• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e9c4ddcbfd5e96a9d4d52ccd3c1bcccc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\nอาหารภาคอีสาน\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nลาบปลาดุก\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<p><span style=\"background-color: #ffffff\" class=\"Apple-style-span\"></span></p>\n<p style=\"font: normal normal normal 14px/normal \'MS Sans Serif\'; margin-top: 0cm; margin-right: 0cm; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0cm\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\"><b>\n<div style=\"text-align: left; font-size: 29px\">\n“ลาบ” เป็นอาหารประเภทหนึ่ง ที่ใช้ปลาหรือเนื้อดิบสับให้ละเอียด ผสมด้วยเครื่องปรุงมีพริก ปลาร้า เป็นต้น ถ้าใส่เลือดวัวหรือเลือดหมู เรียกว่า “ลาบเลือด” ชาวอีสานทุกครัวเรือน มักนิยมทำอาหารประเภทลาบ ในงานบุญต่างๆ เช่น งานแต่งงาน งานบวชพระ งานศพ งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น\n</div>\n<div style=\"text-align: left; font-size: 29px\">\n“ลาบปลาดุก” ก็เป็นอาหารประเภทหนึ่งในบรรดาลาบทั้งหมดที่ขึ้นชื่อของอาหารอีสาน และทุกภาครู้จักกันดี เนื่องจากปลาดุกเป็นปลาน้ำจืดที่หาได้ในท้องถิ่น มีรสมัน หวาน เป็นปลาที่ไม่มีเกล็ด และก้างน้อย จึงนิยมนำมาประกอบอาหารประกอบ\n</div>\n<p></p></b></span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u74883/laapplaaduk.jpg\" height=\"353\" width=\"471\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://pirun.ku.ac.th/~b5013068/pics/laapplaaduk.jpg\" title=\"http://pirun.ku.ac.th/~b5013068/pics/laapplaaduk.jpg\">http://pirun.ku.ac.th/~b5013068/pics/laapplaaduk.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"background-color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">เครื่องปรุง</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nปลาดุกอุยหนักประมาณ 300 กรัม  1 ตัว\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nข้าวคั่ว                                  2 ช้อนโต๊ะ (30 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nพริกป่น                                  1 ช้อนโต๊ะ (15 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nข่าโขลกละเอียด                       1 ช้อนโต๊ะ (15 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nใบมะกรูดหั่นฝอย                      2 ช้อนชา (15 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nต้นหอมซอย                           2 ช้อนชา (15 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nหอมแดงฝอย                          2 ต้น (10 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nใบสะระแหน่                            1 ช้อนโต๊ะ (15 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nน้ำมะนาว                              ½ ถ้วย (50 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nน้ำปลา                                 2-3 ช้อนโต๊ะ (30 กรัม)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nผักสด กะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว ใบโหระพา \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"background-color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">วิธีทำ</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     1. ล้างปลาดุกให้สะอาด ขูดเมือกบนผิวออก นำไปย่างไฟพอสุก แกะเอาแต่เนื้อ สับหยาบๆ\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     2. เคล้าเนื้อปลาดุกกับข้าวคั่ว พริกป่น ข่าหั่นฝอย หอมแดงซอย ใบมะกรูดหั่นฝอย\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     3. ปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำมะนาว คลุกเคล้ากันให้ทั่ว โรยใบสะระแหน่ ต้นหอมซอย ชิมรสตามชอบ รับประทานกับกะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว ใบโหระพา \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u74883/51641.jpg\" height=\"332\" width=\"323\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nhttp://variety.teenee.com/foodforbrain/img0/51641.jpg \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"background-color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"background-color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">สรรพคุณทางยา</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     1. ข้าวสาร รสมันหอมหวาน บำรุงร่างกาย แก้ตาฟาง แก้เหน็บชา แช่น้ำ ตำเป็นแป้งพอก แก้บวม แก้ปวด\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     2. พริกขี้หนู รสเผ็ดร้อน ช่วยเจริญอาหาร ขับลม ช่วยย่อย\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     3. ข่า รสเผ็ดปร่าร้อน ช่วยขับลม ขับพิษโลหิตในมดลูก ขับลมในลำไส้\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     4. ใบมะกรูด รสปร่ากลิ่นหอมติดร้อน ใช้ปรุงอาหาร ช่วยดับกลิ่นคาว แก้โรคลักปิดลักเปิด ขับลมในลำไส้ ขับระดู แก้ลมจุกเสียด\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     5. หอมแดง รสเผ็ดร้อน แก้ไข้เพื่อเสมหะ บำรุงธาตุ แก้ไข้หวัด\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     6. สะระแหน่\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n          - ใบ/ยอดอ่อน รสหอมร้อน ขับเหงื่อ แก้ปวดท้อง ขับลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     7. มะนาว เปลือกผลรสขม ช่วยขับลม น้ำในลูก รสเปรี้ยว แก้เสมหะ แก้ไอ แก้เลือดออกตามไรฟัน ฟอกโลหิต\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     8. กะหล่ำปลี รสจืดเย็น กระตุ้นการทำงานของกระเพาะลำไส้ บำรุงธาตุไฟ\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     9. ถั่วฝักยาว รสมันหวาน มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ช่วยกระตุ้นการทำงานของกระเพาะลำไส้ บำรุงธาตุดิน\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n     10. โหระพา ใบรสเผ็ดปร่าหอม แก้ท้องขึ้นอืดเฟ้อ แก้ลมวิงเวียน ช่วยย่อยอาหาร ขับลมในลำไส้ ขับเสมหะ \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"background-color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\"> </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"background-color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">ประโยชน์ทางอาหาร</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nลาบปลาดุก มีรสจัด เปรี้ยว เผ็ด เค็ม ช่วยให้เจริญอาหาร ขับลม ช่วยย่อยอาหาร เนื่องจากส่วนประกอบแต่งด้วยสมุนไพรหลากหลายชนิด \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n \n</div>\n', created = 1727421630, expire = 1727508030, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e9c4ddcbfd5e96a9d4d52ccd3c1bcccc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภาคอีสาน : ลาบปลาดุก

อาหารภาคอีสาน
 
ลาบปลาดุก
 
 

 

“ลาบ” เป็นอาหารประเภทหนึ่ง ที่ใช้ปลาหรือเนื้อดิบสับให้ละเอียด ผสมด้วยเครื่องปรุงมีพริก ปลาร้า เป็นต้น ถ้าใส่เลือดวัวหรือเลือดหมู เรียกว่า “ลาบเลือด” ชาวอีสานทุกครัวเรือน มักนิยมทำอาหารประเภทลาบ ในงานบุญต่างๆ เช่น งานแต่งงาน งานบวชพระ งานศพ งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น
“ลาบปลาดุก” ก็เป็นอาหารประเภทหนึ่งในบรรดาลาบทั้งหมดที่ขึ้นชื่อของอาหารอีสาน และทุกภาครู้จักกันดี เนื่องจากปลาดุกเป็นปลาน้ำจืดที่หาได้ในท้องถิ่น มีรสมัน หวาน เป็นปลาที่ไม่มีเกล็ด และก้างน้อย จึงนิยมนำมาประกอบอาหารประกอบ

 

 
 
 
เครื่องปรุง
 
ปลาดุกอุยหนักประมาณ 300 กรัม  1 ตัว
ข้าวคั่ว                                  2 ช้อนโต๊ะ (30 กรัม)
พริกป่น                                  1 ช้อนโต๊ะ (15 กรัม)
ข่าโขลกละเอียด                       1 ช้อนโต๊ะ (15 กรัม)
ใบมะกรูดหั่นฝอย                      2 ช้อนชา (15 กรัม)
ต้นหอมซอย                           2 ช้อนชา (15 กรัม)
หอมแดงฝอย                          2 ต้น (10 กรัม)
ใบสะระแหน่                            1 ช้อนโต๊ะ (15 กรัม)
น้ำมะนาว                              ½ ถ้วย (50 กรัม)
น้ำปลา                                 2-3 ช้อนโต๊ะ (30 กรัม)
ผักสด กะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว ใบโหระพา 
 
วิธีทำ
     1. ล้างปลาดุกให้สะอาด ขูดเมือกบนผิวออก นำไปย่างไฟพอสุก แกะเอาแต่เนื้อ สับหยาบๆ
     2. เคล้าเนื้อปลาดุกกับข้าวคั่ว พริกป่น ข่าหั่นฝอย หอมแดงซอย ใบมะกรูดหั่นฝอย
     3. ปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำมะนาว คลุกเคล้ากันให้ทั่ว โรยใบสะระแหน่ ต้นหอมซอย ชิมรสตามชอบ รับประทานกับกะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว ใบโหระพา 
 
 
http://variety.teenee.com/foodforbrain/img0/51641.jpg 
 
 

สรรพคุณทางยา
     1. ข้าวสาร รสมันหอมหวาน บำรุงร่างกาย แก้ตาฟาง แก้เหน็บชา แช่น้ำ ตำเป็นแป้งพอก แก้บวม แก้ปวด
     2. พริกขี้หนู รสเผ็ดร้อน ช่วยเจริญอาหาร ขับลม ช่วยย่อย
     3. ข่า รสเผ็ดปร่าร้อน ช่วยขับลม ขับพิษโลหิตในมดลูก ขับลมในลำไส้
     4. ใบมะกรูด รสปร่ากลิ่นหอมติดร้อน ใช้ปรุงอาหาร ช่วยดับกลิ่นคาว แก้โรคลักปิดลักเปิด ขับลมในลำไส้ ขับระดู แก้ลมจุกเสียด
     5. หอมแดง รสเผ็ดร้อน แก้ไข้เพื่อเสมหะ บำรุงธาตุ แก้ไข้หวัด
     6. สะระแหน่
          - ใบ/ยอดอ่อน รสหอมร้อน ขับเหงื่อ แก้ปวดท้อง ขับลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ
     7. มะนาว เปลือกผลรสขม ช่วยขับลม น้ำในลูก รสเปรี้ยว แก้เสมหะ แก้ไอ แก้เลือดออกตามไรฟัน ฟอกโลหิต
     8. กะหล่ำปลี รสจืดเย็น กระตุ้นการทำงานของกระเพาะลำไส้ บำรุงธาตุไฟ
     9. ถั่วฝักยาว รสมันหวาน มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ช่วยกระตุ้นการทำงานของกระเพาะลำไส้ บำรุงธาตุดิน
     10. โหระพา ใบรสเผ็ดปร่าหอม แก้ท้องขึ้นอืดเฟ้อ แก้ลมวิงเวียน ช่วยย่อยอาหาร ขับลมในลำไส้ ขับเสมหะ 
 
ประโยชน์ทางอาหาร
ลาบปลาดุก มีรสจัด เปรี้ยว เผ็ด เค็ม ช่วยให้เจริญอาหาร ขับลม ช่วยย่อยอาหาร เนื่องจากส่วนประกอบแต่งด้วยสมุนไพรหลากหลายชนิด 
 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 323 คน กำลังออนไลน์