• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3f41fbd953a3f80eacb34d58fa2f02a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ในลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ และเป็นดาวเคราะห์ลำดับสุดท้ายของดาวเคราะห์หิน* บางครั้งเรามักเรียกดาวอังคารว่า &quot;ดาวแดง&quot; (Red Planet) เนื่องจากดาวอังคารปรากฏเป็นสีแดงคล้ายสีโลหิต พื้นผิวของดาวอังคารจะมีความแตกต่างระหว่างหุบเหวที่ลึกมากและภูเขาไฟที่สูงมากที่สุดเมื่อเทียบกับดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะ พื้นผิวของดาวอังคารในปัจจุบันมีความแห้งแล้งแต่ก็มีหลักฐานที่เชื่อได้ว่าดาวอังคารเคยมีน้ำมาก่อน\n</p>\n<p>\n* ดาวเคราะห์ที่มีพื้นผิวชัดเจน (terrestrial planet) หรือ ดาวเคราะห์หิน (rocky planet) ในระบบสุริยะประกอบด้วยดาวเคราะห์ 4 ดวงคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และ ดาวอังคาร\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"160\" width=\"490\" src=\"/files/u75434/planet_mars_03.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b>ภาพเปรียบเทียบขนาดของดาวเคราะห์หินทั้งสี่ คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และ ดาวอังคาร ตามลำดับ(จากซ้ายไปขวา)</b>\n</p>\n<p align=\"center\">\nดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทร์ขนาดเล็ก 2 ดวง คือ โฟบอส (Phobos) และดีมอส (Deimos) โดยทั้งสองดวงมีรูปร่างบิดเบี้ยวไม่เป็นรูปกลม ซึ่งคาดกันว่าอาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่หลงเข้ามาแล้วดาวอังคารคว้าดึงเอาไว้ให้อยู่ในเขตแรงดึงดูดของตน\n</p>\n<p align=\"center\">\n  <img height=\"280\" width=\"450\" src=\"/files/u75434/planet_mars_04.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b>โฟบอส (ซ้าย) และ ดีมอส (ขวา)</b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"120\" width=\"160\" src=\"/files/u75434/planet_mars_05.gif\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<b>วงโคจรของโฟบอสและดีมอสรอบดาวอังคาร</b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"238\" width=\"500\" src=\"/files/u75434/planet_mars_06.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b>วงโคจรของดาวอังคาร</b></p>\n<p>วงโคจรของดาวอังคารเป็นวงโคจรที่เป็นวงรีมีจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด(perihelion) ห่างจากดวงอาทิตย์ 207 ล้านกิโลเมตร และจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด(aphelion) 249 ล้านกิโลเมตร จึงทำให้อุณหภูมิในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาวมีความแตกต่างกันมาก แกนของดาวอังคารมีความเอียงเช่นเดียวกันกับโลกโดยมีความเอียงประมาณ 25.19 องศา ทำให้ช่วงเวลาหนึ่งแกนขั้วโลกเหนือของดาวอังคารชี้ไปยังดวงอาทิตย์ และอีกช่วงเวลาหนึ่งแกนขั้วโลกใต้ชี้ไปยังดวงอาทิตย์ บนดาวอังคารจึงมีฤดูกาลเช่นเดียวกันกับบนโลกแต่ว่าในแต่ละฤดูกาลจะมีความยาวนานกว่าเนื่องจากเวลาที่ใช้ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์มีความยาวนานกว่าโลกนั่นเอง\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"327\" width=\"400\" src=\"/files/u75434/planet_mars_07.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span class=\"style10topic\">โครงสร้างของดาวอังคาร</span><br />\n</b>ดาวอังคารมีขนาด(รัศมี)ประมาณครึ่งหนึ่งของโลกและมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าโลกซึ่งหมายความว่าดาวอังคารน่าจะเย็นตัวเร็วกว่าโลก แกนกลางที่เป็นโลหะของดาวอังคารจึงน่าที่จะเป็นของแข็ง แต่เนื่องด้วยความหนาแน่นของดาวอังคารค่อนข้างต่ำเมื่อเมื่อกับดาวเคราะห์หินอื่นๆจึงเชื่อได้ว่าแกนของดาวอังคารน่าจะมีส่วนผสมของซัลเฟอร์(sulphur) อยู่ในรูปของไอออนซัลไฟด์ (iron sulphide)\n</p>\n<p align=\"center\">\nรอบๆแกนของดาวอังคารจะเป็นชั้นแมนเทิลที่มีความหนามากเมื่อเทียบกับแกน โดยประกอบด้วยหินซิลิเกตเป็นหลัก ส่วนเปลือกที่เป็นหินชั้นนอกสุดของดาวอังคารจะมีความหนาประมาณ 80 กิโลเมตรในซีกโลกใต้ แต่จะมีความหนาเพียง 35 กิโลเมตรในซีกโลกเหนือ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span class=\"style10topic\">ชั้นบรรยากาศ</span><br />\n</b>ชั้นบรรยากาศของดาวอังคารค่อนข้างเบาบางมากคือมีความดันบรรยากาศเฉลี่ยที่พื้นผิวเพียง 0.6 เปอร์เซนต์เมื่อเทียบกับโลก ชั้นบรรยากาศจะประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นหลักประมาณ 95.3 เปอร์เซนต์ มีแก๊สไนโตรเจนและอาร์กอน ประมาณ 2.7 และ 1.6 เปอร์เซนต์ตามลำดับ นอกนั้นจะเป็นแก๊สอื่นๆ</p>\n<p>การที่เราเห็นดาวอังคารมีสีแดง (ความจริงจะเห็นเป็นสีค่อนไปทางส้มอมชมพู) เนื่องจากมีฝุ่นของไอออนออกไซด์ (iron oxide) หรือที่เรารู้จักกันว่าเป็น สนิมเหล็ก อากาศบนดาวอังคารจะมีความแปรปรวนสูงมาก โดยในช่วงฤดูร้อนของซีกโลกใต้ ลมจะพัดจากซีกโลกใต้ที่ร้อนกว่าไปยังซีกโลกเหนือ ซึ่งจะพัดพาเอาฝุ่นละอองต่างๆขึ้นไปสูงได้ถึง 1 กิโลเมตร ซึ่งพายุฝุ่นที่เกิดขึ้นนี้จะปกคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของดาวอังคารเลยทีเดียว และพายุฝุ่นนี่เองที่พัดมานานหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวของดาวอังคารมีลักษณะเป็นแนวสันของหิน (yardangs or rock ridges) อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"400\" width=\"275\" src=\"/files/u75434/planet_mars_08.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b>ภาพแสดงแนวสันของหินที่เกิดขึ้นบนดาวอังคารเนื่องจากการพัดของลมพายุ</b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/133365\"><img height=\"100\" width=\"200\" src=\"/files/u75434/25.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719386471, expire = 1719472871, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3f41fbd953a3f80eacb34d58fa2f02a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวอังคาร

ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ในลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ และเป็นดาวเคราะห์ลำดับสุดท้ายของดาวเคราะห์หิน* บางครั้งเรามักเรียกดาวอังคารว่า "ดาวแดง" (Red Planet) เนื่องจากดาวอังคารปรากฏเป็นสีแดงคล้ายสีโลหิต พื้นผิวของดาวอังคารจะมีความแตกต่างระหว่างหุบเหวที่ลึกมากและภูเขาไฟที่สูงมากที่สุดเมื่อเทียบกับดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะ พื้นผิวของดาวอังคารในปัจจุบันมีความแห้งแล้งแต่ก็มีหลักฐานที่เชื่อได้ว่าดาวอังคารเคยมีน้ำมาก่อน

* ดาวเคราะห์ที่มีพื้นผิวชัดเจน (terrestrial planet) หรือ ดาวเคราะห์หิน (rocky planet) ในระบบสุริยะประกอบด้วยดาวเคราะห์ 4 ดวงคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และ ดาวอังคาร

 

ภาพเปรียบเทียบขนาดของดาวเคราะห์หินทั้งสี่ คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และ ดาวอังคาร ตามลำดับ(จากซ้ายไปขวา)

ดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทร์ขนาดเล็ก 2 ดวง คือ โฟบอส (Phobos) และดีมอส (Deimos) โดยทั้งสองดวงมีรูปร่างบิดเบี้ยวไม่เป็นรูปกลม ซึ่งคาดกันว่าอาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่หลงเข้ามาแล้วดาวอังคารคว้าดึงเอาไว้ให้อยู่ในเขตแรงดึงดูดของตน

  

โฟบอส (ซ้าย) และ ดีมอส (ขวา)

 

วงโคจรของโฟบอสและดีมอสรอบดาวอังคาร

วงโคจรของดาวอังคาร

วงโคจรของดาวอังคารเป็นวงโคจรที่เป็นวงรีมีจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด(perihelion) ห่างจากดวงอาทิตย์ 207 ล้านกิโลเมตร และจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด(aphelion) 249 ล้านกิโลเมตร จึงทำให้อุณหภูมิในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาวมีความแตกต่างกันมาก แกนของดาวอังคารมีความเอียงเช่นเดียวกันกับโลกโดยมีความเอียงประมาณ 25.19 องศา ทำให้ช่วงเวลาหนึ่งแกนขั้วโลกเหนือของดาวอังคารชี้ไปยังดวงอาทิตย์ และอีกช่วงเวลาหนึ่งแกนขั้วโลกใต้ชี้ไปยังดวงอาทิตย์ บนดาวอังคารจึงมีฤดูกาลเช่นเดียวกันกับบนโลกแต่ว่าในแต่ละฤดูกาลจะมีความยาวนานกว่าเนื่องจากเวลาที่ใช้ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์มีความยาวนานกว่าโลกนั่นเอง

 

โครงสร้างของดาวอังคาร
ดาวอังคารมีขนาด(รัศมี)ประมาณครึ่งหนึ่งของโลกและมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าโลกซึ่งหมายความว่าดาวอังคารน่าจะเย็นตัวเร็วกว่าโลก แกนกลางที่เป็นโลหะของดาวอังคารจึงน่าที่จะเป็นของแข็ง แต่เนื่องด้วยความหนาแน่นของดาวอังคารค่อนข้างต่ำเมื่อเมื่อกับดาวเคราะห์หินอื่นๆจึงเชื่อได้ว่าแกนของดาวอังคารน่าจะมีส่วนผสมของซัลเฟอร์(sulphur) อยู่ในรูปของไอออนซัลไฟด์ (iron sulphide)

รอบๆแกนของดาวอังคารจะเป็นชั้นแมนเทิลที่มีความหนามากเมื่อเทียบกับแกน โดยประกอบด้วยหินซิลิเกตเป็นหลัก ส่วนเปลือกที่เป็นหินชั้นนอกสุดของดาวอังคารจะมีความหนาประมาณ 80 กิโลเมตรในซีกโลกใต้ แต่จะมีความหนาเพียง 35 กิโลเมตรในซีกโลกเหนือ

ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศของดาวอังคารค่อนข้างเบาบางมากคือมีความดันบรรยากาศเฉลี่ยที่พื้นผิวเพียง 0.6 เปอร์เซนต์เมื่อเทียบกับโลก ชั้นบรรยากาศจะประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นหลักประมาณ 95.3 เปอร์เซนต์ มีแก๊สไนโตรเจนและอาร์กอน ประมาณ 2.7 และ 1.6 เปอร์เซนต์ตามลำดับ นอกนั้นจะเป็นแก๊สอื่นๆ

การที่เราเห็นดาวอังคารมีสีแดง (ความจริงจะเห็นเป็นสีค่อนไปทางส้มอมชมพู) เนื่องจากมีฝุ่นของไอออนออกไซด์ (iron oxide) หรือที่เรารู้จักกันว่าเป็น สนิมเหล็ก อากาศบนดาวอังคารจะมีความแปรปรวนสูงมาก โดยในช่วงฤดูร้อนของซีกโลกใต้ ลมจะพัดจากซีกโลกใต้ที่ร้อนกว่าไปยังซีกโลกเหนือ ซึ่งจะพัดพาเอาฝุ่นละอองต่างๆขึ้นไปสูงได้ถึง 1 กิโลเมตร ซึ่งพายุฝุ่นที่เกิดขึ้นนี้จะปกคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของดาวอังคารเลยทีเดียว และพายุฝุ่นนี่เองที่พัดมานานหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวของดาวอังคารมีลักษณะเป็นแนวสันของหิน (yardangs or rock ridges) อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

 

ภาพแสดงแนวสันของหินที่เกิดขึ้นบนดาวอังคารเนื่องจากการพัดของลมพายุ

 

 

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 447 คน กำลังออนไลน์