• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8057a5e98cb7a1512369ed629cb1a853' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n          โลกที่อยู่อาศัยของมนุษย์เรานั้นเป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 3 ในระบบสุริยะ โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์หินทั้งสี่ในระบบสุริยะ(ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และ ดาวอังคาร) โลกนั้นถือกำเนิดเมื่อ 4.54 พันล้านปีมาแล้ว โดยในปัจจุบันโลกถือว่าเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เนื่องจากโลกมีชั้นบรรยากาศที่มีออกซิเจนและมีน้ำที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิต อีกทั้งยังมีสนามแม่เหล็กโลกที่ป้องกันการแผ่รังสีต่างๆที่เป็นอันตรายจากอวกาศอีกด้วย\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"245\" width=\"600\" src=\"/files/u75434/planet_earth_03.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nโนอกจากโลกของเราที่โคจรรอบดวงอาทิตย์แล้วโลกยังมีดวงจันทร์ที่โคจรรอบโลกอยู่ด้วย โดยระนาบการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ทำมุมประมาณ 5 องศากับระนาบการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งสมมุติว่าระนาบทั้งสองเป็นระนาบเดียวกันแล้วจะทำให้เกิดอุปราคาขึ้นทุก 2 สัปดาห์ สลับกันระหว่างสุริยุปราคาและจันทรุปราคา นอกจากนี้ดวงจันทร์ยังมีคาบเวลาการโคจรรอบโลก 27.32 วัน เท่ากันกับคาบเวลาในการโคจรรอบตัวเองของดวงจันทร์ทำให้เรามองเห็นดวงจันทร์จากโลกเพียงด้านเดียวของดวงจันทร์อยู่เสมอ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><br />\n</strong> <img height=\"300\" width=\"600\" src=\"/files/u75434/planet_earth_04.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>วงโคจรของโลก</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากเหนือขั้วโลกเหนือของโลกและดวงอาทิตย์ มีลักษณะการโคจรเป็นรูปวงรีใช้เวลาในการโคจร 1 รอบ 365.2564 วัน โดยมีระยะใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด 147.1 ล้านกิโลเมตร และระยะไกลดวงอาทิตย์มากที่สุด 152.1 ล้านกิโลเมตร โดยแกนหมุนของโลก(ขั้วเหนือ-ใต้)ทำมุมเอียงกับระนาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ (ecliptic plane) 23.5 องศา การที่แกนโลกมีความเอียงนี่เองทำให้แต่ละพื้นที่บนโลกได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากันในแต่ละวันใน 1 ปี จึงทำให้เกิดฤดูกาลขึ้นบนโลกนั่นเอง ในฤดูร้อนของซีกโลกเหนือ ขั้วโลกเหนือจะหันเข้าหาดวงอาทิตย์ และเมื่อขั้วโลกเหนือหันออกจากดวงอาทิตย์ก็จะเกิดฤดูหนาวขึ้นที่ซีกโลกเหนือ\n</p>\n<p align=\"left\">\nการแบ่งว่าเกิดฤดูกาลใดบนโลกนี้สามารถแบ่งได้โดยใช้วันโซลสทิส (solstices) และวันอิควิน็อก (equinox) โดยวันโซลสทิสฤดูร้อน (summer solstice) เกิดขึ้นวันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ขั้วโลกเหนือหันเข้าหาดวงอาทิตย์มากที่สุด วันโซลสทิสฤดูหนาว (winter solstice) เกิดขึ้นวันที่ 21 ธันวาคมเป็นวันที่ขั้วโลกเหนือหันออกจากดวงอาทิตย์มากที่สุด วันอิควิน็อกฤดูใบไม้ผลิ (spring equinox) และวันอิควิน็อกฤดูใบไม้ร่วง (autumnal equinox) เกิดขึ้นในวันที่ 20 มีนาคม และ 23 กันยายน ตามลำดับเป็นวันที่แกนของโลกตั้งฉากกับเส้นตรงที่ลากจากโลกไปยังดวงอาทิตย์ โดยวันทั้งสี่ก็จะเป็นช่วงของวันที่เกิดฤดูกาลต่างๆตามชื่อของวันนั่นเอง\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"366\" width=\"450\" src=\"/files/u75434/planet_earth_05.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>โครงสร้างของโลก</strong>\n</p>\n<p>\nพื้นผิวส่วนใหญ่ของโลกถึง 71 เปอร์เซนต์ปกคลุมไปด้วยน้ำ ส่วนพื้นผิวที่เหนือก็จะเป็นพื้นที่ที่เป็นทวีปและเกาะต่างๆ โดยในส่วนของเปลือกโลกนี้จะมีความหนาต่างกันออกไปเช่นเปลือกโลกส่วนที่อยู่ใต้มหาสมุทรอาจมีความหนาประมาณ 6 กิโลเมตร ส่วนเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีปอาจมีความหนาถึง 30 – 50 กิโลเมตร เปลือกโลกนี้จะไปกอบไปด้วยหินและแร่ธาตุมากมากหลากหลายชนิด\n</p>\n<p>\nถัดจากเปลือกโลกลงไปจะเป็นชั้นของแมนเทิลที่เป็นของแข็งประกอบไปด้วยเหล็กและแมกนีเซียมเป็นหลักโดยมีความหนาประมาณ 2800 กิโลเมตร ถัดลงไปจะเป็นส่วนของแกนโลกซึ่งแบ่งออกเป็นสองชั้นด้วยกันคือ แกนโลกชั้นนอก (outer core) และ แกนโลกชั้นใน (inner core) โดยแกนโลกชั้นนอกจะอยู่ห่างจากผิวโลกลงไปประมาณ 2900-5000 กิโลเมตรประกอบไปด้วยเหล็กและนิกเกิลในสถานะของเหลวมีอุณหภูมิประมาณ 6200 – 6400 องศาเซลเซียส ส่วนแกนโลกชั้นในมีรัศมีประมาณ 1000 กิโลเมตรชั้นนี้ก็จะประกอบไปด้วยเหล็กและนิกเกิลเช่นเดียวกับแกนโลกชั้นนอกแต่อยู่ในสถานะของแข็งมีอุณหภูมิประมาณ 4300-6200 องศาเซสเซียส\n</p>\n<p>\nชั้นบรรยากาศ<br />\nโลกห่อหุ้มไปด้วยชั้นบรรยากาศที่มีความหนาหลายร้อยกิโลเมตร โดยประกอบไปด้วยแก๊สไนโตรเจน 78.1 เปอร์เซนต์ แก๊สออกซิเจน 20.9 เปอร์เซนต์ อาร์กอน 0.9 เปอร์เซนต์ ที่เหลือเป็นแก๊สอื่นๆ นอกจากนี้ยังปรากฏไอน้ำในชั้นบรรยากาศอีกด้วย ชั้นบรรยากาศของโลกนี้จะมีความหนาแน่นที่บริเวณผิวโลกมากกว่าบริเวณที่สูงขึ้นไปอันเนื่องมาจากแรงโน้มถ่วงของโลก เช่นที่ความสูง 30 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเลความดันบรรยากาศจะมีค่าเพียง 1 เปอร์เซนต์ของความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเล\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"365\" width=\"500\" src=\"/files/u75434/planet_earth_06.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ชั้นบรรยากาศของโลกชั้นบรรยากาศของโลกแบ่งได้เป็น 5 ชั้นดังนี้</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>โทรโพสเฟียร์</strong> (Troposphere) เป็นชั้นบรรยากาศล่างสุดตั้งแต่ผิวโลกไปถึงความสูง 8 กิโลเมตรบริเวณขั้วโลกหรือ ความสูง 15 กิโลเมตรบริเวณเส้นศูนย์สูตร ชั้นบรรยากาศนี้จะมีมวลของอากาศถึง 75 เปอร์เซนต์โดยมวลของมวลอากาศทั้งหมดที่ห่อหุ้มโลกไว้ อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้บริเวณขั้วโลกจะมีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณเส้นศูนย์สูตรเนื่องจากผิวโลกบริเวณต่างๆ ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่ต่างกันทำให้เกิดสภาวะอากาศต่างๆขึ้น เกิดลมพัดจากบริเวณที่อุณหภูมิแตกต่างกันไปทั่วพื้นผิวโลก และลมดังกล่าวก็ทำให้เกิดการไหลขแงกระแสน้ำด้วย บริเวณบนสุดของชั้นโทรโพสเฟียร์นี้อาจมีอุณหภูมิลดลงถึงประมาณ -52 องศาเซลเซียส\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>สตราโตสเฟียร์</strong> (Stratosphere) เป็นบริเวณถัดจากชั้นโทรโพสเฟียร์ไปจนถึงความสูง 50 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล บริเวณบนสุดของชั้นสตราโตสเฟียร์นี้อาจมีอุณหภูมิประมาณ -3 องศาเซลเซียส\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>เมสโซสเฟียร์</strong> (Mesosphere) เป็นบริเวณถัดจากชั้นสตราโตสเฟียร์ไปจนถึงความสูง 80-85 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล บริเวณที่เชื่อมต่อระหว่างชั้นเมสโซสเฟียร์และชั้นเทอร์โมสเฟียร์นี้(บริเวณบนสุดของชั้นเมสโซสเฟียร์) จัดว่าเป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำสุดบนโลกคือประมาณ -100 องศาเซลเซียส ชั้นเมสโซสเฟียร์นี้เป็นชั้นที่ฝนดาวตก (meteors) ส่วนใหญ่เผาไหม้หมดเมื่อเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong>อุณหภูมิและความดันที่บรรยากาศชั้นต่างๆ</strong>\n</div>\n<p>\n<strong>เทอร์โมสเฟียร์</strong> (Thermosphere) เป็นบริเวณถัดจากชั้นเมสโซสเฟียร์ไปจนถึงความสูงประมาณ 600 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล บริเวณบนสุดของชั้นเทอร์โมสเฟียร์นี้อาจมีอุณหภูมิสูงถึง 1700 องศาเซลเซียสชั้นนี้เป็นชั้นสถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) โคจรรอบโลกอยู่ที่ความสูง 320 – 380 กิโลเมตร\n</p>\n<p>\n<strong>เอ็กโซสเฟียร์</strong> (Exosphere) เป็นบรรยากาศชั้นนอกสุดของโลกเป็นรอยต่อระหว่างชั้นบรรยากาศของโลกและอวกาศซึ่งมีขอบเขตแบ่งระหว่างชั้นบรรยากาศและอวกาศที่ไม่ชัดเจน บรรยากาศชั้นนี้ประกอบไปด้วยแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นหลัก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n <img height=\"440\" width=\"500\" src=\"/files/u75434/planet_earth_07.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/133365\"><img height=\"100\" width=\"200\" src=\"/files/u75434/25.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n  \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719386645, expire = 1719473045, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8057a5e98cb7a1512369ed629cb1a853' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลก

          โลกที่อยู่อาศัยของมนุษย์เรานั้นเป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 3 ในระบบสุริยะ โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์หินทั้งสี่ในระบบสุริยะ(ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และ ดาวอังคาร) โลกนั้นถือกำเนิดเมื่อ 4.54 พันล้านปีมาแล้ว โดยในปัจจุบันโลกถือว่าเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เนื่องจากโลกมีชั้นบรรยากาศที่มีออกซิเจนและมีน้ำที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิต อีกทั้งยังมีสนามแม่เหล็กโลกที่ป้องกันการแผ่รังสีต่างๆที่เป็นอันตรายจากอวกาศอีกด้วย

 

การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก

โนอกจากโลกของเราที่โคจรรอบดวงอาทิตย์แล้วโลกยังมีดวงจันทร์ที่โคจรรอบโลกอยู่ด้วย โดยระนาบการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ทำมุมประมาณ 5 องศากับระนาบการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งสมมุติว่าระนาบทั้งสองเป็นระนาบเดียวกันแล้วจะทำให้เกิดอุปราคาขึ้นทุก 2 สัปดาห์ สลับกันระหว่างสุริยุปราคาและจันทรุปราคา นอกจากนี้ดวงจันทร์ยังมีคาบเวลาการโคจรรอบโลก 27.32 วัน เท่ากันกับคาบเวลาในการโคจรรอบตัวเองของดวงจันทร์ทำให้เรามองเห็นดวงจันทร์จากโลกเพียงด้านเดียวของดวงจันทร์อยู่เสมอ


 

วงโคจรของโลก


โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากเหนือขั้วโลกเหนือของโลกและดวงอาทิตย์ มีลักษณะการโคจรเป็นรูปวงรีใช้เวลาในการโคจร 1 รอบ 365.2564 วัน โดยมีระยะใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด 147.1 ล้านกิโลเมตร และระยะไกลดวงอาทิตย์มากที่สุด 152.1 ล้านกิโลเมตร โดยแกนหมุนของโลก(ขั้วเหนือ-ใต้)ทำมุมเอียงกับระนาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ (ecliptic plane) 23.5 องศา การที่แกนโลกมีความเอียงนี่เองทำให้แต่ละพื้นที่บนโลกได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากันในแต่ละวันใน 1 ปี จึงทำให้เกิดฤดูกาลขึ้นบนโลกนั่นเอง ในฤดูร้อนของซีกโลกเหนือ ขั้วโลกเหนือจะหันเข้าหาดวงอาทิตย์ และเมื่อขั้วโลกเหนือหันออกจากดวงอาทิตย์ก็จะเกิดฤดูหนาวขึ้นที่ซีกโลกเหนือ

การแบ่งว่าเกิดฤดูกาลใดบนโลกนี้สามารถแบ่งได้โดยใช้วันโซลสทิส (solstices) และวันอิควิน็อก (equinox) โดยวันโซลสทิสฤดูร้อน (summer solstice) เกิดขึ้นวันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ขั้วโลกเหนือหันเข้าหาดวงอาทิตย์มากที่สุด วันโซลสทิสฤดูหนาว (winter solstice) เกิดขึ้นวันที่ 21 ธันวาคมเป็นวันที่ขั้วโลกเหนือหันออกจากดวงอาทิตย์มากที่สุด วันอิควิน็อกฤดูใบไม้ผลิ (spring equinox) และวันอิควิน็อกฤดูใบไม้ร่วง (autumnal equinox) เกิดขึ้นในวันที่ 20 มีนาคม และ 23 กันยายน ตามลำดับเป็นวันที่แกนของโลกตั้งฉากกับเส้นตรงที่ลากจากโลกไปยังดวงอาทิตย์ โดยวันทั้งสี่ก็จะเป็นช่วงของวันที่เกิดฤดูกาลต่างๆตามชื่อของวันนั่นเอง

 

โครงสร้างของโลก

พื้นผิวส่วนใหญ่ของโลกถึง 71 เปอร์เซนต์ปกคลุมไปด้วยน้ำ ส่วนพื้นผิวที่เหนือก็จะเป็นพื้นที่ที่เป็นทวีปและเกาะต่างๆ โดยในส่วนของเปลือกโลกนี้จะมีความหนาต่างกันออกไปเช่นเปลือกโลกส่วนที่อยู่ใต้มหาสมุทรอาจมีความหนาประมาณ 6 กิโลเมตร ส่วนเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีปอาจมีความหนาถึง 30 – 50 กิโลเมตร เปลือกโลกนี้จะไปกอบไปด้วยหินและแร่ธาตุมากมากหลากหลายชนิด

ถัดจากเปลือกโลกลงไปจะเป็นชั้นของแมนเทิลที่เป็นของแข็งประกอบไปด้วยเหล็กและแมกนีเซียมเป็นหลักโดยมีความหนาประมาณ 2800 กิโลเมตร ถัดลงไปจะเป็นส่วนของแกนโลกซึ่งแบ่งออกเป็นสองชั้นด้วยกันคือ แกนโลกชั้นนอก (outer core) และ แกนโลกชั้นใน (inner core) โดยแกนโลกชั้นนอกจะอยู่ห่างจากผิวโลกลงไปประมาณ 2900-5000 กิโลเมตรประกอบไปด้วยเหล็กและนิกเกิลในสถานะของเหลวมีอุณหภูมิประมาณ 6200 – 6400 องศาเซลเซียส ส่วนแกนโลกชั้นในมีรัศมีประมาณ 1000 กิโลเมตรชั้นนี้ก็จะประกอบไปด้วยเหล็กและนิกเกิลเช่นเดียวกับแกนโลกชั้นนอกแต่อยู่ในสถานะของแข็งมีอุณหภูมิประมาณ 4300-6200 องศาเซสเซียส

ชั้นบรรยากาศ
โลกห่อหุ้มไปด้วยชั้นบรรยากาศที่มีความหนาหลายร้อยกิโลเมตร โดยประกอบไปด้วยแก๊สไนโตรเจน 78.1 เปอร์เซนต์ แก๊สออกซิเจน 20.9 เปอร์เซนต์ อาร์กอน 0.9 เปอร์เซนต์ ที่เหลือเป็นแก๊สอื่นๆ นอกจากนี้ยังปรากฏไอน้ำในชั้นบรรยากาศอีกด้วย ชั้นบรรยากาศของโลกนี้จะมีความหนาแน่นที่บริเวณผิวโลกมากกว่าบริเวณที่สูงขึ้นไปอันเนื่องมาจากแรงโน้มถ่วงของโลก เช่นที่ความสูง 30 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเลความดันบรรยากาศจะมีค่าเพียง 1 เปอร์เซนต์ของความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเล

 

ชั้นบรรยากาศของโลกชั้นบรรยากาศของโลกแบ่งได้เป็น 5 ชั้นดังนี้

โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) เป็นชั้นบรรยากาศล่างสุดตั้งแต่ผิวโลกไปถึงความสูง 8 กิโลเมตรบริเวณขั้วโลกหรือ ความสูง 15 กิโลเมตรบริเวณเส้นศูนย์สูตร ชั้นบรรยากาศนี้จะมีมวลของอากาศถึง 75 เปอร์เซนต์โดยมวลของมวลอากาศทั้งหมดที่ห่อหุ้มโลกไว้ อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้บริเวณขั้วโลกจะมีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณเส้นศูนย์สูตรเนื่องจากผิวโลกบริเวณต่างๆ ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่ต่างกันทำให้เกิดสภาวะอากาศต่างๆขึ้น เกิดลมพัดจากบริเวณที่อุณหภูมิแตกต่างกันไปทั่วพื้นผิวโลก และลมดังกล่าวก็ทำให้เกิดการไหลขแงกระแสน้ำด้วย บริเวณบนสุดของชั้นโทรโพสเฟียร์นี้อาจมีอุณหภูมิลดลงถึงประมาณ -52 องศาเซลเซียส

สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere) เป็นบริเวณถัดจากชั้นโทรโพสเฟียร์ไปจนถึงความสูง 50 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล บริเวณบนสุดของชั้นสตราโตสเฟียร์นี้อาจมีอุณหภูมิประมาณ -3 องศาเซลเซียส

เมสโซสเฟียร์ (Mesosphere) เป็นบริเวณถัดจากชั้นสตราโตสเฟียร์ไปจนถึงความสูง 80-85 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล บริเวณที่เชื่อมต่อระหว่างชั้นเมสโซสเฟียร์และชั้นเทอร์โมสเฟียร์นี้(บริเวณบนสุดของชั้นเมสโซสเฟียร์) จัดว่าเป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำสุดบนโลกคือประมาณ -100 องศาเซลเซียส ชั้นเมสโซสเฟียร์นี้เป็นชั้นที่ฝนดาวตก (meteors) ส่วนใหญ่เผาไหม้หมดเมื่อเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก

อุณหภูมิและความดันที่บรรยากาศชั้นต่างๆ

เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere) เป็นบริเวณถัดจากชั้นเมสโซสเฟียร์ไปจนถึงความสูงประมาณ 600 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล บริเวณบนสุดของชั้นเทอร์โมสเฟียร์นี้อาจมีอุณหภูมิสูงถึง 1700 องศาเซลเซียสชั้นนี้เป็นชั้นสถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) โคจรรอบโลกอยู่ที่ความสูง 320 – 380 กิโลเมตร

เอ็กโซสเฟียร์ (Exosphere) เป็นบรรยากาศชั้นนอกสุดของโลกเป็นรอยต่อระหว่างชั้นบรรยากาศของโลกและอวกาศซึ่งมีขอบเขตแบ่งระหว่างชั้นบรรยากาศและอวกาศที่ไม่ชัดเจน บรรยากาศชั้นนี้ประกอบไปด้วยแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นหลัก

 


 

  

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 418 คน กำลังออนไลน์