• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d222e786ab01bc96ae8579b9568019ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>140ชื่อพายุรุ่นใหม่ในรายงานศิลปวัฒนธรรม</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.siamrath.co.th/ImagesUpload/D0918ma_1.jpg\" style=\"width: 300px; border-width: 0px\" id=\"NewsCurrentDetail1_imgNews1\" />\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span><span>              ไม่น่าเชื่อว่าเข้าช่วงพฤษภาคม ลมที่เคยพัดให้ชื่นใจ กลายกลับเป็น &quot;วาตภัย&quot;</span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> <span style=\"color: #800080\">ถล่มบ้านเรือนผู้คนให้ได้รับความเสียหาย หนำซ้ำบางแห่งบางที่ยังมีคนล้มตายไปนับหมื่นนับแสนคนเลยทีเดียว</span></span></strong><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">จากที่เราๆ ท่านๆ ได้ยินได้ฟังการรายงานอากาศกัน หลายคนงงเกี่ยวกับคำว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><em><span style=\"color: #800080\">“<span lang=\"TH\">ภูมิอากาศ</span>”</span></em><span lang=\"TH\"> กับ </span><span style=\"color: #800080\"><em>“<span lang=\"TH\">ลมฟ้าอากาศ</span>”</em></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800080\"><em> </em></span>ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร ขอสรุปง่ายๆ กันเสียแต่ต้นก่อนเลยก็แล้วกันว่า คำที่เขาใช้ว่า <span style=\"color: #000080\"><strong>ภูมิอากาศ </strong></span></span><span style=\"color: #000080\"><strong>(Climate)</strong></span> <span lang=\"TH\">นั้นจะหมายถึงสภาพอากาศที่เกิดขึ้นอยู่ประจำในเขตใดเขตหนึ่งของโลก ว่าไปแล้วก็คือเป็นลักษณะเฉพาะที่เป็นอยู่ทั้งปีทั้งชาติของบริเวณนั้นๆ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ซึ่งจะต่างไปจากคำว่า <span style=\"color: #000080\"><span><strong>ลมฟ้าอากาศ </strong></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000080\"><strong>(Weather)</strong></span><span lang=\"TH\"> เพราะลมฟ้าอากาศนั้นจะหมายถึง</span> <span lang=\"TH\">สภาพที่อากาศเกิดขึ้นที่ใดที่หนึ่งเพียงชั่วระยะเวลาสั้นๆ</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> เท่านั้น </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลทำให้ภูมิอากาศแตกต่างกันนั้นมีอยู่หลายประการ นับตั้งแต่ ตำแหน่งที่ตั้ง</span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"> (<span lang=\"TH\">ละติจูด</span>)<span lang=\"TH\"> บนพื้นผิวโลก ความสูง ความใกล้-ไกลทะเล</span> <span lang=\"TH\">กระแสน้ำในมหาสมุทร การวางตัวของภูเขา ซึ่งล้วนมีผลต่อความกดอากาศ และการเกิดลม รวมทั้งพายุในแต่ละถิ่นที่ด้วย</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span><strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ff0000\">พายุ </span></strong></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">(Storm)</span></strong> <span lang=\"TH\">ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว</span> <span lang=\"TH\">โดยในบ้านเราจะแบ่งลมพายุแบ่งออกเป็น </span>2<span lang=\"TH\"> ชนิด</span> <span lang=\"TH\">ชนิดแรก คือ<span style=\"color: #ff0000\">พายุฟ้าคะนอง </span></span><span style=\"color: #ff0000\">(thunderstorm) </span><span lang=\"TH\">เป็นพายุที่เกิดในบริเวณแคบๆ จากที่อากาศได้รับความร้อนจัดลอยตัวสูงขึ้นจึงเกิดเป็นเมฆฝน ทำให้ฝนตกมีฟ้าคะนอง และอาจมีลูกเห็บตกด้วย </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ชนิดที่สอง เป็น<span style=\"color: #ff0000\">พายุไซโคลน</span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #ff0000\">(Cyclone)</span> <span lang=\"TH\">แบ่งตามความเร็วลม</span> <span lang=\"TH\">เป็น 3 ชนิด คือ <strong><span style=\"color: #ff0000\">พายุดีเปรสชั่น</span></strong></span><strong><span style=\"color: #ff0000\"> (De pression)</span></strong> <span lang=\"TH\">ความเร็วลมมีศูนย์กลางไม่เกิน</span> <span lang=\"TH\">33 น็อต(<st1:metricconverter ProductID=\"61 กม.\" w:st=\"on\">61 กม.</st1:metricconverter>)ต่อชั่วโมง <strong><span style=\"color: #ff0000\">พายุโซนร้อน</span></strong></span><strong><span style=\"color: #ff0000\"> (Tropical Storms)</span></strong> <span lang=\"TH\">ความเร็วลมเพิ่มขึ้นถึง 34 น็อต(<st1:metricconverter ProductID=\"62 กม.\" w:st=\"on\">62 กม.</st1:metricconverter>) ถึง 63 น็อต(<st1:metricconverter ProductID=\"117 กม.\" w:st=\"on\">117 กม.</st1:metricconverter>)ต่อชั่วโมง และจะกลายมาเป็นพายุหมุนเมื่อมีความเร็วลมตั้งแต่ 64 น็อต (<st1:metricconverter ProductID=\"118 กม.\" w:st=\"on\">118 กม.</st1:metricconverter>) ขึ้นไป จึงมีความรุนแรงมาก บ้านเราเรียกพายุหมุนขั้นนี้ว่า <span style=\"color: #ff0000\"><strong>พายุไต้ฝุ่น</strong></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong>(Typhoon<span lang=\"TH\">) </span></strong></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">พายุที่หมุนพัดเข้ามายังประเทศไทย จะถูกเรียกชื่อรวมๆว่า <b><span style=\"color: #ff0000\">พายุหมุนเขตร้อน (</span></b></span><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #ff0000\">Tropical Cyclone)</span></span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\">เพราะตำแหน่งที่เกิดพายุมักจะเกิดขึ้นบริเวณเส้นศูนย์สูตร ระหว่าง </span>23 1/2 <span lang=\"TH\">องศาเหนือ และ </span>23 1/2 <span lang=\"TH\">องศาใต้ ในทะเลหรือมหาสมุทร </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ด้วยเหตุที่พายุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นได้หลายแห่งในโลก และมีชื่อเรียกต่างกันไปตามแหล่งกำเนิด ที่มีพายุหมุนเกิดขึ้นเป็นประจำ หากเกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านตะวันตกของลองจิจูด </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">170<span lang=\"TH\"> จะเรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">ไต้ ฝุ่น</span>”<span lang=\"TH\"> ถ้าเกิดในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือแถวทะเลแคริบเบียนและอ่าวเม็กซิโก หรือมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตก<span style=\"color: black\">ของเม็กซิโก จะเรียกว่า </span></span><span style=\"color: black\"><span style=\"color: #ff0000\">“<span lang=\"TH\">เฮอร์ริเคน</span>”</span><span lang=\"TH\"> </span></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">หากว่าพายุหมุนนี้ไปเกิดในมหาสมุทรอินเดียเหนืออ่าวเบงกอล หรือทะเลอาระเบีย รวมทั้งทางตะวันตกของลองจิจูด </span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\">90<span lang=\"TH\"> จะถูกเรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">ไซโคลน</span>”<span lang=\"TH\"> แต่ถ้าไปเกิดในมหาสมุทรอินเดีย แถบตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปออสเตรเลียจะเรียกว่า </span><span style=\"color: #ff0000\">“<span lang=\"TH\">วิลลี่ วิลลี่</span>”<span lang=\"TH\"> </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ตั้งแต่ปี </span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\">2543 <span lang=\"TH\">ได้เกิดระบบการตั้งชื่อพายุเป็นภาษาพื้นเมืองของแต่ละประเทศ โดยเรียงไว้ตามลำดับอักษรตั้งแต่ </span>A-Z <span lang=\"TH\">และเรียงชื่อของพายุตามลำดับก่อน หลังตามวันและเวลาที่เกิด เพื่อความสะดวกในการแจ้งข่าว รวมทั้งทำให้เรียงและจดเป็นสถิติได้ง่าย ซึ่งประเทศสมาชิกในแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนบน และแถบทะเลจีนใต้รวม </span>14 <span lang=\"TH\">ประเทศ ทำความตกลงกับองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ตั้งชื่อพายุเองโดยแต่ละประเทศ</span><o:p></o:p></span><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">ตั้งชื่อพายุ</span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #ff0000\">10<span lang=\"TH\">ชื่อ รวม </span>140 <span lang=\"TH\">ชื่อ จากนั้นนำมาเรียงสลับชื่อกันเป็น </span>5 <span lang=\"TH\">กลุ่มๆ ละ </span>28 </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">เมื่อเกิด</span><span style=\"color: #ff0000\">พายุก็จะนำชื่อในกลุ่มที่ </span></span><span style=\"color: #ff0000\">1 <span lang=\"TH\">มาตั้งชื่อจนหมด จึงนำชื่อในกลุ่มที่ </span>2 </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">มาใช้ต่อ ซึ่งชื่อเหล่านี้น่าสนใจอยู่</span><span style=\"color: #ff0000\">ไม่น้อย เพราะดูมีนัยยะแฝงอยู่...น่าศึกษาทีเดียว</span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"> </span></span></strong></p>\n<ul>\n<li><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ไทย-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> พระพิรุณ ทุเรียน วิชา รามสูร เมขลา หนุมาน นิดา ชบา กุหลาบ ขนุน</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ลาว-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> โบลาเวน ปลาบึก พันฝน เกศนา นกเต้น ช้างสาร ฟ้าใส จันทร์หอม น้ำต้น มัทสา</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">กัมพูชา-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> ดอมเรย์ กองเรย์ นากรี กรอวาญ สาริกา โบพา กรอซา ไมสัก จันทู เนสาด</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">จีน-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> หลงหว่าง ยูทู ฟงเฉิน ตู้เจี้ยน ไหหม่า หวู่คง ไห่เยี่ยน ไห่เฉิน เตี้ยมู่ ไห่ถัง</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เกาหลีเหนือ-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> ไคโรจิ โทราจิ เคาเมจิ เมมิ มิอะริ โซนามุ โพดอล พงโซนา มิดอนเล นอเก</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ฮ่องกง-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> ไคตั๊ก มานยี่ ฟองวอง ฉอยหวั่น มาง่อน ซานซาน แหล่งแหลง ยันยัน เทงเท๋ง บันหยัน</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ญี่ปุ่น-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> เทมบิน อุซางิ คุมมุริ ขอบปุ โทะคาเงะ ยางิ คะจิคิ คุจิระ คอมปาซึ วาชิ</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">มาเก๊า-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> จันจู วิทิบ หวังฟง พาร์มา มุ้ยฝ่า เบบินก้า ฮัวเหม่ย คลินฝ่า หม่าเหลา ซันหวู่</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">มาเลเซีย-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> เจอลาวัต เซอพัต รูซา มีเลอ เมอร์บุค รัมเบีย ทาปา นังก้า เมอรันติ มาวา</span></li>\n<li><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ไมโครนีเซีย-ชื่อพายุ</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> เอวินตา ฟิโท ซินลากู เนพาทัค นันมาดอล ซูลิค มิแทค ซูเดโล รานานิม</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p> </o:p></span> </li>\n</ul>\n<p align=\"right\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: right\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><b><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">จิปาถะวัฒนธรรม</span></span></b><b><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"> / </span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">วัฒนรักษ์</span><span style=\"color: black\"> </span></span></span></b></span></span>\n</p>\n<p><span><b><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: black\"></span></span><span style=\"color: black\"><a href=\"mailto:watanarax@yahoo.com\"><span style=\"color: black; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #000080\">watanarax@yahoo.com</span></span></a></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></b></span> </p>\n', created = 1715950150, expire = 1716036550, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d222e786ab01bc96ae8579b9568019ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

140 ชื่อพายุรุ่นใหม่ ในรายงานศิลปวัฒนธรรม

รูปภาพของ ssspoonsak

140ชื่อพายุรุ่นใหม่ในรายงานศิลปวัฒนธรรม

              ไม่น่าเชื่อว่าเข้าช่วงพฤษภาคม ลมที่เคยพัดให้ชื่นใจ กลายกลับเป็น "วาตภัย" ถล่มบ้านเรือนผู้คนให้ได้รับความเสียหาย หนำซ้ำบางแห่งบางที่ยังมีคนล้มตายไปนับหมื่นนับแสนคนเลยทีเดียวจากที่เราๆ ท่านๆ ได้ยินได้ฟังการรายงานอากาศกัน หลายคนงงเกี่ยวกับคำว่า ภูมิอากาศ กับ ลมฟ้าอากาศ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร ขอสรุปง่ายๆ กันเสียแต่ต้นก่อนเลยก็แล้วกันว่า คำที่เขาใช้ว่า ภูมิอากาศ (Climate) นั้นจะหมายถึงสภาพอากาศที่เกิดขึ้นอยู่ประจำในเขตใดเขตหนึ่งของโลก ว่าไปแล้วก็คือเป็นลักษณะเฉพาะที่เป็นอยู่ทั้งปีทั้งชาติของบริเวณนั้นๆ ซึ่งจะต่างไปจากคำว่า ลมฟ้าอากาศ (Weather) เพราะลมฟ้าอากาศนั้นจะหมายถึง สภาพที่อากาศเกิดขึ้นที่ใดที่หนึ่งเพียงชั่วระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้น ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลทำให้ภูมิอากาศแตกต่างกันนั้นมีอยู่หลายประการ นับตั้งแต่ ตำแหน่งที่ตั้ง (ละติจูด) บนพื้นผิวโลก ความสูง ความใกล้-ไกลทะเล กระแสน้ำในมหาสมุทร การวางตัวของภูเขา ซึ่งล้วนมีผลต่อความกดอากาศ และการเกิดลม รวมทั้งพายุในแต่ละถิ่นที่ด้วยพายุ (Storm) ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยในบ้านเราจะแบ่งลมพายุแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ชนิดแรก คือพายุฟ้าคะนอง (thunderstorm) เป็นพายุที่เกิดในบริเวณแคบๆ จากที่อากาศได้รับความร้อนจัดลอยตัวสูงขึ้นจึงเกิดเป็นเมฆฝน ทำให้ฝนตกมีฟ้าคะนอง และอาจมีลูกเห็บตกด้วย ชนิดที่สอง เป็นพายุไซโคลน(Cyclone) แบ่งตามความเร็วลม เป็น 3 ชนิด คือ พายุดีเปรสชั่น (De pression) ความเร็วลมมีศูนย์กลางไม่เกิน 33 น็อต(61 กม.)ต่อชั่วโมง พายุโซนร้อน (Tropical Storms) ความเร็วลมเพิ่มขึ้นถึง 34 น็อต(62 กม.) ถึง 63 น็อต(117 กม.)ต่อชั่วโมง และจะกลายมาเป็นพายุหมุนเมื่อมีความเร็วลมตั้งแต่ 64 น็อต (118 กม.) ขึ้นไป จึงมีความรุนแรงมาก บ้านเราเรียกพายุหมุนขั้นนี้ว่า พายุไต้ฝุ่น(Typhoon) พายุที่หมุนพัดเข้ามายังประเทศไทย จะถูกเรียกชื่อรวมๆว่า พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclone) เพราะตำแหน่งที่เกิดพายุมักจะเกิดขึ้นบริเวณเส้นศูนย์สูตร ระหว่าง 23 1/2 องศาเหนือ และ 23 1/2 องศาใต้ ในทะเลหรือมหาสมุทร ด้วยเหตุที่พายุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นได้หลายแห่งในโลก และมีชื่อเรียกต่างกันไปตามแหล่งกำเนิด ที่มีพายุหมุนเกิดขึ้นเป็นประจำ หากเกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านตะวันตกของลองจิจูด 170 จะเรียกว่า ไต้ ฝุ่น ถ้าเกิดในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือแถวทะเลแคริบเบียนและอ่าวเม็กซิโก หรือมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตกของเม็กซิโก จะเรียกว่า เฮอร์ริเคน หากว่าพายุหมุนนี้ไปเกิดในมหาสมุทรอินเดียเหนืออ่าวเบงกอล หรือทะเลอาระเบีย รวมทั้งทางตะวันตกของลองจิจูด 90 จะถูกเรียกว่า ไซโคลน แต่ถ้าไปเกิดในมหาสมุทรอินเดีย แถบตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปออสเตรเลียจะเรียกว่า วิลลี่ วิลลี่ ตั้งแต่ปี 2543 ได้เกิดระบบการตั้งชื่อพายุเป็นภาษาพื้นเมืองของแต่ละประเทศ โดยเรียงไว้ตามลำดับอักษรตั้งแต่ A-Z และเรียงชื่อของพายุตามลำดับก่อน หลังตามวันและเวลาที่เกิด เพื่อความสะดวกในการแจ้งข่าว รวมทั้งทำให้เรียงและจดเป็นสถิติได้ง่าย ซึ่งประเทศสมาชิกในแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนบน และแถบทะเลจีนใต้รวม 14 ประเทศ ทำความตกลงกับองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ตั้งชื่อพายุเองโดยแต่ละประเทศตั้งชื่อพายุ10ชื่อ รวม 140 ชื่อ จากนั้นนำมาเรียงสลับชื่อกันเป็น 5 กลุ่มๆ ละ 28 เมื่อเกิดพายุก็จะนำชื่อในกลุ่มที่ 1 มาตั้งชื่อจนหมด จึงนำชื่อในกลุ่มที่ 2 มาใช้ต่อ ซึ่งชื่อเหล่านี้น่าสนใจอยู่ไม่น้อย เพราะดูมีนัยยะแฝงอยู่...น่าศึกษาทีเดียว

  • ไทย-ชื่อพายุ พระพิรุณ ทุเรียน วิชา รามสูร เมขลา หนุมาน นิดา ชบา กุหลาบ ขนุน
  • ลาว-ชื่อพายุ โบลาเวน ปลาบึก พันฝน เกศนา นกเต้น ช้างสาร ฟ้าใส จันทร์หอม น้ำต้น มัทสา
  • กัมพูชา-ชื่อพายุ ดอมเรย์ กองเรย์ นากรี กรอวาญ สาริกา โบพา กรอซา ไมสัก จันทู เนสาด
  • จีน-ชื่อพายุ หลงหว่าง ยูทู ฟงเฉิน ตู้เจี้ยน ไหหม่า หวู่คง ไห่เยี่ยน ไห่เฉิน เตี้ยมู่ ไห่ถัง
  • เกาหลีเหนือ-ชื่อพายุ ไคโรจิ โทราจิ เคาเมจิ เมมิ มิอะริ โซนามุ โพดอล พงโซนา มิดอนเล นอเก
  • ฮ่องกง-ชื่อพายุ ไคตั๊ก มานยี่ ฟองวอง ฉอยหวั่น มาง่อน ซานซาน แหล่งแหลง ยันยัน เทงเท๋ง บันหยัน
  • ญี่ปุ่น-ชื่อพายุ เทมบิน อุซางิ คุมมุริ ขอบปุ โทะคาเงะ ยางิ คะจิคิ คุจิระ คอมปาซึ วาชิ
  • มาเก๊า-ชื่อพายุ จันจู วิทิบ หวังฟง พาร์มา มุ้ยฝ่า เบบินก้า ฮัวเหม่ย คลินฝ่า หม่าเหลา ซันหวู่
  • มาเลเซีย-ชื่อพายุ เจอลาวัต เซอพัต รูซา มีเลอ เมอร์บุค รัมเบีย ทาปา นังก้า เมอรันติ มาวา
  • ไมโครนีเซีย-ชื่อพายุ เอวินตา ฟิโท ซินลากู เนพาทัค นันมาดอล ซูลิค มิแทค ซูเดโล รานานิม 

จิปาถะวัฒนธรรม / วัฒนรักษ์

watanarax@yahoo.com

สร้างโดย: 
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 297 คน กำลังออนไลน์