• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cc1eb64577c3297ec419c49e8089575d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<b>เซอร์ฮัมฟรีย์ เดวี (Sir Humphry Davy)  </b>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u74777/Humphrey_Davy.gif\" width=\"150\" height=\"186\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/scibook/nanotech/Picture/Humphrey%20Davy.gif\" title=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/scibook/nanotech/Picture/Humphrey%20Davy.gif\">http://www.atom.rmutphysics.com/charud/scibook/nanotech/Picture/Humphrey...</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<b> ประวัติ</b> : นักเคมีชาวอังกฤษ  เกิด ค.ศ. 1778  ที่เมืองแพนซานช์  แคว้นคอร์นิชแมน  ตาย ค.ศ. 1829  ที่เมืองเจนีวา  รวมอายุ  56  ปี\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n  \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span> เกิดเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1778 ที่เมืองคอร์นวอล ประเทศอังกฤษ ในครอบครัวชาวนาที่มีฐานะไม่ค่อยสู้ดีนัก บิดาของเขาถึงแก่กรรมเมื่อเขาอายุได้เพียง 6 ปี หลังจากจบการศึกษาแล้ว เขาก็ได้ทำงานเป็นผู้ช่วยของอยุรแพทย์คนหนึ่ง พร้องกันนั้นเขาก็ทุ่มเทความสนใจให้กับการทดลองทางวิทยาศาสตร์และเคมี จนถูกไล่ออกจากงานเนื่องจากเขาชอบทำการทดลองทางเคมีทำให้เกิดการระเบิดขึ้นบ่อยๆ\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nในสมัยนั้นการแพทย์ยังไม่เจริญก้าวหน้านัก โดยเฉพาะการผ่าตัดในโรงพยาบาลยังไม่มียาใดที่จะระงับความเจ็บปวดของคนไข้ในขณะผ่าตัด ฮัมฟรีย์ เดวีย์จึงพยายามคิดค้นหาวิธีระงับความเจ็บปวด และเขาก็ได้พบก๊าซชนิดหนึ่ง (คือไนตรัสออกไซด์) โดยการสูดเข้าไปโดยบังเอิญและค้นพบว่าก๊าซนี้ทำให้เขาหมดสติไปชั่วขณะและพอตื่นขึ้นมาก็ไม่ได้รับอันตรายแต่อย่างใด และยังรู้สึกสดชื่นอีกด้วย เขาจึงเรียกมันว่า “ก๊าซหัวเราะ” (ซึ่งในเวลาต่อมาได้นำไปใช้เป็นยาสลบ) นอกจากนั้นเขาก็ทดลองสูดก๊าซชนิดต่างๆเข้าไปจนเกิดอาการป่วยจึงต้องระงับการทดลองชั่วคราว\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nนอกจากการค้นพบก๊าซหัวเราะแล้ว เขายังเป็นคนแรกที่แยกองค์ประกอบของน้ำได้เป็นผลสำเร็จโดยการปล่อยกระแสไฟฟ้าให้ผ่านเข้าไปในน้ำ และแยกน้ำออกเป็นก๊าซได้ 2 อย่างคือ\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nออกซิเจนกับไฮโดรเจน เขาจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกกรรมวิธีสมัยใหม่ในการใช้ไฟฟ้าในการทดลองทางเคมีเป็นคนแรก\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nและในปี พ.ศ. 2358 ฮัมฟรีย์ เดวีย์ ก็ได้ประดิษฐ์ตะเกียงนิรภัยเพื่อใช้ในกิจการเหมืองเป็นครั้งแรก ซึ่งสิ่งประดิษฐ์ชิ้นสำคัญนี้เอง ทำให้ชื่อเสียงของเขาเป็นที่จดจำไปทั่วโลก โดยเฉพาะในหมู่ ชาวเหมืองถ่านหิน เพราะในสมัยนั้นการขุดเหมืองถ่านหินนับเป็นการเสี่ยงอันตรายอย่างยิ่งเพราะลึกลงไปในเหมืองนั้นจะมีก๊าซชนิดหนึ่งที่ชาวเหมืองเรียกว่า “ไฟอับ” แฝงอยู่ และมักจะเกิดระเบิดอย่างรุนแรงเมื่อโดนกับเปลวไฟจากตะเกียงน้ำมันที่คนงานใช้อยู่ จากโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้นหลายครั้งนี่เอง ทำให้เจ้าของบ่อถ่านหินพากันร้องทุกข์ต่อฮัมฟรีย์ เดวีย์ นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งยงในสมัยนั้น\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nฮัมฟรีย์ เดวีย์จึงเดินทางไปที่เมืองนิวคาสเซิล และค้นคว้าสิ่งประดิษฐ์ที่จะสามารถป้องกันไม่ให้เปลวไฟจากตะเกียงน้ำมันแลบไปถึงไฟอับในเหมืองได้ ในที่สุดเขาก็ออกแบบโคมไฟป้องกันอันตรายขึ้นแบบหนึ่ง ซึ่งให้แสงสว่างและมีตะแกรงลวเส้นบางๆ ซึ่งจะขัดขวางและป้องกันเปลวไฟมิให้แลบไปถึงไฟอับในเหมือง และแม้ว่าก๊าซจะถึงเปลวไฟทางตะแกรง แต่พื้นผิวที่เย็นของตะแกรงจะป้องกันความร้อนของเปลวไฟมิให้แลบไปถึงก๊าซข้างนอกได้ ก่อให้เกิดประโยชน์ทางอุตสาหกรรมถ่านหินเป็นอันมาก ได้ทำให้เขามีชื่อเสียงไปทั่วโลก และได้รับการแต่งตั้งเป็นขุนนาง (เซอร์) ในปี ค.ศ. 1812\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nเซอร์ ฮัมฟรีย์ เดวีย์ถึงแก่กรรมที่เมืองเจนีวา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1829 เมื่อมีอายุได้ 51 ปี\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<b> ผลงานที่สำคัญ</b> : พบก๊าซไตรัสออไซด์  สำหรับใช้เป็นยาสลบ  เพื่อช่วยในการผ่าตัด  ค้นพบธรรมชาติของความร้อน  ค้นพบการแยกน้ำด้วยไฟฟ้า  จะแยกน้ำออกเป็นก๊าซสองชนิด  คือ  ไฮโดรเจนและออกซิเจน  ค้นพบธาตุโซเดียม และโพแทสเซียม และธาตุอื่นอีก 10 ชนิด  ประดิษฐ์ตะเกียงนิรภัย (ตะเกียงเดวี : Davy  lamp) สำหรับใช้ในเหมืองถ่านหิน\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n', created = 1725723412, expire = 1725809812, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cc1eb64577c3297ec419c49e8089575d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เซอร์ฮัมฟรีย์ เดวี (Sir Humphry Davy)

เซอร์ฮัมฟรีย์ เดวี (Sir Humphry Davy)  
 
 ประวัติ : นักเคมีชาวอังกฤษ  เกิด ค.ศ. 1778  ที่เมืองแพนซานช์  แคว้นคอร์นิชแมน  ตาย ค.ศ. 1829  ที่เมืองเจนีวา  รวมอายุ  56  ปี
  
 เกิดเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1778 ที่เมืองคอร์นวอล ประเทศอังกฤษ ในครอบครัวชาวนาที่มีฐานะไม่ค่อยสู้ดีนัก บิดาของเขาถึงแก่กรรมเมื่อเขาอายุได้เพียง 6 ปี หลังจากจบการศึกษาแล้ว เขาก็ได้ทำงานเป็นผู้ช่วยของอยุรแพทย์คนหนึ่ง พร้องกันนั้นเขาก็ทุ่มเทความสนใจให้กับการทดลองทางวิทยาศาสตร์และเคมี จนถูกไล่ออกจากงานเนื่องจากเขาชอบทำการทดลองทางเคมีทำให้เกิดการระเบิดขึ้นบ่อยๆ
ในสมัยนั้นการแพทย์ยังไม่เจริญก้าวหน้านัก โดยเฉพาะการผ่าตัดในโรงพยาบาลยังไม่มียาใดที่จะระงับความเจ็บปวดของคนไข้ในขณะผ่าตัด ฮัมฟรีย์ เดวีย์จึงพยายามคิดค้นหาวิธีระงับความเจ็บปวด และเขาก็ได้พบก๊าซชนิดหนึ่ง (คือไนตรัสออกไซด์) โดยการสูดเข้าไปโดยบังเอิญและค้นพบว่าก๊าซนี้ทำให้เขาหมดสติไปชั่วขณะและพอตื่นขึ้นมาก็ไม่ได้รับอันตรายแต่อย่างใด และยังรู้สึกสดชื่นอีกด้วย เขาจึงเรียกมันว่า “ก๊าซหัวเราะ” (ซึ่งในเวลาต่อมาได้นำไปใช้เป็นยาสลบ) นอกจากนั้นเขาก็ทดลองสูดก๊าซชนิดต่างๆเข้าไปจนเกิดอาการป่วยจึงต้องระงับการทดลองชั่วคราว
นอกจากการค้นพบก๊าซหัวเราะแล้ว เขายังเป็นคนแรกที่แยกองค์ประกอบของน้ำได้เป็นผลสำเร็จโดยการปล่อยกระแสไฟฟ้าให้ผ่านเข้าไปในน้ำ และแยกน้ำออกเป็นก๊าซได้ 2 อย่างคือ
ออกซิเจนกับไฮโดรเจน เขาจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกกรรมวิธีสมัยใหม่ในการใช้ไฟฟ้าในการทดลองทางเคมีเป็นคนแรก
และในปี พ.ศ. 2358 ฮัมฟรีย์ เดวีย์ ก็ได้ประดิษฐ์ตะเกียงนิรภัยเพื่อใช้ในกิจการเหมืองเป็นครั้งแรก ซึ่งสิ่งประดิษฐ์ชิ้นสำคัญนี้เอง ทำให้ชื่อเสียงของเขาเป็นที่จดจำไปทั่วโลก โดยเฉพาะในหมู่ ชาวเหมืองถ่านหิน เพราะในสมัยนั้นการขุดเหมืองถ่านหินนับเป็นการเสี่ยงอันตรายอย่างยิ่งเพราะลึกลงไปในเหมืองนั้นจะมีก๊าซชนิดหนึ่งที่ชาวเหมืองเรียกว่า “ไฟอับ” แฝงอยู่ และมักจะเกิดระเบิดอย่างรุนแรงเมื่อโดนกับเปลวไฟจากตะเกียงน้ำมันที่คนงานใช้อยู่ จากโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้นหลายครั้งนี่เอง ทำให้เจ้าของบ่อถ่านหินพากันร้องทุกข์ต่อฮัมฟรีย์ เดวีย์ นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งยงในสมัยนั้น
ฮัมฟรีย์ เดวีย์จึงเดินทางไปที่เมืองนิวคาสเซิล และค้นคว้าสิ่งประดิษฐ์ที่จะสามารถป้องกันไม่ให้เปลวไฟจากตะเกียงน้ำมันแลบไปถึงไฟอับในเหมืองได้ ในที่สุดเขาก็ออกแบบโคมไฟป้องกันอันตรายขึ้นแบบหนึ่ง ซึ่งให้แสงสว่างและมีตะแกรงลวเส้นบางๆ ซึ่งจะขัดขวางและป้องกันเปลวไฟมิให้แลบไปถึงไฟอับในเหมือง และแม้ว่าก๊าซจะถึงเปลวไฟทางตะแกรง แต่พื้นผิวที่เย็นของตะแกรงจะป้องกันความร้อนของเปลวไฟมิให้แลบไปถึงก๊าซข้างนอกได้ ก่อให้เกิดประโยชน์ทางอุตสาหกรรมถ่านหินเป็นอันมาก ได้ทำให้เขามีชื่อเสียงไปทั่วโลก และได้รับการแต่งตั้งเป็นขุนนาง (เซอร์) ในปี ค.ศ. 1812
เซอร์ ฮัมฟรีย์ เดวีย์ถึงแก่กรรมที่เมืองเจนีวา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1829 เมื่อมีอายุได้ 51 ปี
 
 ผลงานที่สำคัญ : พบก๊าซไตรัสออไซด์  สำหรับใช้เป็นยาสลบ  เพื่อช่วยในการผ่าตัด  ค้นพบธรรมชาติของความร้อน  ค้นพบการแยกน้ำด้วยไฟฟ้า  จะแยกน้ำออกเป็นก๊าซสองชนิด  คือ  ไฮโดรเจนและออกซิเจน  ค้นพบธาตุโซเดียม และโพแทสเซียม และธาตุอื่นอีก 10 ชนิด  ประดิษฐ์ตะเกียงนิรภัย (ตะเกียงเดวี : Davy  lamp) สำหรับใช้ในเหมืองถ่านหิน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 443 คน กำลังออนไลน์