 3.25 เปอร์เซนต์ นอกจากนั้นจะเป็นแก๊สอื่นๆ เช่น แอมโมเนีย อีเทน และมีเทน บรรยากาศชั้นนอกสุดนั้นมีอุณหภูมิประมาณ -140 องศาเซลเซียส\n</p>\n<p align=\"center\">\nเราเชื่อว่ากลุ่มของหมอกบนดาวเสาร์แบ่งออกเป็น 3 ชั้น โดยชั้นในสุดประกอบด้วยน้ำแข็งหนาประมาณ 10 กิโลเมตร ชั้นถัดมาประกอบด้วย แอมโมเนียมไฮโดรซัลไฟด์ (ammonium hydrosulfide) หนาประมาณ 50 กิโลเมตร ส่วนชั้นบนสุดเป็นกลุ่มหมอกของแอมโมเนียแข็ง (ammonia ice) ดาวเสาร์จัดว่าเป็นดาวเคราะห์ที่มีลมพายุพัดแรงที่สุดในระบบสุริยะ โดยยานสำรวจวอยเอเจอร์สามารถวัดความเร็วของพายุได้ถึง 1,800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/133365\"><img height=\"100\" width=\"200\" src=\"/files/u75434/25.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n \n</p>\n', created = 1718590458, expire = 1718676858, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2fc5dabd53f593e6136f53f119a6b18e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวเสาร์

      ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 6 ในระบบสุริยะซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากดาวพฤหัสบดี โดยเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างไกลจากโลกมากที่สุดที่สามารถมองเห็นจากโลกได้ด้วยตาเปล่า องค์ประกอบหลักของดาวเสาร์จะเป็นแก๊สและของเหลว ดาวเสาร์มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นสูงกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ กล่าวคือมีเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตร (60,268 กิโลเมตร) มากกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวขั้ว (54,364 กิโลเมตร) เกือบ 10 เปอร์เซนต์ ทั้งนี้เนื่องมากจากดาวเสาร์มีการหมุนโคจรรอบตัวเองที่เร็วมาก (ประมาณ 10.66 ชั่วโมง)

 

ภาพเปรียบเทียบขนาดของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

      ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงามเมื่อมองผ่านกล้องโทรทรรศน์เนื่องจากจะมองเห็นวงแหวนที่ล้อมรอบดาวเสาร์ โดยวงแหวนของดาวเสาร์นั้นจะประกอบไปด้วยก้อนหินและก้อนน้ำแข็งซึ่งสามารถสะท้อนแสงได้ดี จึงสามารถสังเกตเห็นวงแหวนได้โดยง่าย วงแหวนของดาวเสาร์นี้มีความกว้างวัดจากขอบในสุดถึงขอบนอกสุดถึงประมาณ 65,000 กิโลเมตร แต่มีความหนาโดยเฉลี่ยเพียงประมาณ 500 กิโลเมตร

 

 

วงแหวนของดาวเสาร์

 

 ดวงจันทร์ไททัน และ โครงสร้างของดวงจันทร์ไททัน

วงโคจรของดาวเสาร์

          ดาวเสาร์ใช้เวลา 29.46 ปี(ของโลก) ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยแกนของดาวเสาร์มีความเอียง 26.7 องศา (ซึ่งใกล้เคียงกับโลกที่มีความเอียง 23.5 องศา) เมื่อดาวเสาร์โคจรรอบดวงอาทิตย์จะมีบางช่วงเวลาที่ขั้วเหนือชี้ไปยังดวงอาทิตย์และบางช่วงเวลาที่ขั้วใต้ชี้ไปยังดวงอาทิตย์ (เช่นเดียวกับโลก) ซึ่งจากเหตุการณ์ดังกล่าวเราสามารถสังเกตุเห็นได้จากโลกจากลักษณะของวงแหวนดาวเสาร์ที่ปรากฏ เช่นเมื่อขั้วเหนือหันไปยังดวงอาทิตย์เราจะเห็นวงแหวนจากทางด้านบน เมื่อเวลาผ่านไปเราจะเริ่มสังเกตุเห็นวงแหวนค่อยๆบางลงเรื่อยๆเนื่องจากดาวเสาร์เริ่มหันขั้วเหนือออกจากดวงอาทิตย์ และวงแหวนจะบางลงจนเราอาจสังเกตุไม่เห็นเมื่อดาวเสาร์หันด้านข้างเข้าสู่โลก หลังจากนั้นเมื่อขั้วใต้ของดาวเสาร์เริ่มหันเข้าสู่ดวงอาทิตย์เราจะค่อยๆสังเกตุเห็นวงแหวนหนาขึ้นอีกครั้งจากทางด้านล่างของวงแหวน และเป็นเช่นนี้สลับกันไปเรื่อยๆในแต่ละรอบของการโคจร

 โครงสร้างของดาวเสาร์

         ดาวเสาร์มีมวลมากกว่าโลกเพียง 95 เท่า เมื่อเทียบกับปริมาตรที่มากกว่าโลกถึง 764 เท่า ทั้งนี้เนื่องจากดาวเสาร์ประกอบด้วยธาตุที่มีน้ำหนักเบาเป็นหลักคือ ฮีเลียมและ ไฮโดรเจน ในสถานะแก๊สและสถานะของเหลว ดาวเสาร์จึงมีความหนาแน่นเพียงประมาณ 0.7 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (ซึ่งมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ) นั่นคือถ้ามีมหาสมุทรที่ใหญ่พอ เราก็สามารถที่จะนำดาวเสาร์ไปลอยอยู่บนน้ำได้

 โครงสร้างของดาวเสาร์


ดาวเสาร์ไม่ได้มีพื้นผิวที่เห็นได้ชัดเจน (ซึ่งต่างจากโลกที่มีพื้นผิวเป็นหิน) โดยถัดจากชั้นบรรยากาศของดาวเสาร์ที่เป็นแก๊สแล้ว เมื่อลึกลงไปในดาวเสาร์เรื่อยๆโมเลกุลของแก๊สนั้นจะถูกบีบอัดจากแรงดันบรรยากาศจนกลายเป็นของเหลวซึ่งถือว่าเป็นพื้นผิวของดาวเสาร์ ส่วนชั้นในของดาวเสาร์ซึ่งประกอบด้วยฮีเลียมและไฮโดรเจนเหลวที่มีการสูญเสียอิเล็กตรอนทำให้มีลักษณะคล้ายโลหะเหลวเคลื่อนที่อยู่ ทำให้ดาวเสาร์สร้างสนามแม่เหล็กขึ้นได้ โดยสนามแม่เหล็กนี้มีความเข้มข้นมากกว่าโลกกว่า 71 เปอร์เซนต์

ชั้นบรรยากาศ

บรรยากาศชั้นนอกของดาวเสาร์ประกอบด้วยไฮโดรเจน 96.3 เปอร์เซนต์ และฮีเลียม 3.25 เปอร์เซนต์ นอกจากนั้นจะเป็นแก๊สอื่นๆ เช่น แอมโมเนีย อีเทน และมีเทน บรรยากาศชั้นนอกสุดนั้นมีอุณหภูมิประมาณ -140 องศาเซลเซียส

เราเชื่อว่ากลุ่มของหมอกบนดาวเสาร์แบ่งออกเป็น 3 ชั้น โดยชั้นในสุดประกอบด้วยน้ำแข็งหนาประมาณ 10 กิโลเมตร ชั้นถัดมาประกอบด้วย แอมโมเนียมไฮโดรซัลไฟด์ (ammonium hydrosulfide) หนาประมาณ 50 กิโลเมตร ส่วนชั้นบนสุดเป็นกลุ่มหมอกของแอมโมเนียแข็ง (ammonia ice) ดาวเสาร์จัดว่าเป็นดาวเคราะห์ที่มีลมพายุพัดแรงที่สุดในระบบสุริยะ โดยยานสำรวจวอยเอเจอร์สามารถวัดความเร็วของพายุได้ถึง 1,800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 823 คน กำลังออนไลน์