• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:43f7a4bc87f54d3f53d50118c25f3adb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img src=\"/files/u75312/1_0.jpg\" height=\"100\" width=\"250\" />\n</p>\n<p><b><span style=\"color: #0000ff\"></span></b></p>\n<p>\n<span style=\"text-align: left; line-height: 24px\">                   การสื่อสารข้อมูล (data communication) หมายถึง การรับส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่อง(หรือสองระบบ)ขึ้นไป โดยเป็นการรับส่งข้อมูลผ่านสื่อกลางที่เป็นระบบสายหรือระบบไร้สายก็ได้ แต่ข้อมูลที่รับส่งกันนั้นจะต้องอยู่ในรูปแบบรหัสดิจิทัล เพื่อให้คอมพิวเตอร์ฝ่ายรับข้อมูลสามารถนำข้อมูลนั้นไปประมวลผลต่อได้</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"line-height: 24px\">       </span><span style=\"line-height: 24px\"><i><b><u>1.1) ความจำเป็นของการสื่อสารข้อมูล</u></b></i></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"line-height: 24px\">ในยุคแรกๆของการใช้คอมพิวเตอร์นั้น เป็นการใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องโดยเอกเทศคอมพิวเตอร์ในยุคนั้นจะทำหน้าที่ประมวลผลอย่างเดียว ไม่มีหน้าที่ในการสื่อสารข้อมูลเลยต่อมาเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวางมากขึ้น พบว่าในการใช้งานบางกรณีจำเป็นต้องมีจุดป้อนข้อมูลหลายจุดพร้อมกัน จึงเกิดระบบการใช้งานที่เรียกว่า ระบบมัลติยูเซอร์ (multiuser system)ซึ่งแปลว่าระบบที่มีผู้ใช้งานหลายคน แต่ในกรณีนี้ยังเป็นการประมวลผลกลางเพียงเครื่องเดียว เพียงแต่มีการติดตั้งเครื่องปลายทางสำหรับป้อนข้อมูลและเรียกดูข้อมูลพร้อมกันได้หลายจุดเท่านั้น จึงยังไม่ถือว่าเป็นระบบที่มีการสื่อสารข้อมูลอย่างที่เราเข้าใจกันในปัจจุบัน</span>\n</p>\n<table width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td class=\"style1\" width=\"36%\"><span class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left\"><img src=\"/files/u75312/multi.png\" style=\"width: 268px; height: 241px\" align=\"left\" border=\"0\" height=\"209\" width=\"237\" /></span></td>\n<td class=\"style1\" width=\"64%\"><span class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center\"><span style=\"text-align: left; line-height: 24px\">               ในยุคต่อมา เมื่อมีการนำคอมพิวเตอร์หลายเครื่องมาใช้ในงาหลายงานที่อยู่ในระบบงานเดียวกัน จึงพบว่ามีความจำเป็นต้องเชื่อมโยงข้อมูลที่ทำการประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ต่างเครื่องกันเข้าด้วยกัน แรกๆทำโดยวิธีนำผลลัพธ์ที่ได้จากอุปกรณ์ส่งออก(output device)ของคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปป้อนใหม่เป็นข้อมูลนำเข้า(input data) ของคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง เมื่อต้องทำด้วยวิธีการเช่นนี้บ่อยๆ จึงเกิดแนวคิดที่จะพัฒนาระบบสื่อสารข้อมูลขึ้น</span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"2\" class=\"style1\"><a href=\"http://erpscan.com/products/erpscan-security-scaner-for-sap/key-usability-benefits/\">http://erpscan.com/products/erpscan-security-scaner-for-sap/key-usability-benefits/</a></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: left\">\n<i><b><u>  <span style=\"line-height: 24px\">1.2องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล</span></u></b></i>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"line-height: 24px\">      1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น<br />\n2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น<br />\n3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม<br />\n4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้<br />\n4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น <br />\n4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง<br />\n4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ<br />\n4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป<br />\n4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป<br />\n5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทำให้การดำเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น<br />\n</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u75312/comput.jpg\" border=\"0\" height=\"300\" width=\"400\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.pcrit.com/servicecom.html\">http://www.pcrit.com/servicecom.html</a>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/131685?page=0%2C3\"><img src=\"/files/u75312/house3.jpg\" style=\"width: 137px; height: 124px\" height=\"224\" width=\"250\" /></a> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal style1\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"line-height: 24px\">                                                                                     </span>\n</p>\n', created = 1715660240, expire = 1715746640, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:43f7a4bc87f54d3f53d50118c25f3adb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

                   การสื่อสารข้อมูล (data communication) หมายถึง การรับส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่อง(หรือสองระบบ)ขึ้นไป โดยเป็นการรับส่งข้อมูลผ่านสื่อกลางที่เป็นระบบสายหรือระบบไร้สายก็ได้ แต่ข้อมูลที่รับส่งกันนั้นจะต้องอยู่ในรูปแบบรหัสดิจิทัล เพื่อให้คอมพิวเตอร์ฝ่ายรับข้อมูลสามารถนำข้อมูลนั้นไปประมวลผลต่อได้

       1.1) ความจำเป็นของการสื่อสารข้อมูล

ในยุคแรกๆของการใช้คอมพิวเตอร์นั้น เป็นการใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องโดยเอกเทศคอมพิวเตอร์ในยุคนั้นจะทำหน้าที่ประมวลผลอย่างเดียว ไม่มีหน้าที่ในการสื่อสารข้อมูลเลยต่อมาเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวางมากขึ้น พบว่าในการใช้งานบางกรณีจำเป็นต้องมีจุดป้อนข้อมูลหลายจุดพร้อมกัน จึงเกิดระบบการใช้งานที่เรียกว่า ระบบมัลติยูเซอร์ (multiuser system)ซึ่งแปลว่าระบบที่มีผู้ใช้งานหลายคน แต่ในกรณีนี้ยังเป็นการประมวลผลกลางเพียงเครื่องเดียว เพียงแต่มีการติดตั้งเครื่องปลายทางสำหรับป้อนข้อมูลและเรียกดูข้อมูลพร้อมกันได้หลายจุดเท่านั้น จึงยังไม่ถือว่าเป็นระบบที่มีการสื่อสารข้อมูลอย่างที่เราเข้าใจกันในปัจจุบัน

               ในยุคต่อมา เมื่อมีการนำคอมพิวเตอร์หลายเครื่องมาใช้ในงาหลายงานที่อยู่ในระบบงานเดียวกัน จึงพบว่ามีความจำเป็นต้องเชื่อมโยงข้อมูลที่ทำการประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ต่างเครื่องกันเข้าด้วยกัน แรกๆทำโดยวิธีนำผลลัพธ์ที่ได้จากอุปกรณ์ส่งออก(output device)ของคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปป้อนใหม่เป็นข้อมูลนำเข้า(input data) ของคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง เมื่อต้องทำด้วยวิธีการเช่นนี้บ่อยๆ จึงเกิดแนวคิดที่จะพัฒนาระบบสื่อสารข้อมูลขึ้น
http://erpscan.com/products/erpscan-security-scaner-for-sap/key-usability-benefits/

  1.2องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล

      1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้
4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง
4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ
4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป
4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทำให้การดำเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น

http://www.pcrit.com/servicecom.html

 

 

                                                                                     

สร้างโดย: 
ครูจารุณีและธิติยา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 448 คน กำลังออนไลน์