• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ค่ายม.6/2559', 'node/180488', '', '18.117.102.6', 0, '38453a0a8629c03fd43e620a8b2aecc5', 137, 1716070541) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e257c1ddc61dd64550aaecd5ed3e5f17' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><ul>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #003300\"><br />\n</span>\n</p>\n<ul>\n <span style=\"color: #0000ff\"><br />\n </span>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n </div>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"/files/u75243/3.gif\" height=\"114\" width=\"327\" />\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n ใ<span style=\"color: #800080\">นวิชาฟิสิกส์กำหนดว่า พลังงานเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของระบบ ที่บ่งถึงขีดความสามารถในการทำงาน<br />\n พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงานเคมี พลังงานแผ่รังสี พลังงานไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์ เป็นต้น<br />\n พลังงานต่างๆจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน<br />\n ในทางฟิสิกส์จำแนกพลังงานกลออกเป็น 2 ประเภท คือ พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์\n<p> </p></span><img src=\"/files/u75243/158.gif\" height=\"22\" width=\"90\" /><span style=\"color: #800080\">( Kinetic Energy , Ek )<br />\n </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #800080\">พลังงานของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ เรียกว่า พลังงานจลน์ ( Ek )<br />\n </span><img src=\"/files/u75243/45.jpg\" height=\"73\" width=\"150\" /><span style=\"color: #800080\">        <br />\n เมื่อ    Ek      =    พลังงานจลน์ของวัตถุ        มีหน่วยเป็น จูล  ( J )<br />\n m    =    มวลของวัตถุ            มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg )<br />\n v    =    ความเร็วของวัตถุ        มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที ( m/s )\n<p> ตัวอย่าง  ลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลำกล้องปืนซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์ของลูกปืน<br />\n วิธีทำ                Ek <br />\n Ek   = ½ ( 0.002 )( 400 )2  <br />\n Ek   =    160   J</p>\n<p> ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์<br />\n ถ้าเราทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อยู่นั้นไปทำงานอย่างหนึ่ง  ปริมาณงานที่ทำได้ทั้งหมดจะเท่ากับพลังงานจลน์ของวัตถุนั้นเปลี่ยนไป<br />\n </p></span>\n<div>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #800080\">               </span><span style=\"color: #800080\">  </span><span style=\"color: #003300\"><br />\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"/files/u75243/26.jpg\" height=\"59\" width=\"133\" />\n </div>\n<p> </p></span></li>\n</ul>\n</div>\n<p> <span style=\"color: #800080\">        <br />\n เมื่อ   W       =  ปริมาณงานที่ทำ        มีหน่วยเป็น จูล  ( J )<br />\n Ek =  พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป    มีหน่วยเป็น จูล  ( J )</span></p>\n<p>\n <span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><img src=\"/files/u75243/221.jpg\" height=\"95\" width=\"205\" /></span></span><br />\n <span style=\"color: #800080\">        </span></p>\n<p> ตัวอย่าง  รถยนต์มวล 800 กิโลกรัม ขณะแล่นด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คนขับใช้ห้ามล้อ รถเคลื่อนที่ต่อไปอีก 10 เมตรจึงหยุด<img src=\"/files/u75243/221_0.jpg\" align=\"left\" height=\"86\" width=\"166\" /><span style=\"color: #800080\"></span>\n </p></div>\n</li>\n<li>นิ่ง งานเนื่องจากแรงต้านที่ทำให้รถหยุดมีค่าเท่าใด</li>\n<li>วิธีทำ                      W     =   Ek</li>\n<li>                            Ek  =   Ek2 - Ek</li>\n<li>                            Ek  =   0  - ½ ( 800 ) ( 72x103/3600)</li>\n<li>                            Ek  =   - 8x103  J</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #800080\"><br />\n     W     =   - 8x103  J\n<p> ตัวอย่าง ออกแรง 20.0 นิวตัน ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว บนพื้นที่มีแรงเสียดทานได้การกระจัด 3.0 เมตร จงหางานที่ทำโด</p></span>\n </div>\n</li>\n<li>แรงเสียดทาน<span style=\"color: #800080\"></span></li>\n<li>                                                  </li>\n<li><span style=\"color: #003300\"><br />\n </span></li>\n<li><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><img src=\"/files/u75243/159.jpg\" height=\"99\" width=\"168\" /></span></span></span></span></span></span></li>\n<li></li>\n<li></li>\n<li><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"></span></span></span></span>วิธีทำ                          W     =   Ek</li>\n<li>   <span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"></span></span></span></span></span>                             Ek  =   Ek2 - Ek</li>\n<li> <span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"></span></span></span></span>                 <span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"></span></span></span>              Ek  =   0      ,  (  Ek2   =     Ek1  )</li>\n<li>         <span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\"></span></span>                        W     =   ( F – f )s</li>\n<li>               <span style=\"color: #003300\"></span>                  W     =   Fs – fs   =  WF – Wf  </li>\n<li>                                    WF – Wf  = 0      , (  W     =   Ek  )</li>\n<li>                                 WF    =     Wf</li>\n<li>                                Fs     =    Wf  =  (20)(3)  = 60   J</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #800080\"><br />\n </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"/files/u75243/15666.gif\" height=\"14\" width=\"86\" /><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #000080\">( Potential  Energy , Ep )</span><br />\n พลังงานศักย์ซึ่งเป็นพลังงานประเภทหนึ่งของพลังงานกลในทางฟิสิกส์ คือ พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุอันเนื่องมาจากตำแหน่งของวัตถุ เช่น <br />\n </span><b><span style=\"color: #000080\">พลังงานศักย์โน้มถ่วง </span></b><span style=\"color: #800080\">คือพลังงานของวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง เกิดขึ้นเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกกระทำต่อวัตถุนั้น<br />\n </span>\n </div>\n</li>\n<li></li>\n<li><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\">                                                              <img src=\"/files/u75243/152.jpg\" height=\"83\" width=\"99\" /></span></span><br />\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #800080\"></span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #800080\">จาก        W    =    F</span><span style=\"color: #003300\"></span><span style=\"color: #800080\">.s    เมื่อ F = mg , s = h</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #800080\">W    =    mg.h            <br />\n </span>\n </div>\n</li>\n<li>                                                        และ    W    =    Ep  </li>\n<li>                                               <img src=\"/files/u75243/1111.jpg\" height=\"40\" width=\"198\" /></li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #800080\"><br />\n </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #800080\">เมื่อ    Ep คือ พลังงานศักย์โน้มถ่วง            มีหน่วยเป็น จูล  ( J )<br />\n m คือ มวลของวัตถุ              มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg )<br />\n g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง   มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาทียกกำลังสอง ( m/s2 )<br />\n h คือ ความสูงของวัตถุจากพื้น          มีหน่วยเป็น เมตร ( m )\n<p> ตัวอย่าง  นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน  ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10 เมตร จากพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์โน้มถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 10 เมตรจากพื้นดิน<br />\n วิธีทำ                  Ep    =    mgh<br />\n Ep    =    ( 600 )( 10 )<br />\n Ep    =    6x103  จูล</p>\n<p> <b><span style=\"color: #000080\">พลังงานศักย์ยืดหยุ่น</span></b>  </p></span><span style=\"color: #800080\">คือ พลังงานศักย์ของวัตถุที่อยู่กับระยะยืดหรือหด เนื่องจากแรงยืดหยุ่นของวัตถุ<br />\n F    x<br />\n F  = kx<br />\n เมื่อ    F คือ แรงดึงของวัตถุ  ( N )<br />\n k คือ ค่านิจของสปริง  ( N/m )<br />\n x คือ ระยะยืดหรือหดของวัตถุ ( m )<br />\n จาก    W  =  F. s    ,    F = แรงเฉลี่ย<br />\n ปริมาณงานที่ทำในการดึงหรือกดสปริงให้มีระยะเปลี่ยนไป x จะเท่ากับ   ปริมาณนี้ก็คือ พลังงานศักย์ในสปริง\n<p> </p></span><img src=\"/files/u75243/mdr.jpg\" height=\"79\" width=\"158\" /><span style=\"color: #800080\">                  \n<p> ตัวอย่าง สปริงอันหนึ่ง มีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ 150 นิวตันต่อเมตร จงหา<br />\n ก.    แรงที่ใช้ดึงสปริงขณะสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร<br />\n ข.    พลังงานศักย์ยืดหยุ่นเมื่อสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร<br />\n </p></span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"/files/u75243/323.jpg\" height=\"146\" width=\"252\" />\n </div>\n</li>\n</ul>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: red\" lang=\"TH\"> <a href=\"/node/131503\" title=\"หน้าแรก\">กลับสู่หน้าแรก</a></span></b>\n</div>\n', created = 1716070571, expire = 1716156971, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e257c1ddc61dd64550aaecd5ed3e5f17' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานและพลังงาน




  • นวิชาฟิสิกส์กำหนดว่า พลังงานเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของระบบ ที่บ่งถึงขีดความสามารถในการทำงาน
    พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงานเคมี พลังงานแผ่รังสี พลังงานไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์ เป็นต้น
    พลังงานต่างๆจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน
    ในทางฟิสิกส์จำแนกพลังงานกลออกเป็น 2 ประเภท คือ พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์

    ( Kinetic Energy , Ek )
  • พลังงานของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ เรียกว่า พลังงานจลน์ ( Ek )
           
    เมื่อ    Ek      =    พลังงานจลน์ของวัตถุ        มีหน่วยเป็น จูล  ( J )
    m    =    มวลของวัตถุ            มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg )
    v    =    ความเร็วของวัตถุ        มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที ( m/s )

    ตัวอย่าง  ลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลำกล้องปืนซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์ของลูกปืน
    วิธีทำ                Ek
    Ek   = ½ ( 0.002 )( 400 )2  
    Ek   =    160   J

    ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์
    ถ้าเราทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อยู่นั้นไปทำงานอย่างหนึ่ง  ปริมาณงานที่ทำได้ทั้งหมดจะเท่ากับพลังงานจลน์ของวัตถุนั้นเปลี่ยนไป

    •                 

            
    เมื่อ   W       =  ปริมาณงานที่ทำ        มีหน่วยเป็น จูล  ( J )
    Ek =  พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป    มีหน่วยเป็น จูล  ( J )


            

    ตัวอย่าง  รถยนต์มวล 800 กิโลกรัม ขณะแล่นด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คนขับใช้ห้ามล้อ รถเคลื่อนที่ต่อไปอีก 10 เมตรจึงหยุด

  • นิ่ง งานเนื่องจากแรงต้านที่ทำให้รถหยุดมีค่าเท่าใด
  • วิธีทำ                      W     =   Ek
  •                             Ek  =   Ek2 - Ek
  •                             Ek  =   0  - ½ ( 800 ) ( 72x103/3600)
  •                             Ek  =   - 8x103  J

  •     W     =   - 8x103  J

    ตัวอย่าง ออกแรง 20.0 นิวตัน ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว บนพื้นที่มีแรงเสียดทานได้การกระจัด 3.0 เมตร จงหางานที่ทำโด

  • แรงเสียดทาน
  •                                                  

  • วิธีทำ                          W     =   Ek
  •                                 Ek  =   Ek2 - Ek
  •                                 Ek  =   0      ,  (  Ek2   =     Ek1  )
  •                                  W     =   ( F – f )s
  •                                  W     =   Fs – fs   =  WF – Wf  
  •                                     WF – Wf  = 0      , (  W     =   Ek  )
  •                                  WF    =     Wf
  •                                 Fs     =    Wf  =  (20)(3)  = 60   J

  • ( Potential  Energy , Ep )
    พลังงานศักย์ซึ่งเป็นพลังงานประเภทหนึ่งของพลังงานกลในทางฟิสิกส์ คือ พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุอันเนื่องมาจากตำแหน่งของวัตถุ เช่น
    พลังงานศักย์โน้มถ่วง คือพลังงานของวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง เกิดขึ้นเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกกระทำต่อวัตถุนั้น
  •                                                              
  • จาก        W    =    F.s    เมื่อ F = mg , s = h
  • W    =    mg.h           
  •                                                         และ    W    =    Ep 
  •                                               

  • เมื่อ    Ep คือ พลังงานศักย์โน้มถ่วง            มีหน่วยเป็น จูล  ( J )
    m คือ มวลของวัตถุ              มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg )
    g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง   มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาทียกกำลังสอง ( m/s2 )
    h คือ ความสูงของวัตถุจากพื้น          มีหน่วยเป็น เมตร ( m )

    ตัวอย่าง  นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน  ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10 เมตร จากพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์โน้มถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 10 เมตรจากพื้นดิน
    วิธีทำ                  Ep    =    mgh
    Ep    =    ( 600 )( 10 )
    Ep    =    6x103  จูล

    พลังงานศักย์ยืดหยุ่น 

    คือ พลังงานศักย์ของวัตถุที่อยู่กับระยะยืดหรือหด เนื่องจากแรงยืดหยุ่นของวัตถุ
    F    x
    F  = kx
    เมื่อ    F คือ แรงดึงของวัตถุ  ( N )
    k คือ ค่านิจของสปริง  ( N/m )
    x คือ ระยะยืดหรือหดของวัตถุ ( m )
    จาก    W  =  F. s    ,    F = แรงเฉลี่ย
    ปริมาณงานที่ทำในการดึงหรือกดสปริงให้มีระยะเปลี่ยนไป x จะเท่ากับ   ปริมาณนี้ก็คือ พลังงานศักย์ในสปริง

                     

    ตัวอย่าง สปริงอันหนึ่ง มีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ 150 นิวตันต่อเมตร จงหา
    ก.    แรงที่ใช้ดึงสปริงขณะสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร
    ข.    พลังงานศักย์ยืดหยุ่นเมื่อสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 288 คน กำลังออนไลน์